SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
40
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ส่วนประกอบ การงอกของเมล็ด คุณภาพเมล็ดพันธุ์
3.1 ส่วนประกอบของเมล็ด
ส่วนประกอบของเมล็ดอาจแยกออกเป็น 3 ส่วนดังนี้
ก. เปลือกหุ้มเมล็ด ( Seed coat หรือ Testa ) ทาหน้าที่ป้องกันส่วนที่อยู่ภายใน โดยป้องกัน
อันตรายและป้องกันการคายน้า หากมีเปลือก 2 ชั้น ชั้นนอกจะหนาแข็งแรงและเหนียว ส่วนชั้นในเป็นชั้น
บาง ๆ ซึ่งบางครั้งชั้นในไม่มี หากเห็นก้านยึดเมล็ดติดกับรังไข่เรียกก้าน นี้ว่า ฟันนิคิวลั ( Funiculus ) เมื่อ
เมล็ดหลุดออกจากก้านจะเห็นเป็นรอยแผลเป็นเล็ก ๆ เรียกว่า ไฮลัม ( Hilum ) ถ้าบริเวณรอยแผลเป็น
นั้นมีเนื้อเข็ง ๆ ติดมา เนื้อนั้นเรียกว่า คารังเคิล ( Caruncle ) ถ้าก้านนี้ติดอยู่กับเปลือกของเมล็ด และเป็น
สันขึ้นมาเรียกสันนั้นว่า ราฟี ( Raphe ) สันนี้จะอยู่เหนือ รูไมโครไพล์ ( Micropyle ) รูนี้เป็นทางให้
หลอดละอองเรณู (Pollentube) ผ่านเข้าไปตอนก่อนเกิดการปฏิสนธิและเป็นทางให้รากอ่อน ( Radicle )
งอกออมาจากเมล็ด
ข. เอนโดสเปิร์ม ( Endosperm ) เป็นอาหารสะสมสาหรับเอ็มบริโอส่วนใหญ่เป็นอาหาร
ประเภทแป้ง หรือคาร์โบไฮเดรต มีโปรตีนและไขมันปะปนอยู่ด้วย พบในเมล็ดของพืชใบเลี้ยงคู่บางชนิด
เช่น ละหุ่ง ซึ่งมีเอนโดสเปิร์มแข็ง ส่วนเมล็ดของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น มะพร้าว มีเอนโดสเปิร์มทั้ง
ของแข็งและเหลว คือ เนื้อมะพร้าว และน้ามะพร้าว ในเมล็ดถั่วเอนโดสเปิร์มจะรวมสะสมอยู่ในใบเลี้ยงจึง
เห็นได้ว่าเมล็ดถั่วสามารถแกะแยกออกเป็น 2 ซีกได้โดยง่ายแต่ละซีกนั้น คือ ใบเลี้ยงดังรูปที่ 3.1
รูปที่ 3.1 แผนภาพแสดงลักษณะภายนอกและภายในของเมล็ดถั่วซึ่งแกะออกให้เห็น
ใบเลี้ยงทั้งสองใบ
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
41
ดังนั้น ในเมล็ดถั่วจะเห็นว่าใบเลี้ยงหนา หากเทียบกับใบเลี้ยงของเมล็ดละหุ่งซึ่งเป็นพืชใบเลี้ยงคู่
ด้วยกันแล้ว ใบเลี้ยงจะบางกว่าและเล็กกว่าและแยกกันกับส่วนเอนโดสเปิร์มที่เห็นชัดเจนกว่า
รูปที่ 3.2 แผนภาพแสดงลักษณะภายในของเมล็ดข้าว
ค. เอ็มบริโอ ( Embryo ) คือส่วนที่จะเจริญเติบโตเป็นต้นไม้ต่อไป ส่วนนี้ประกอบด้วยส่วน
ย่อย ๆ หลายส่วนคือ
1. ใบเลี้ยง ( Cotyledon ) ในพืชใบเลี้ยงคู่มี 2 ใบ และในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีเพียง
ใบเดียว ใบเลี้ยงนี้จะไม่ทาการสังเคราะห์ด้วยแสงและไม่เจริญเติบโตต่อไป
2. เอพิคอทิล ( Epicoty ) ส่วนที่อยู่เหนือตาแหน่งใบเลี้ยง เมื่อเมล็ดงอกเป็นต้นพืช
ส่วนนี้จะกลายเป็นลาต้น ใบ และดอกของพืช
3. ไฮโพคอทิล ( Hypocoty ) เป็นส่วนที่อยู่ใต้ตาแหน่งใบเลี้ยงลงมา เมื่อเจริญเติบโต
ต่อไปส่วนนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของลาต้น
4. แรดิเคิล ( Radicle ) ส่วนนี้อยู่ถัดจากส่วนของลาต้น คือ อยู่ใต้ไฮโพคอทิลลงมา
ต่อไปจะเจริญไปเป็นรากแก้ว ซึ่งในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีรากแก้วอยู่ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากนั้นจะ
เป็นรากฝอย ซึ่งต่างจากพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีรากแก้วอยู่ตลอด
สาหรับในเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเมื่อผ่าดูจะพบเยื่อหุ้มแรดิเคิล ( Coleorhiza ) กับเยื่อหุ้ม
เอพิคอทิล ( Coleoptil ) เป็นส่วนป้องกันอันตรายแก่ส่วนที่หุ้มเอาไว้ บางคนอธิบายว่าส่วนทั้งสองนี้ คือ
ส่วนของใบเลี้ยงอีกใบหนึ่งของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งตาแหน่งและหน้าที่ รวมทั้งใบเลี้ยงอีก
ใบหนึ่งที่เหลือนั้นมักจะเรียกชื่อใหม่ว่า สคิวเตลลัม ( Scutellum )
หางข้าว
เปลือกนอกแผ่นใหญ่
เยื่อบางชั้นนอก
เยื่อบางชั้นกลาง
เยื่อบางชั้นใน
แป้ง
ส่วนที่เป็นยอด
ส่วนที่เป็นราก
เปลือกนอกแผ่นเล็ก
ก้านรองดอก
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
42
รูปที่ 3.3 แผนภาพแสดงการเจริญเติบโตของพืชดอกเริ่มจากการปฏิสนธิซ้อน ( 1 )
ซึ่งอยู่ในดอก ( 2 ) และมีการแบ่งเซลล์ของไซโกต ( 3-7 , 9 ) การเปลี่ยนแปลงนี้เกิด
เฉพาะส่วนเอ็มบริโอที่อยู่ในเมล็ด ( 8 , 10 )
เอนโดสเปิร์มของพืชดอกมีความสาคัญต่อสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอย่างมาก เพราะเป็นอาหาร
ให้สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น เมล็ดข้าว ข้าวโพด ส่วนที่เรากินเป็นส่วนเอนโดสเปิร์มทั้งสิ้น
จากรูปที่ 46 นี้จะเห็นว่า การแบ่งเซลล์ของไซโกตนั้นแบ่งแล้วอาจได้เซลล์ไม่เท่ากันทุกเซลล์
เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ทาให้เกิดใบเลี้ยง ปลายยอด ( Shoot apex )
ปลายราก ( Root apex ) และส่วนต่าง ๆ ของเอ็มบริโอ ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดเกิดอยู่ภายในเมล็ด
เมล็ดส่วนใหญ่เมื่อได้รับความชื้นแล้ว ทาให้ทั้งความชื้นและออกซิเจน สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้ม
เมล็ดเข้าไปภายในได้ เอ็มบริโอจึงเจริญเติบโตแทงเปลือกหุ้มเมล็ดออกมา เพื่อเจริญเติบโตต่อไปเป็นพืชต้น
ใหม่
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
43
โดยปกติ เมล็ดพืชที่แก่เต็มที่จะมีความชื้นต่าราว 10 - 15 เปอร์เซ็นต์ อัตราการหายใจต่า มีการ
เปลี่ยนแปลงภายในเมล็ดน้อยมาก ถ้าไม่มีน้า ออกซิเจนและอุณหภูมิที่เหมาะสม เมล็ดจะไม่เจริญเติบโต
หรือไม่งอกแต่ยังมีชีวิตอยู่
3.2 การงอกของเมล็ด ( Seed germination )
การงอกของเมล็ด หมายถึง การที่รากอ่อนงอกพ้นเปลือกหุ้มเมล็ดออกมา ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อเมล็ด
ได้รับความชื้นโดยการดูดน้าเข้าไป แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและกายภาพขึ้นภายในเมล็ด
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมีดังนี้
1. การดูดน้้าของเมล็ด ( Imbibition ) ตามปกติเมล็ดที่แก่จะแห้งมีน้าในเมล็ดน้อย เมื่อนา
เมล็ดมาแช่น้าทาให้น้าหนักเมล็ดเพิ่มขึ้น เมล็ดที่มีเปลือกหุ้มหนาหรือแข็ง จะดูดน้าได้ช้าหรือเกือบไม่ได้
เลย ในธรรมชาติอาศัยจุลินทรีย์มาทาลายหรือถูกกัดกร่อน เปลือกหุ้มเมล็ดจึงจะเริ่มดูดน้าได้
2. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการเมแทบอลิซึม หลังจากเมล็ดดูดน้าเข้าไปแล้ว จะมีการกระตุ้น
ให้สร้างเอนไซม์ ขณะเดียวกันอัตราการหายใจเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างพลังงาน โดยการออกซิไดส์ สารอาหารที่
เก็บสะสมไว้ อาหารที่พืชสะสมไว้อาจเป็นแป้ง เช่น เมล็ดธัญญพืช หรือเป็นไขมัน เช่นเมล็ดละหุ่ง เมล็ดงา
หรือโปรตีน เช่น เมล็ดถั่วเหลือง สารอาหารเหล่านี้จะถูกออกซิไดส์ เพื่อให้ได้พลังงานและสารตัวกลางที่ใช้
ในการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอและลาเลียงอาหารไปยังเอ็มบริโอ
3.2.1 ปัจจัยในการงอกของเมล็ด
เมื่อเมล็ดแก่เต็มที่ความชื้นของเมล็ดจะมีน้อยคือมีค่าประมาณ ร้อยละ 10 - 15 อีกทั้งอัตราการ
หายใจของเมล็ดก็ต่า รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีภายในเมล็ดมีน้อยมาก ในการงอกของเมล็ดจึง
ต้องการปัจจัยภายนอกที่เหมาะสมเมล็ดจึงจะงอกได้ ปัจจัยเหล่านั้นได้แก่
1. ความชื้นหรือน้้า เมื่อเมล็ดแก่มีน้าอยู่ในเมล็ดน้อย การงอกจะไม่เกิดขึ้นจนกว่าเปลือกหุ้มเมล็ด
จะดูดน้าเข้าไป จนมีความชื้น 30 - 60 % จึงจะงอก น้าทาให้เปลือกหุ้มเมล็ดอ่อนตัว ทาให้เมล็ดพองตัว
และเกิดแรงดันให้เปลือกหุ้มเมล็ดแตกออก เพื่อให้เอ็มบริโอเจริญออกมาได้ น้าช่วยกระตุ้นปฏิกิริยาชีวเคมี
ต่าง ๆ ในเมล็ดได้แก่ ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส การสร้างเอนไซม์และฮอร์โมนต่าง ๆ นอกจากนี้ น้ายังเป็นตัวทา
ละลายสารอื่น ๆ ที่สะสมในเมล็ดและจาเป็นในการลาเลียงอาหารไปให้ต้นอ่อนใช้ เพื่อใช้ในการงอกอีก
ด้วย
2. แก๊สออกซิเจน จาเป็นต่อการงอกของเมล็ด เพื่อนาไปใช้ในการหายใจให้ได้พลังงาน เมล็ด
กาลังงอกมีอัตราการหายใจสูงกว่าปกติ เมล็ดจึงต้องการแก๊สออกซิเจนมากในระหว่างที่งอก พืชบางชนิด
เช่นพืชน้าสามารถงอกได้ดีในสภาพออกซินเจนต่าแต่ความชื้นสูง โดยเมล็ดเหล่านี้ได้พลังงานจากการ
หายใจแบไม่ใช้ออกซิเจน ในธรรมชาติเมล็ดที่จมดินอยู่จะอยู่ในระยะพักเป็นเวลานานยังไม่งอกเพราะ
ออกซิเจนไม่เพียงพอ จนกว่าจะได้ไถพรวนทาให้เมล็ดได้รับออกซิเจนจึงเกิดการงอกได้ เช่น เมล็ดวัชพืช
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
44
3. อุณหภูมิที่เหมาะสม เมล็ดแต่ละชนิดต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสมในการงอกที่ต่างกัน ตั้งแต่
0 - 45 องศาเซลเซียส แต่อุณหภูมิที่เหมาะสมกับพืชส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 20 - 30 องศาเซลเซียส พืช
เขตหนาวต้องการอุณหภูมิค่อนข้างตาในการงอก พืชเขตร้อนต้องการอุณหภูมิค่อนข้างสูงในการงอก
พืชบางชนิดต้องการอุณหภูมิที่ต่างกันในเวลากลางวันและกลางคืน หรือให้อุณหภูมิสูงสลับกับอุณหภูมิต่า
การงอกจึงจะเกิดได้ดี เช่น ถั่วเหลือง ถ้าให้อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 8 ชั่วโมงสลับกับอุณหภูมิ
20 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 16 ชั่วโมง เมล็ดจึงจะงอกได้ดี
4. แสง ตามปกติเมื่อสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เหมาะสม เมล็ดจะงอกได้ทั้งในที่มืดและที่มีแสง เมล็ด
พืชบางชนิดต้องการแสงในการงอก ได้แก่ วัชพืชต่าง ๆ หญ้า ยาสูบ ผักกาดหอม หญ้าคา สาบเสือ ปอ
ต่าง ๆ เมล็ดพืชบางชนิดไม่ต้องการแสงในการงอก เช่น ผักบุ้งจีน ข้าวโพด ฝ้าย แตงกวา กระเจี๊ยบ
3.2.2 การพักตัวของเมล็ด ( Dormancy of seeds )
การพักตัวของเมล็ด หมายถึง การที่เมล็ดไม่งอกในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการงอกทั้ง ๆ ที่
เมล็ดไม่งอกในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการงอก ทั้ง ๆ ที่เมล็ดยังมีความสามารถในการงอกอยู่ ผลดี
ของการพักตัวของเมล็ด คือ ทาให้พืชมีชีวิตรอดผ่านสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ เช่น ในพืชเขตหนาว
เช่น เชอรี่ แอปเปิล จะพักตัวตลอดฤดูหนาวอันยาวนาน แล้วจึงงอกในฤดูใบไม้ผลิ ซึ่งอากาศอบอุ่นและมี
อาหารและความชุ่มชื้นในดินเพียงพอ เมื่อถึงฤดูร้อนหรือฤดูใบไม้ร่วงพืชจะให้ผลเมล็ดที่ร่วงลงดินจะพักตัว
ในฤดูหนาวอีก แล้วจึงงอกในฤดูใบไม้ผลิ วนเวียนเช่นนี้เรื่อย ๆ ไป แต่ถ้าเมล็ดเหล่านี้ไม่มีการพักตัว เมล็ด
จะงอกในฤดูใบไม้ร่วงพอถึงฤดูหนาว พืชอาจตายเพราะไม่สามารถทนทานต่อความหนาวเย็นได้
ทานองเดียวกับพืชในเขตร้อนและแห้งแล้ง เมล็ดบางชนิดมีระยะพักตัวในฤดูแล้ง แลจะงอกในฤดู
ที่มีน้าและอาหารอุดมสมบูรณ์
สาเหตุของการพักตัวของเมล็ด
1. เปลือกหุ้มเมล็ดไม่ยอมให้น้้าและอากาศซึมผ่าน เมล็ดบางชนิดมีเปลือกหนา เหนียว แข็งมาก
เช่น ฝรั่ง พุทรา มะขาม จึงป้องกันการแพร่ผ่านของน้าและออกซิเจนเข้าไปในเมล็ด ดังนั้นการทาลาย
เปลือกหุ้มเมล็ด ( เรียกว่า สคารฟิเคชัน , Scarification ) โดยใช้มีดเฉือนหรือปาดหรือใช้กระดาษทรายขัด
หรือการแช่เมล็ดฝ้ายในกรดกามะถันเข้มข้นประมาณ 30 นาทีแล้วล้างออกก่อนนาไปเพาะหรือแช่น้าร้อน
จะทาให้การงอกมีเปอร์เซนต์สูงขึ้น จุลินทรีย์ในดินบางชนิดช่วยย่อยเปลือกหุ้มเมล็ด เพื่อให้เกิดการงอก
ต่อไปได้ หรือ การแช่เย็น ( 0 - 10 C ) ช่วยทาลายการพักตัวของเมล็ดพวกแอปเปิล เชอรี่ สาลี่และพืชได้
การนาเมล็ดไปเก็บไว้ในที่มีอุณหภูมิต่า ความชื้นสูง เพื่อทาลายระยะพักตัว เรียกว่า สแทรทิฟิเคชัน
( Stratification )
2. มีสารยับยั้ง ( Inhibitor ) บางชนิดเคลือบเปลือกหุ้มเมล็ด ทาให้ไม่สามารถงอกได้ง่าย ๆ เช่น
มะเขือเทศ ฟัก เป็นต้น การทาให้สารยับยั้งลดน้อยลงโดยการล้างน้านาน ๆ หรือโดยการเผาเมล็ดบางชนิด
ด้วยไฟ ซึ่งเป็นหลักการควบคุมการงอกของเมล็ดในธรรมชาติ สารเคมีที่เป็นตัวยับยั้งการงอกของเมล็ดที่
สาคัญตัวหนึ่งคือ กรดแอบไซซิก ( Abscisic acid ) ซึ่งจะยับยั้งการสร้างฮอร์โมนจิบเบอเรลลินหรือยับยั้ง
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
45
การทางานของเอนไซม์ที่ช่วยในการงอกของเมล็ด การทาลายการพักตัวของเมล็ดโดยสารเคมี เช่น
โพแทสเซียมไนเตรต , ไทโอยูเรีย , ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ , จิบเบอเรลลิน
3. เอ็มบริโออยู่ในระยะพัก เอ็มบริโอที่อยู่ภายในเมล็ดต้องการระยะเวลาสักระยะหนึ่ง เพื่อปรับ
สภาพทางสรีระของเอ็มบริโอให้เหมะสมต่อการงอก คือ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและระบบเอนไซม์
พืชกลุ่มนี้มักเป็นพืชในเขตหนาว ซึ่งจะพักตัวในฤดูหนาว ดังนั้น การงอกของเมล็ดพืชพวกนี้ต้องผ่านช่วงที่
มีอุณหภูมิต่า และความชื้นสูงเป็นเวลานาน การทาลายระยะพักตัวของเอ็มบริโอ โดยใช้ความเย็น 0 - 10
องศาเซลเซียส ระยะหนึ่ง ( อาจเป็นเวลาหลายเดือน ) จะช่วยให้เมล็ดงอกได้ จึงเป็นปัจจัยสาคัญในการ
กาหนดการกระจายของพืชกลุ่มนี้ ซึ่งได้แก่ แอปเปิล เชอรี่ กุหลาบ เมเปิล สน สภาวะเหล่านี้มักตรงข้าม
กับพืชในเขตร้อน เช่น พวกเมล็ดข้าว หรือเมล็ดฝ้ายจะงอกได้ดีที่อุณหภูมิห้อง กล้วยไม้บางชนิดไม่มีระยะ
พักตัวเลย บางครั้งต้นอ่อนอาจงอกออกจากเมล็ดได้เลย แม้ขณะที่อยู่ในผล เช่น เมล็ดขนุน เมล็ดโกงกาง
เมล็ดมะละกอ
3.2.3 ลักษณะการงอกของเมล็ด
เมล็ดทุกชนิดมีแรดิเคิล หรือรากต้นอ่อนที่จะโผล่พ้นออกจากเปลือกหุ้มเมล็ดโดยแรดิเคิลจะเจริญ
ออกมาผ่านรูไมโครไพล์ ( Micropyle ) เพื่อเจริญเป็นรากแก้ว แล้วจึงเจริญเติบโตเป็นรากขนอ่อนและ
รากแขนง การเจริญของรากจะเกิดขึ้นก่อนการเจริญของเอ็มบริโอส่วนอื่น ๆ เพื่อจะยึดเกาะกับดินและ
ดูดน้า
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
46
รูปที่ 3.4 แสดงการงอกของเมล็ดหอม ( Allium cepa ) ใบเลี้ยงชูขึ้นเหนือดิน
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
47
รูปที่ 3.5 แสดงการงอกของเมล็ดข้าวสาลี ( Triticum )
ชนิดของการงอก
การงอกของเมล็ดมี 2 ชนิด คือ การงอกที่ใบเลี้ยงชูเหนือดิน ( Epigeal germination ) และการ
งอกที่ใบเลี้ยงอยู่ในดิน ( Hypogeal germination )
1. การงอกที่ใบเลี้ยงชูเหนือดิน ได้แก่ การงอกของถั่วเมล็ดกลมส่วนใหญ่ เช่น ถั่วแขก ถั่วดา
ถั่วเหลือง ถั่วเขียว นอกนั้นก็มีละหุ่ง มะขาม ทานตะวัน ฟัก แฟง พริก หอม เป็นต้น แรดิเคิลหรือรากอ่อน
จะงอกพ้นเปลือกหุ้มเมล็ดออกมาก่อนเพื่อเจริญเป็นรากแก้ว ต่อมาไฮโพคอทิลงอกตาม โดยโค้งขึ้นแล้ว
ค่อยตั้งตรง ใบเลี้ยงกางออก เห็นเอพิคอทิล และยอดอ่อน ( Plumule ) และมีใบแท้ออกมา ( รูปที่ 3.4 )
2. การงอกที่ใบเลี้ยงจมใต้ดิน ได้แก่ การงอกของถั่วเมล็ดแบนส่วนใหญ่ เช่น ถั่วลันเตา ส้ม ขนุน
มะขามเทศ มะพร้าว ตาล นอกนั้นมีหญ้าและข้าวต่าง ๆ ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวสาลี พวกนี้มีไฮโพคอทิลสั้น
ส่วนเอพิคอทิล และยอดอ่อนยาวและยืดตัวเร็ว เมื่องอกเอพิคอทิลและยอดอ่อนเท่านั้นที่งอกขึ้นมาเหนือ
ดิน ส่วนใบเลี้ยงและไฮโพคอทิลทิ้งอยู่ใต้ดิน
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
48
รูปที่ 3.6 แผนภาพแสดงการงอกของเมล็ด
ในพืชบางชนิด เช่น ถั่วลันเตา การงอกของเมล็ดจะต่างจากเมล็ดถั่วดา หรือเมล็ดถั่วเหลือง ที่ ไฮ
โพคอทิลไม่งอกขึ้นมาเหนือดิน ใบเลี้ยงจึงไม่โผล่ขึ้นเหนือดิน ซึ่งเหมือนกับพืชใบเลี้ยงเดี่ยวพวกข้าว
ข้าวโพด ส่วนพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับถั่วลันเตาคือมะขามเทศ ขนุน เป็นต้น ตรงกันข้ามกับ
เมล็ดถั่วดาที่ไฮโพคอทิลชูขึ้นเหนือดิน ใบเลี้ยงจึงโผล่ขึ้นมาเหนือดิน
จากรูปที่ 3.5 จะเห็นว่าแรดิเคิลงอกพ้นเปลือกหุ้มเมล็ดออกมาก่อนส่วนอื่น ๆ สาหรับใบเลี้ยงของ
ถั่วเมล็ดกลมจะชูสูงขึ้นมาเหนือผิวดินค่อนข้างรวดเร็ว ส่วนใบเลี้ยงของข้าวโพด และใบเลี้ยงของพืชใบ
เลี้ยงคู่ชนิดอื่นจะอยู่ใต้ดินอย่างเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
49
ในข้าวโพดมีเยื่อหุ้มเอพิคอทิล ป้องกันส่วนต้นอ่อนที่จะงอกขึ้นมาเหนือพื้นดิน ต่อมาใบแท้
( Foliage leaf ) งอกแทงเยื่อหุ้มนี้ออกมา
ในพืชใบเลี้ยงคู่ เปลือกหุ้มเมล็ดเป็นส่วนป้องกันต้นอ่อนจึงอยู่ชั้นนอกสุด ถัดมาจึงมีใบเลี้ยงหุ้ม
ต้นอ่อนอีกชั้นหนึ่ง เมื่อมีการงอกส่วนของใบเลี้ยงจะหุ้มต้นอ่อนเอาไว้ ยกเว้นในพวกที่งอกแล้วใบเลี้ยงอยู่
ใต้ดิน
กิจกรรมที่ 3.1 การศึกษาส่วนประกอบของเมล็ด
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถสารวจ บันทึก และเปรียบเทียบส่วนประกอบของเมล็ดพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู่
วัสดุอุปกรณ์
1. เมล็ดถั่วเขียวหรือถั่วเหลือง เมล็ดข้าว
2. แว่นขยาย
วิธีการทดลอง
1. ศึกษาส่วนประกอบเมล็ดถั่ว และเมล็ดข้าว วาดภาพ
2. เปรียบเทียบส่วนประกอบของเมล็ดถั่ว และเมล็ดข้าว
3. อภิปรายและสรุปผลการศึกษา
 ส่วนประกอบอะไรบ้างที่ไม่พบในเมล็ดถั่ว แต่พบในเมล็ดข้าว
 ส่วนใดของเมล็ดที่เจริญไปเป็นลาต้น และส่วนใดที่เจริญไปเป็นราก
 ในขณะเอ็มบริโองอกออกจากเมล็ด เอ็มบริโอได้อาหารจากส่วนใดของเมล็ด
 นักเรียนคิดว่าเอนโดสเปิร์มของเมล็ดพืชมีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อย่างไร
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
50
กิจกรรมที่ 3.2 การงอกของเมล็ด
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถสารวจ บันทึก และเปรียบเทียบการงอกของเมล็ดพืชใบเลี้ยง
เดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู่
วัสดุอุปกรณ์
1. เมล็ดถั่วเขียวหรือถั่วเหลือง เมล็ดข้าว
2. ถาดเพาะเมล็ด
3. แว่นขยาย
วิธีการทดลอง
1. ศึกษาเมล็ดถั่ว และเมล็ดข้าวที่กาลังงอก อายุ 1 2 3 และ 10 วัน วาดภาพ
2. เปรียบเทียบการงอกของเมล็ดถั่ว และเมล็ดข้าว
3. วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลการศึกษา
 ลักษณะการงอกของเมล็ดพืชทั้งสองชนิดเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
 นักเรียนคิดว่าลักษณะการงอกแต่ละแบบทาให้พืชได้ประโยชน์ในแง่ใด
 โครงสร้างของพืชที่เกิดจากการงอกของเมล็ดทั้งสองชนิดเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
 ขณะที่เมล็ดถั่วและเมล็ดข้าวงอกจนมีใบแท้ 2-3 ใบ ส่วนของต้นอ่อนที่อยู่เหนือดิน
ประกอบด้วยส่วนใดบ้าง
เมล็ดพืชที่ท้าการทดลองเสร็จแล้วควรน้าไปปลูกเพื่อศึกษาในเรื่องของพืชต่อไป
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
51
3.3 การผลิตเมล็ดพันธุ์พืช
การเก็บเมล็ดพันธุ์พืชมีความสาคัญต่อการเกษตร เพื่อนาไปใช้ในการเพาะปลูก มาตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบัน ปัจจุบันมีความต้องการเมล็ดพันธุ์มากขึ้น จนมีการผลิตเมล็ดพันธุ์ในระดับอุตสาหกรรม จึงต้องมี
การปรับปรุงวิธีการผลิตเมล็ดพันธุ์ให้ได้ประสิทธิภาพสูง รวมทั้งต้องมีกระบวนการตรวจสอบการเก็บ การ
บรรจุหีบห่อและการขนส่ง เมล็ดพันธุ์พืชแต่ละชนิดจะมีกระบวนการผลิตที่แตกต่างกัน ซึ่งขึ้นกับพืชแต่ละ
ชนิด แต่ก็ใช้หลักการเดียวกัน คือเมล็ดพันธุ์พืชต้องถูกต้องตามพันธุ์ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว
สถานที่เพาะปลูกควรมีความอุดมสมบูรณ์สูง ไม่มีโรคและแมลงปะปนกับเมล็ดพันธุ์ สาหรับการเก็บเกี่ยว
เมล็ดพันธุ์ การลดความชื้นเมล็ดพันธุ์ ต้องทาอย่างถูกต้องตามกระบวนการรวมทั้งต้องมีการตรวจสอบ
คุณภาพของเมล็ดพันธุ์ด้วย
สรุปหลักการผลิตเมล็ดพันธุ์
1. เมล็ดพันธุ์มีคุณสมบัติตรงตามพันธุ์นั้น ๆ
2. มีการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์แล้ว
3. สถานที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ควรมีลักษณะ
- ภูมิอากาศเหมาะสมกับพันธุ์นั้น ๆ
- ดินมีความอุดมสมบูรณ์สูง
- ไม่มีโรคและแมลงรบกวน
4. การเก็บเกี่ยวเมล็ดและการลดความชื้นทาอย่างถูกวิธี
การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์
1. ดูเปอร์เซ็นต์การงอก หรือการมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์
2. ตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์
3. ตรวจสอบความบริสุทธิ์ของเมล็ดพันธุ์
4. ตรวจสอบความชื้นของเมล็ดพันธุ์ เป็นต้น
การตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ ( Seed vigour )
การตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ หมายถึง การตรวจสอบความสามารถในการงอกได้
อย่างรวดเร็ว ได้อย่างสม่าเสมอ และเมื่อนาไปเพาะปลูกในไร่นาสามารถตั้งตัวได้ดี การตรวจสอบความ
แข็งแรงของเมล็ดพันธุ์มีอยู่หลายวิธี ตัวอย่างเช่น การเร่งอายุเมล็ดพันธุ์และการวัดดัชนีการงอกของเมล็ด
พันธุ์ เป็นต้น
ก. การเร่งอายุเมล็ดพันธุ์ ใช้วิธีตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ เพื่อที่จะคาดการณ์ได้ว่า
เมื่อเก็บเมล็ดพันธุ์นั้นไว้เป็นเวลานานแล้ว จะมีค่าร้อยละของการงอกสูงหรือไม่ วิธีการเร่งอายุของ เมล็ด
พันธุ์ ทาได้โดยนาตัวอย่างเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่ต้องการตรวจสอบ การเก็บไว้ในตู้อบซึ่งจัดอุณหภูมิไว้ที่
40 – 50 องศาเซลเซียส โดยมีความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 100 เป็นเวลา 2 – 8 วัน ซึ่งจะทาให้องค์ประกอบ
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
52
ทางเคมีของเมล็ดเสื่อมสภาพโดยเร็ว แล้วเอาออกมาเพาะ เพื่อหาค่าร้อยละของการงอก หากพบว่าค่าร้อย
ละของการงอกของเมล็ดพันธุ์มีค่าสูง หลังจากผ่านการเร่งอายุแล้ว แสดงว่าเมล็ดพันธุ์จากแหล่งนั้น
แข็งแรง และสามารถคาดการณ์ต่อไปได้ว่า หากเมล็ดพันธุ์จากแหล่งนั้นเมื่อถูกเก็บไว้ในสถานที่ที่ไม่มีการ
ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์เป็นเวลา 12 – 18 เดือนแล้ว เมื่อนาไปเพาะก็จะมีค่าร้อยละของการ
งอกสูงเช่นกัน
โดยทั่วไปเมล็ดพันธุ์ที่เก็บไว้ในสภาพปกติ โดยไม่มีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์นั้น
ถ้าเก็บเป็นระยะเวลาอันยาวนาน เมล็ดก็จะเสื่อมสภาพเช่นกัน เพราะองค์ประกอบทางเคมีในเมล็ดเสื่อม
เพราะฉะนั้นการเร่งอายุเมล็ดพันธุ์ จึงหมายถึงการทาให้เมล็ดเสื่อมสภาพ คล้ายกับเมล็ดพันธุ์นั้นถูกเก็บไว้
เป็นเวลานาน โดยปกติเกษตรกรจะเก็บเมล็ดพันธุ์ที่คัดเลือกและเก็บไว้นั้นจะต้องมีความแข็งแรง ไม่
เสื่อมสภาพง่าย ๆ
ข. การวัดดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ การตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ จากการวัด
ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ เป็นวิธีวัดความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์อีกวิธีหนึ่ง โดยใช้หลักการที่ว่าเมล็ดพันธุ์
ใดมีความแข็งแรงสูงจะงอกได้เร็วกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความแข็งแรงต่า การวัดดัชนีการงอกทาได้โดยการนา
ตัวอย่างเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่ต้องการตรวจสอบ เอาเพาะแล้วนับจานวนเมล็ดที่งอกเพิ่มขึ้นทุกวัน เพื่อ
นาไปคานวณหาค่าดัชนีการงอก โดยนาไปเปรียบเทียบ กับเมล็ดพันธุ์ชนิดเดียวกันจากแหล่งอื่น
การหาดัชนีของการงอกใช้สูตรดังนี้
ดัชนีการงอกของเมล็ด = ผลบวกของ
จานวนต้นที่งอกในแต่ละวันจานวนวันหลังเพาะ
ตัวอย่าง เมล็ดพันธุ์ถั่วดา ตัวอย่างที่ 1 จานวน 200 เมล็ด เมื่อเพาะในวันที่ 1 แล้ว นับจานวน
เมล็ดที่งอกขึ้นมาใหม่ ได้ดังตาราง
วันที่ จ้านวนเมล็ดที่งอก
1
2
3
4
5
6
7
-
-
80
60
40
-
-
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
53
ดัชนีของการงอกของเมล็ดถั่วด้า =
𝟖𝟎
𝟑
+
𝟔𝟎
𝟒
+
𝟒𝟎
𝟓
= 2.66 + 15.0 + 8.0
= 49.6
หลังจากนาค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์จากแหล่งต่าง ๆ มาเปรียบเทียบกัน ถ้าพบว่าค่าดัชนี
การงอกของเมล็ดพันธุ์จากแหล่งใดมีค่ามากกว่า แสดงว่าเมล็ดพันธุ์ของแหล่งนั้นมีความแข็งแรงกว่า
การวัดความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ทั้ง 2 วิธีนั้น มีจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน คือ การเร่งอายุเมล็ด
พันธุ์ เหมาะกับผู้ที่ต้องการผลิตเมล็ดพันธุ์เพื่อนาไปจาหน่ายหรือใช้เก็บเมล็ดพันธุ์นั้นเอาไว้ปลูกในปีถัดไป
แต่การหาดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์เหมาะสาหรับนาไปตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ก่อนนาไปเพาะปลูก
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
54
กิจกรรมที่ 3.3 การวัดความแข็งแรงของพันธุ์ข้าวไร่สายพันธุ์ต่างๆ โดยใช้วิธีวัดดัชนีการงอกของเมล็ด
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถบันทึก คิดคานวณ และทดสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์
ข้าวไร่สายพันธุ์ต่างๆโดยใช้วิธีการวัดดัชนีการงอกของเมล็ด
วัสดุอุปกรณ์
1. ถาดเพาะเมล็ด
2. ตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่สายพันธุ์ต่างๆที่ทาการรวบรวมจากบ้านของนักเรียนกลุ่มละ
1 สายพันธุ์
วิธีการทดลอง
1. นาเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่แต่ละสายพันธุ์ที่ลดความชื้นแล้วมาเคล้าให้ทั่ว
2. สุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่มาทดสอบการงอกโดยแต่ละสายพันธุ์จะทาการทดลอง 3 ซ้าๆ ละ
10 เมล็ด
3. เพาะเมล็ดในถาดเพาะเมล็ดขนาด 50 หลุม ซึ่งมีดินร่วนปนทรายเป็นวัสดุเพาะ
4. ขุดหลุมลึกประมาณ 2 เซนติเมตร ในถาดเพาะแต่ละหลุมหยอดเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่
หลุมละ 1 เมล็ด กลบดิน
5. นาถาดเพาะเมล็ดทั้งหมดวางไว้ในบริเวณเพาะเดียวกัน รดน้า ในปริมาณเท่ากันใช้เวลาในการ
เพาะ 10 วัน นับจานวนเมล็ดที่งอกทุกวัน เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีรากงอกออกมาและมี ลาต้นที่มีการพัฒนา
เป็นต้นกล้าที่ปกติและมีใบแท้ 1 คู่ ถือว่าเป็นเมล็ดที่งอก
6. บันทึกจานวนเมล็ดที่งอกทุกวันในตารางบันทึกผลที่นักเรียนออกแบบด้วยตนเองและนามาหา
ค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์จากสูตรดัชนีการงอกของเมล็ด = ผลบวกของ
จานวนต้นที่งอกในแต่ละวันจานวนวันหลังเพาะ
7. อภิปรายผลในชั้นเรียนและเรียงลาดับสายพันธุ์ข้าวไร่ที่มีค่าดัชนีการงอกของเมล็ดจากมาก
ไปหาน้อยและสรุปผลการศึกษา
เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ”
55
กิจกรรมที่ 3.4 การเปรียบเทียบค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่เมื่อเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ในภาชนะ
ที่แตกต่างกัน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถเปรียบเทียบค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่เมื่อเก็บรักษา
เมล็ดพันธุ์ในภาชนะที่แตกต่างกัน
วัสดุอุปกรณ์
1. ถาดเพาะเมล็ด
2. ตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่สายพันธุ์ต่างๆที่ทาการรวบรวมจากบ้านของนักเรียนกลุ่มละ
1 สายพันธุ์
3. ถุงพลาสติกที่มีความหนา 0.25 มม.
4. ขวดแก้วที่มีฝาปิดป้องกันอากาศถ่ายเทเข้าออก
5. ถุงใส่ข้าวสาร ( คล้ายถุงบรรจุปุ๋ยทาจากพลาสติก )
วิธีการทดลอง
1. นาเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่มาเก็บรักษาในภาชนะต่างๆกัน 3 ชนิด เป็นเวลา 1 เดือน ได้แก่
- ถุงพลาสติกที่มีความหนา 0.25 มม.
- ขวดแก้วที่มีฝาปิดป้องกันอากาศถ่ายเทเข้าออก
- ถุงใส่ข้าวสาร ( คล้ายถุงบรรจุปุ๋ยทาจากพลาสติก )
2. นาเมล็ดพันธุ์ข้าวที่เก็บในภาชนะต่างๆกันมาทดสอบหาค่าดัชนีการงอก โดยแต่ละสายพันธุ์
จะทาการทดลอง 3 ซ้าๆ ละ 10 เมล็ด
3. เพาะเมล็ดในถาดเพาะเมล็ดขนาด 50 หลุม ซึ่งมีดินร่วนปนทรายเป็นวัสดุเพาะ
4. ขุดหลุมลึกประมาณ 2 เซนติเมตร ในถาดเพาะแต่ละหลุม หยอดเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ หลุมละ
1 เมล็ด กลบดิน
5. นาถาดเพาะเมล็ดทั้งหมดวางไว้ในบริเวณเพาะเดียวกัน รดน้า ในปริมาณเท่ากันใช้เวลาในการ
เพาะ 10 วัน นับจานวนเมล็ดที่งอกทุกวัน เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีรากงอกออกมาและมีลาต้นที่มีการพัฒนาเป็น
ต้นกล้าที่ปกติและมีใบแท้ 1 คู่ ถือว่าเป็นเมล็ดที่งอก
6. บันทึกจานวนเมล็ดที่งอกทุกวันในตารางบันทึกผลที่นักเรียนออกแบบด้วยตนเองและนามาหา
ค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์จากสูตร
ดัชนีการงอกของเมล็ด = ผลบวกของ
จานวนต้นที่งอกในแต่ละวันจานวนวันหลังเพาะ
7. เปรียบเทียบและอภิปรายผลค่าดัชนีการงอกของพันธุ์ข้าวไร่ที่เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์
ในภาชนะที่แตกต่างกัน และสรุปผลการศึกษา

More Related Content

What's hot

โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชdnavaroj
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโนWichai Likitponrak
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis Pat Pataranutaporn
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 

What's hot (20)

โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโน
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 

Viewers also liked

การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้Anana Anana
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5Wichai Likitponrak
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโตนราพร ผิวขำ
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้sawaddee
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
การตอบสนอง1
การตอบสนอง1การตอบสนอง1
การตอบสนอง1Pranruthai Saothep
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชdnavaroj
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
การตอบสนอง1
การตอบสนอง1การตอบสนอง1
การตอบสนอง1
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 

Similar to นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01

ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7chunkidtid
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
ผล.pptx
ผล.pptxผล.pptx
ผล.pptxBewwyKh1
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8chunkidtid
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่Lilly Phattharasaya
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์Yuporn Tugsila
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 
ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่plernpit19
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ssuser9ded021
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกKrupoonsawat
 

Similar to นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01 (20)

001 3
001 3001 3
001 3
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
ผล.pptx
ผล.pptxผล.pptx
ผล.pptx
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 

More from Art Nan

รวงรัตน์
รวงรัตน์รวงรัตน์
รวงรัตน์Art Nan
 
Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Art Nan
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)Art Nan
 
เล่มที่1
เล่มที่1เล่มที่1
เล่มที่1Art Nan
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูArt Nan
 
บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)Art Nan
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)Art Nan
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยArt Nan
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6Art Nan
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาArt Nan
 

More from Art Nan (20)

รวงรัตน์
รวงรัตน์รวงรัตน์
รวงรัตน์
 
Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)
 
เล่มที่1
เล่มที่1เล่มที่1
เล่มที่1
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
 
บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 

นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 40 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ส่วนประกอบ การงอกของเมล็ด คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 3.1 ส่วนประกอบของเมล็ด ส่วนประกอบของเมล็ดอาจแยกออกเป็น 3 ส่วนดังนี้ ก. เปลือกหุ้มเมล็ด ( Seed coat หรือ Testa ) ทาหน้าที่ป้องกันส่วนที่อยู่ภายใน โดยป้องกัน อันตรายและป้องกันการคายน้า หากมีเปลือก 2 ชั้น ชั้นนอกจะหนาแข็งแรงและเหนียว ส่วนชั้นในเป็นชั้น บาง ๆ ซึ่งบางครั้งชั้นในไม่มี หากเห็นก้านยึดเมล็ดติดกับรังไข่เรียกก้าน นี้ว่า ฟันนิคิวลั ( Funiculus ) เมื่อ เมล็ดหลุดออกจากก้านจะเห็นเป็นรอยแผลเป็นเล็ก ๆ เรียกว่า ไฮลัม ( Hilum ) ถ้าบริเวณรอยแผลเป็น นั้นมีเนื้อเข็ง ๆ ติดมา เนื้อนั้นเรียกว่า คารังเคิล ( Caruncle ) ถ้าก้านนี้ติดอยู่กับเปลือกของเมล็ด และเป็น สันขึ้นมาเรียกสันนั้นว่า ราฟี ( Raphe ) สันนี้จะอยู่เหนือ รูไมโครไพล์ ( Micropyle ) รูนี้เป็นทางให้ หลอดละอองเรณู (Pollentube) ผ่านเข้าไปตอนก่อนเกิดการปฏิสนธิและเป็นทางให้รากอ่อน ( Radicle ) งอกออมาจากเมล็ด ข. เอนโดสเปิร์ม ( Endosperm ) เป็นอาหารสะสมสาหรับเอ็มบริโอส่วนใหญ่เป็นอาหาร ประเภทแป้ง หรือคาร์โบไฮเดรต มีโปรตีนและไขมันปะปนอยู่ด้วย พบในเมล็ดของพืชใบเลี้ยงคู่บางชนิด เช่น ละหุ่ง ซึ่งมีเอนโดสเปิร์มแข็ง ส่วนเมล็ดของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น มะพร้าว มีเอนโดสเปิร์มทั้ง ของแข็งและเหลว คือ เนื้อมะพร้าว และน้ามะพร้าว ในเมล็ดถั่วเอนโดสเปิร์มจะรวมสะสมอยู่ในใบเลี้ยงจึง เห็นได้ว่าเมล็ดถั่วสามารถแกะแยกออกเป็น 2 ซีกได้โดยง่ายแต่ละซีกนั้น คือ ใบเลี้ยงดังรูปที่ 3.1 รูปที่ 3.1 แผนภาพแสดงลักษณะภายนอกและภายในของเมล็ดถั่วซึ่งแกะออกให้เห็น ใบเลี้ยงทั้งสองใบ
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 41 ดังนั้น ในเมล็ดถั่วจะเห็นว่าใบเลี้ยงหนา หากเทียบกับใบเลี้ยงของเมล็ดละหุ่งซึ่งเป็นพืชใบเลี้ยงคู่ ด้วยกันแล้ว ใบเลี้ยงจะบางกว่าและเล็กกว่าและแยกกันกับส่วนเอนโดสเปิร์มที่เห็นชัดเจนกว่า รูปที่ 3.2 แผนภาพแสดงลักษณะภายในของเมล็ดข้าว ค. เอ็มบริโอ ( Embryo ) คือส่วนที่จะเจริญเติบโตเป็นต้นไม้ต่อไป ส่วนนี้ประกอบด้วยส่วน ย่อย ๆ หลายส่วนคือ 1. ใบเลี้ยง ( Cotyledon ) ในพืชใบเลี้ยงคู่มี 2 ใบ และในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีเพียง ใบเดียว ใบเลี้ยงนี้จะไม่ทาการสังเคราะห์ด้วยแสงและไม่เจริญเติบโตต่อไป 2. เอพิคอทิล ( Epicoty ) ส่วนที่อยู่เหนือตาแหน่งใบเลี้ยง เมื่อเมล็ดงอกเป็นต้นพืช ส่วนนี้จะกลายเป็นลาต้น ใบ และดอกของพืช 3. ไฮโพคอทิล ( Hypocoty ) เป็นส่วนที่อยู่ใต้ตาแหน่งใบเลี้ยงลงมา เมื่อเจริญเติบโต ต่อไปส่วนนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของลาต้น 4. แรดิเคิล ( Radicle ) ส่วนนี้อยู่ถัดจากส่วนของลาต้น คือ อยู่ใต้ไฮโพคอทิลลงมา ต่อไปจะเจริญไปเป็นรากแก้ว ซึ่งในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีรากแก้วอยู่ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากนั้นจะ เป็นรากฝอย ซึ่งต่างจากพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีรากแก้วอยู่ตลอด สาหรับในเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเมื่อผ่าดูจะพบเยื่อหุ้มแรดิเคิล ( Coleorhiza ) กับเยื่อหุ้ม เอพิคอทิล ( Coleoptil ) เป็นส่วนป้องกันอันตรายแก่ส่วนที่หุ้มเอาไว้ บางคนอธิบายว่าส่วนทั้งสองนี้ คือ ส่วนของใบเลี้ยงอีกใบหนึ่งของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งตาแหน่งและหน้าที่ รวมทั้งใบเลี้ยงอีก ใบหนึ่งที่เหลือนั้นมักจะเรียกชื่อใหม่ว่า สคิวเตลลัม ( Scutellum ) หางข้าว เปลือกนอกแผ่นใหญ่ เยื่อบางชั้นนอก เยื่อบางชั้นกลาง เยื่อบางชั้นใน แป้ง ส่วนที่เป็นยอด ส่วนที่เป็นราก เปลือกนอกแผ่นเล็ก ก้านรองดอก
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 42 รูปที่ 3.3 แผนภาพแสดงการเจริญเติบโตของพืชดอกเริ่มจากการปฏิสนธิซ้อน ( 1 ) ซึ่งอยู่ในดอก ( 2 ) และมีการแบ่งเซลล์ของไซโกต ( 3-7 , 9 ) การเปลี่ยนแปลงนี้เกิด เฉพาะส่วนเอ็มบริโอที่อยู่ในเมล็ด ( 8 , 10 ) เอนโดสเปิร์มของพืชดอกมีความสาคัญต่อสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอย่างมาก เพราะเป็นอาหาร ให้สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น เมล็ดข้าว ข้าวโพด ส่วนที่เรากินเป็นส่วนเอนโดสเปิร์มทั้งสิ้น จากรูปที่ 46 นี้จะเห็นว่า การแบ่งเซลล์ของไซโกตนั้นแบ่งแล้วอาจได้เซลล์ไม่เท่ากันทุกเซลล์ เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ทาให้เกิดใบเลี้ยง ปลายยอด ( Shoot apex ) ปลายราก ( Root apex ) และส่วนต่าง ๆ ของเอ็มบริโอ ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดเกิดอยู่ภายในเมล็ด เมล็ดส่วนใหญ่เมื่อได้รับความชื้นแล้ว ทาให้ทั้งความชื้นและออกซิเจน สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้ม เมล็ดเข้าไปภายในได้ เอ็มบริโอจึงเจริญเติบโตแทงเปลือกหุ้มเมล็ดออกมา เพื่อเจริญเติบโตต่อไปเป็นพืชต้น ใหม่
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 43 โดยปกติ เมล็ดพืชที่แก่เต็มที่จะมีความชื้นต่าราว 10 - 15 เปอร์เซ็นต์ อัตราการหายใจต่า มีการ เปลี่ยนแปลงภายในเมล็ดน้อยมาก ถ้าไม่มีน้า ออกซิเจนและอุณหภูมิที่เหมาะสม เมล็ดจะไม่เจริญเติบโต หรือไม่งอกแต่ยังมีชีวิตอยู่ 3.2 การงอกของเมล็ด ( Seed germination ) การงอกของเมล็ด หมายถึง การที่รากอ่อนงอกพ้นเปลือกหุ้มเมล็ดออกมา ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อเมล็ด ได้รับความชื้นโดยการดูดน้าเข้าไป แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและกายภาพขึ้นภายในเมล็ด การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมีดังนี้ 1. การดูดน้้าของเมล็ด ( Imbibition ) ตามปกติเมล็ดที่แก่จะแห้งมีน้าในเมล็ดน้อย เมื่อนา เมล็ดมาแช่น้าทาให้น้าหนักเมล็ดเพิ่มขึ้น เมล็ดที่มีเปลือกหุ้มหนาหรือแข็ง จะดูดน้าได้ช้าหรือเกือบไม่ได้ เลย ในธรรมชาติอาศัยจุลินทรีย์มาทาลายหรือถูกกัดกร่อน เปลือกหุ้มเมล็ดจึงจะเริ่มดูดน้าได้ 2. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการเมแทบอลิซึม หลังจากเมล็ดดูดน้าเข้าไปแล้ว จะมีการกระตุ้น ให้สร้างเอนไซม์ ขณะเดียวกันอัตราการหายใจเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างพลังงาน โดยการออกซิไดส์ สารอาหารที่ เก็บสะสมไว้ อาหารที่พืชสะสมไว้อาจเป็นแป้ง เช่น เมล็ดธัญญพืช หรือเป็นไขมัน เช่นเมล็ดละหุ่ง เมล็ดงา หรือโปรตีน เช่น เมล็ดถั่วเหลือง สารอาหารเหล่านี้จะถูกออกซิไดส์ เพื่อให้ได้พลังงานและสารตัวกลางที่ใช้ ในการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอและลาเลียงอาหารไปยังเอ็มบริโอ 3.2.1 ปัจจัยในการงอกของเมล็ด เมื่อเมล็ดแก่เต็มที่ความชื้นของเมล็ดจะมีน้อยคือมีค่าประมาณ ร้อยละ 10 - 15 อีกทั้งอัตราการ หายใจของเมล็ดก็ต่า รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีภายในเมล็ดมีน้อยมาก ในการงอกของเมล็ดจึง ต้องการปัจจัยภายนอกที่เหมาะสมเมล็ดจึงจะงอกได้ ปัจจัยเหล่านั้นได้แก่ 1. ความชื้นหรือน้้า เมื่อเมล็ดแก่มีน้าอยู่ในเมล็ดน้อย การงอกจะไม่เกิดขึ้นจนกว่าเปลือกหุ้มเมล็ด จะดูดน้าเข้าไป จนมีความชื้น 30 - 60 % จึงจะงอก น้าทาให้เปลือกหุ้มเมล็ดอ่อนตัว ทาให้เมล็ดพองตัว และเกิดแรงดันให้เปลือกหุ้มเมล็ดแตกออก เพื่อให้เอ็มบริโอเจริญออกมาได้ น้าช่วยกระตุ้นปฏิกิริยาชีวเคมี ต่าง ๆ ในเมล็ดได้แก่ ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส การสร้างเอนไซม์และฮอร์โมนต่าง ๆ นอกจากนี้ น้ายังเป็นตัวทา ละลายสารอื่น ๆ ที่สะสมในเมล็ดและจาเป็นในการลาเลียงอาหารไปให้ต้นอ่อนใช้ เพื่อใช้ในการงอกอีก ด้วย 2. แก๊สออกซิเจน จาเป็นต่อการงอกของเมล็ด เพื่อนาไปใช้ในการหายใจให้ได้พลังงาน เมล็ด กาลังงอกมีอัตราการหายใจสูงกว่าปกติ เมล็ดจึงต้องการแก๊สออกซิเจนมากในระหว่างที่งอก พืชบางชนิด เช่นพืชน้าสามารถงอกได้ดีในสภาพออกซินเจนต่าแต่ความชื้นสูง โดยเมล็ดเหล่านี้ได้พลังงานจากการ หายใจแบไม่ใช้ออกซิเจน ในธรรมชาติเมล็ดที่จมดินอยู่จะอยู่ในระยะพักเป็นเวลานานยังไม่งอกเพราะ ออกซิเจนไม่เพียงพอ จนกว่าจะได้ไถพรวนทาให้เมล็ดได้รับออกซิเจนจึงเกิดการงอกได้ เช่น เมล็ดวัชพืช
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 44 3. อุณหภูมิที่เหมาะสม เมล็ดแต่ละชนิดต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสมในการงอกที่ต่างกัน ตั้งแต่ 0 - 45 องศาเซลเซียส แต่อุณหภูมิที่เหมาะสมกับพืชส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 20 - 30 องศาเซลเซียส พืช เขตหนาวต้องการอุณหภูมิค่อนข้างตาในการงอก พืชเขตร้อนต้องการอุณหภูมิค่อนข้างสูงในการงอก พืชบางชนิดต้องการอุณหภูมิที่ต่างกันในเวลากลางวันและกลางคืน หรือให้อุณหภูมิสูงสลับกับอุณหภูมิต่า การงอกจึงจะเกิดได้ดี เช่น ถั่วเหลือง ถ้าให้อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 8 ชั่วโมงสลับกับอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 16 ชั่วโมง เมล็ดจึงจะงอกได้ดี 4. แสง ตามปกติเมื่อสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เหมาะสม เมล็ดจะงอกได้ทั้งในที่มืดและที่มีแสง เมล็ด พืชบางชนิดต้องการแสงในการงอก ได้แก่ วัชพืชต่าง ๆ หญ้า ยาสูบ ผักกาดหอม หญ้าคา สาบเสือ ปอ ต่าง ๆ เมล็ดพืชบางชนิดไม่ต้องการแสงในการงอก เช่น ผักบุ้งจีน ข้าวโพด ฝ้าย แตงกวา กระเจี๊ยบ 3.2.2 การพักตัวของเมล็ด ( Dormancy of seeds ) การพักตัวของเมล็ด หมายถึง การที่เมล็ดไม่งอกในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการงอกทั้ง ๆ ที่ เมล็ดไม่งอกในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการงอก ทั้ง ๆ ที่เมล็ดยังมีความสามารถในการงอกอยู่ ผลดี ของการพักตัวของเมล็ด คือ ทาให้พืชมีชีวิตรอดผ่านสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ เช่น ในพืชเขตหนาว เช่น เชอรี่ แอปเปิล จะพักตัวตลอดฤดูหนาวอันยาวนาน แล้วจึงงอกในฤดูใบไม้ผลิ ซึ่งอากาศอบอุ่นและมี อาหารและความชุ่มชื้นในดินเพียงพอ เมื่อถึงฤดูร้อนหรือฤดูใบไม้ร่วงพืชจะให้ผลเมล็ดที่ร่วงลงดินจะพักตัว ในฤดูหนาวอีก แล้วจึงงอกในฤดูใบไม้ผลิ วนเวียนเช่นนี้เรื่อย ๆ ไป แต่ถ้าเมล็ดเหล่านี้ไม่มีการพักตัว เมล็ด จะงอกในฤดูใบไม้ร่วงพอถึงฤดูหนาว พืชอาจตายเพราะไม่สามารถทนทานต่อความหนาวเย็นได้ ทานองเดียวกับพืชในเขตร้อนและแห้งแล้ง เมล็ดบางชนิดมีระยะพักตัวในฤดูแล้ง แลจะงอกในฤดู ที่มีน้าและอาหารอุดมสมบูรณ์ สาเหตุของการพักตัวของเมล็ด 1. เปลือกหุ้มเมล็ดไม่ยอมให้น้้าและอากาศซึมผ่าน เมล็ดบางชนิดมีเปลือกหนา เหนียว แข็งมาก เช่น ฝรั่ง พุทรา มะขาม จึงป้องกันการแพร่ผ่านของน้าและออกซิเจนเข้าไปในเมล็ด ดังนั้นการทาลาย เปลือกหุ้มเมล็ด ( เรียกว่า สคารฟิเคชัน , Scarification ) โดยใช้มีดเฉือนหรือปาดหรือใช้กระดาษทรายขัด หรือการแช่เมล็ดฝ้ายในกรดกามะถันเข้มข้นประมาณ 30 นาทีแล้วล้างออกก่อนนาไปเพาะหรือแช่น้าร้อน จะทาให้การงอกมีเปอร์เซนต์สูงขึ้น จุลินทรีย์ในดินบางชนิดช่วยย่อยเปลือกหุ้มเมล็ด เพื่อให้เกิดการงอก ต่อไปได้ หรือ การแช่เย็น ( 0 - 10 C ) ช่วยทาลายการพักตัวของเมล็ดพวกแอปเปิล เชอรี่ สาลี่และพืชได้ การนาเมล็ดไปเก็บไว้ในที่มีอุณหภูมิต่า ความชื้นสูง เพื่อทาลายระยะพักตัว เรียกว่า สแทรทิฟิเคชัน ( Stratification ) 2. มีสารยับยั้ง ( Inhibitor ) บางชนิดเคลือบเปลือกหุ้มเมล็ด ทาให้ไม่สามารถงอกได้ง่าย ๆ เช่น มะเขือเทศ ฟัก เป็นต้น การทาให้สารยับยั้งลดน้อยลงโดยการล้างน้านาน ๆ หรือโดยการเผาเมล็ดบางชนิด ด้วยไฟ ซึ่งเป็นหลักการควบคุมการงอกของเมล็ดในธรรมชาติ สารเคมีที่เป็นตัวยับยั้งการงอกของเมล็ดที่ สาคัญตัวหนึ่งคือ กรดแอบไซซิก ( Abscisic acid ) ซึ่งจะยับยั้งการสร้างฮอร์โมนจิบเบอเรลลินหรือยับยั้ง
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 45 การทางานของเอนไซม์ที่ช่วยในการงอกของเมล็ด การทาลายการพักตัวของเมล็ดโดยสารเคมี เช่น โพแทสเซียมไนเตรต , ไทโอยูเรีย , ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ , จิบเบอเรลลิน 3. เอ็มบริโออยู่ในระยะพัก เอ็มบริโอที่อยู่ภายในเมล็ดต้องการระยะเวลาสักระยะหนึ่ง เพื่อปรับ สภาพทางสรีระของเอ็มบริโอให้เหมะสมต่อการงอก คือ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและระบบเอนไซม์ พืชกลุ่มนี้มักเป็นพืชในเขตหนาว ซึ่งจะพักตัวในฤดูหนาว ดังนั้น การงอกของเมล็ดพืชพวกนี้ต้องผ่านช่วงที่ มีอุณหภูมิต่า และความชื้นสูงเป็นเวลานาน การทาลายระยะพักตัวของเอ็มบริโอ โดยใช้ความเย็น 0 - 10 องศาเซลเซียส ระยะหนึ่ง ( อาจเป็นเวลาหลายเดือน ) จะช่วยให้เมล็ดงอกได้ จึงเป็นปัจจัยสาคัญในการ กาหนดการกระจายของพืชกลุ่มนี้ ซึ่งได้แก่ แอปเปิล เชอรี่ กุหลาบ เมเปิล สน สภาวะเหล่านี้มักตรงข้าม กับพืชในเขตร้อน เช่น พวกเมล็ดข้าว หรือเมล็ดฝ้ายจะงอกได้ดีที่อุณหภูมิห้อง กล้วยไม้บางชนิดไม่มีระยะ พักตัวเลย บางครั้งต้นอ่อนอาจงอกออกจากเมล็ดได้เลย แม้ขณะที่อยู่ในผล เช่น เมล็ดขนุน เมล็ดโกงกาง เมล็ดมะละกอ 3.2.3 ลักษณะการงอกของเมล็ด เมล็ดทุกชนิดมีแรดิเคิล หรือรากต้นอ่อนที่จะโผล่พ้นออกจากเปลือกหุ้มเมล็ดโดยแรดิเคิลจะเจริญ ออกมาผ่านรูไมโครไพล์ ( Micropyle ) เพื่อเจริญเป็นรากแก้ว แล้วจึงเจริญเติบโตเป็นรากขนอ่อนและ รากแขนง การเจริญของรากจะเกิดขึ้นก่อนการเจริญของเอ็มบริโอส่วนอื่น ๆ เพื่อจะยึดเกาะกับดินและ ดูดน้า
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 46 รูปที่ 3.4 แสดงการงอกของเมล็ดหอม ( Allium cepa ) ใบเลี้ยงชูขึ้นเหนือดิน
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 47 รูปที่ 3.5 แสดงการงอกของเมล็ดข้าวสาลี ( Triticum ) ชนิดของการงอก การงอกของเมล็ดมี 2 ชนิด คือ การงอกที่ใบเลี้ยงชูเหนือดิน ( Epigeal germination ) และการ งอกที่ใบเลี้ยงอยู่ในดิน ( Hypogeal germination ) 1. การงอกที่ใบเลี้ยงชูเหนือดิน ได้แก่ การงอกของถั่วเมล็ดกลมส่วนใหญ่ เช่น ถั่วแขก ถั่วดา ถั่วเหลือง ถั่วเขียว นอกนั้นก็มีละหุ่ง มะขาม ทานตะวัน ฟัก แฟง พริก หอม เป็นต้น แรดิเคิลหรือรากอ่อน จะงอกพ้นเปลือกหุ้มเมล็ดออกมาก่อนเพื่อเจริญเป็นรากแก้ว ต่อมาไฮโพคอทิลงอกตาม โดยโค้งขึ้นแล้ว ค่อยตั้งตรง ใบเลี้ยงกางออก เห็นเอพิคอทิล และยอดอ่อน ( Plumule ) และมีใบแท้ออกมา ( รูปที่ 3.4 ) 2. การงอกที่ใบเลี้ยงจมใต้ดิน ได้แก่ การงอกของถั่วเมล็ดแบนส่วนใหญ่ เช่น ถั่วลันเตา ส้ม ขนุน มะขามเทศ มะพร้าว ตาล นอกนั้นมีหญ้าและข้าวต่าง ๆ ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวสาลี พวกนี้มีไฮโพคอทิลสั้น ส่วนเอพิคอทิล และยอดอ่อนยาวและยืดตัวเร็ว เมื่องอกเอพิคอทิลและยอดอ่อนเท่านั้นที่งอกขึ้นมาเหนือ ดิน ส่วนใบเลี้ยงและไฮโพคอทิลทิ้งอยู่ใต้ดิน
  • 9. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 48 รูปที่ 3.6 แผนภาพแสดงการงอกของเมล็ด ในพืชบางชนิด เช่น ถั่วลันเตา การงอกของเมล็ดจะต่างจากเมล็ดถั่วดา หรือเมล็ดถั่วเหลือง ที่ ไฮ โพคอทิลไม่งอกขึ้นมาเหนือดิน ใบเลี้ยงจึงไม่โผล่ขึ้นเหนือดิน ซึ่งเหมือนกับพืชใบเลี้ยงเดี่ยวพวกข้าว ข้าวโพด ส่วนพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับถั่วลันเตาคือมะขามเทศ ขนุน เป็นต้น ตรงกันข้ามกับ เมล็ดถั่วดาที่ไฮโพคอทิลชูขึ้นเหนือดิน ใบเลี้ยงจึงโผล่ขึ้นมาเหนือดิน จากรูปที่ 3.5 จะเห็นว่าแรดิเคิลงอกพ้นเปลือกหุ้มเมล็ดออกมาก่อนส่วนอื่น ๆ สาหรับใบเลี้ยงของ ถั่วเมล็ดกลมจะชูสูงขึ้นมาเหนือผิวดินค่อนข้างรวดเร็ว ส่วนใบเลี้ยงของข้าวโพด และใบเลี้ยงของพืชใบ เลี้ยงคู่ชนิดอื่นจะอยู่ใต้ดินอย่างเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
  • 10. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 49 ในข้าวโพดมีเยื่อหุ้มเอพิคอทิล ป้องกันส่วนต้นอ่อนที่จะงอกขึ้นมาเหนือพื้นดิน ต่อมาใบแท้ ( Foliage leaf ) งอกแทงเยื่อหุ้มนี้ออกมา ในพืชใบเลี้ยงคู่ เปลือกหุ้มเมล็ดเป็นส่วนป้องกันต้นอ่อนจึงอยู่ชั้นนอกสุด ถัดมาจึงมีใบเลี้ยงหุ้ม ต้นอ่อนอีกชั้นหนึ่ง เมื่อมีการงอกส่วนของใบเลี้ยงจะหุ้มต้นอ่อนเอาไว้ ยกเว้นในพวกที่งอกแล้วใบเลี้ยงอยู่ ใต้ดิน กิจกรรมที่ 3.1 การศึกษาส่วนประกอบของเมล็ด วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถสารวจ บันทึก และเปรียบเทียบส่วนประกอบของเมล็ดพืชใบ เลี้ยงเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู่ วัสดุอุปกรณ์ 1. เมล็ดถั่วเขียวหรือถั่วเหลือง เมล็ดข้าว 2. แว่นขยาย วิธีการทดลอง 1. ศึกษาส่วนประกอบเมล็ดถั่ว และเมล็ดข้าว วาดภาพ 2. เปรียบเทียบส่วนประกอบของเมล็ดถั่ว และเมล็ดข้าว 3. อภิปรายและสรุปผลการศึกษา  ส่วนประกอบอะไรบ้างที่ไม่พบในเมล็ดถั่ว แต่พบในเมล็ดข้าว  ส่วนใดของเมล็ดที่เจริญไปเป็นลาต้น และส่วนใดที่เจริญไปเป็นราก  ในขณะเอ็มบริโองอกออกจากเมล็ด เอ็มบริโอได้อาหารจากส่วนใดของเมล็ด  นักเรียนคิดว่าเอนโดสเปิร์มของเมล็ดพืชมีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อย่างไร
  • 11. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 50 กิจกรรมที่ 3.2 การงอกของเมล็ด วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถสารวจ บันทึก และเปรียบเทียบการงอกของเมล็ดพืชใบเลี้ยง เดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู่ วัสดุอุปกรณ์ 1. เมล็ดถั่วเขียวหรือถั่วเหลือง เมล็ดข้าว 2. ถาดเพาะเมล็ด 3. แว่นขยาย วิธีการทดลอง 1. ศึกษาเมล็ดถั่ว และเมล็ดข้าวที่กาลังงอก อายุ 1 2 3 และ 10 วัน วาดภาพ 2. เปรียบเทียบการงอกของเมล็ดถั่ว และเมล็ดข้าว 3. วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลการศึกษา  ลักษณะการงอกของเมล็ดพืชทั้งสองชนิดเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร  นักเรียนคิดว่าลักษณะการงอกแต่ละแบบทาให้พืชได้ประโยชน์ในแง่ใด  โครงสร้างของพืชที่เกิดจากการงอกของเมล็ดทั้งสองชนิดเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร  ขณะที่เมล็ดถั่วและเมล็ดข้าวงอกจนมีใบแท้ 2-3 ใบ ส่วนของต้นอ่อนที่อยู่เหนือดิน ประกอบด้วยส่วนใดบ้าง เมล็ดพืชที่ท้าการทดลองเสร็จแล้วควรน้าไปปลูกเพื่อศึกษาในเรื่องของพืชต่อไป
  • 12. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 51 3.3 การผลิตเมล็ดพันธุ์พืช การเก็บเมล็ดพันธุ์พืชมีความสาคัญต่อการเกษตร เพื่อนาไปใช้ในการเพาะปลูก มาตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน ปัจจุบันมีความต้องการเมล็ดพันธุ์มากขึ้น จนมีการผลิตเมล็ดพันธุ์ในระดับอุตสาหกรรม จึงต้องมี การปรับปรุงวิธีการผลิตเมล็ดพันธุ์ให้ได้ประสิทธิภาพสูง รวมทั้งต้องมีกระบวนการตรวจสอบการเก็บ การ บรรจุหีบห่อและการขนส่ง เมล็ดพันธุ์พืชแต่ละชนิดจะมีกระบวนการผลิตที่แตกต่างกัน ซึ่งขึ้นกับพืชแต่ละ ชนิด แต่ก็ใช้หลักการเดียวกัน คือเมล็ดพันธุ์พืชต้องถูกต้องตามพันธุ์ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว สถานที่เพาะปลูกควรมีความอุดมสมบูรณ์สูง ไม่มีโรคและแมลงปะปนกับเมล็ดพันธุ์ สาหรับการเก็บเกี่ยว เมล็ดพันธุ์ การลดความชื้นเมล็ดพันธุ์ ต้องทาอย่างถูกต้องตามกระบวนการรวมทั้งต้องมีการตรวจสอบ คุณภาพของเมล็ดพันธุ์ด้วย สรุปหลักการผลิตเมล็ดพันธุ์ 1. เมล็ดพันธุ์มีคุณสมบัติตรงตามพันธุ์นั้น ๆ 2. มีการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์แล้ว 3. สถานที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ควรมีลักษณะ - ภูมิอากาศเหมาะสมกับพันธุ์นั้น ๆ - ดินมีความอุดมสมบูรณ์สูง - ไม่มีโรคและแมลงรบกวน 4. การเก็บเกี่ยวเมล็ดและการลดความชื้นทาอย่างถูกวิธี การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ 1. ดูเปอร์เซ็นต์การงอก หรือการมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ 2. ตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ 3. ตรวจสอบความบริสุทธิ์ของเมล็ดพันธุ์ 4. ตรวจสอบความชื้นของเมล็ดพันธุ์ เป็นต้น การตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ ( Seed vigour ) การตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ หมายถึง การตรวจสอบความสามารถในการงอกได้ อย่างรวดเร็ว ได้อย่างสม่าเสมอ และเมื่อนาไปเพาะปลูกในไร่นาสามารถตั้งตัวได้ดี การตรวจสอบความ แข็งแรงของเมล็ดพันธุ์มีอยู่หลายวิธี ตัวอย่างเช่น การเร่งอายุเมล็ดพันธุ์และการวัดดัชนีการงอกของเมล็ด พันธุ์ เป็นต้น ก. การเร่งอายุเมล็ดพันธุ์ ใช้วิธีตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ เพื่อที่จะคาดการณ์ได้ว่า เมื่อเก็บเมล็ดพันธุ์นั้นไว้เป็นเวลานานแล้ว จะมีค่าร้อยละของการงอกสูงหรือไม่ วิธีการเร่งอายุของ เมล็ด พันธุ์ ทาได้โดยนาตัวอย่างเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่ต้องการตรวจสอบ การเก็บไว้ในตู้อบซึ่งจัดอุณหภูมิไว้ที่ 40 – 50 องศาเซลเซียส โดยมีความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 100 เป็นเวลา 2 – 8 วัน ซึ่งจะทาให้องค์ประกอบ
  • 13. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 52 ทางเคมีของเมล็ดเสื่อมสภาพโดยเร็ว แล้วเอาออกมาเพาะ เพื่อหาค่าร้อยละของการงอก หากพบว่าค่าร้อย ละของการงอกของเมล็ดพันธุ์มีค่าสูง หลังจากผ่านการเร่งอายุแล้ว แสดงว่าเมล็ดพันธุ์จากแหล่งนั้น แข็งแรง และสามารถคาดการณ์ต่อไปได้ว่า หากเมล็ดพันธุ์จากแหล่งนั้นเมื่อถูกเก็บไว้ในสถานที่ที่ไม่มีการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์เป็นเวลา 12 – 18 เดือนแล้ว เมื่อนาไปเพาะก็จะมีค่าร้อยละของการ งอกสูงเช่นกัน โดยทั่วไปเมล็ดพันธุ์ที่เก็บไว้ในสภาพปกติ โดยไม่มีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์นั้น ถ้าเก็บเป็นระยะเวลาอันยาวนาน เมล็ดก็จะเสื่อมสภาพเช่นกัน เพราะองค์ประกอบทางเคมีในเมล็ดเสื่อม เพราะฉะนั้นการเร่งอายุเมล็ดพันธุ์ จึงหมายถึงการทาให้เมล็ดเสื่อมสภาพ คล้ายกับเมล็ดพันธุ์นั้นถูกเก็บไว้ เป็นเวลานาน โดยปกติเกษตรกรจะเก็บเมล็ดพันธุ์ที่คัดเลือกและเก็บไว้นั้นจะต้องมีความแข็งแรง ไม่ เสื่อมสภาพง่าย ๆ ข. การวัดดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ การตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ จากการวัด ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ เป็นวิธีวัดความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์อีกวิธีหนึ่ง โดยใช้หลักการที่ว่าเมล็ดพันธุ์ ใดมีความแข็งแรงสูงจะงอกได้เร็วกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความแข็งแรงต่า การวัดดัชนีการงอกทาได้โดยการนา ตัวอย่างเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่ต้องการตรวจสอบ เอาเพาะแล้วนับจานวนเมล็ดที่งอกเพิ่มขึ้นทุกวัน เพื่อ นาไปคานวณหาค่าดัชนีการงอก โดยนาไปเปรียบเทียบ กับเมล็ดพันธุ์ชนิดเดียวกันจากแหล่งอื่น การหาดัชนีของการงอกใช้สูตรดังนี้ ดัชนีการงอกของเมล็ด = ผลบวกของ จานวนต้นที่งอกในแต่ละวันจานวนวันหลังเพาะ ตัวอย่าง เมล็ดพันธุ์ถั่วดา ตัวอย่างที่ 1 จานวน 200 เมล็ด เมื่อเพาะในวันที่ 1 แล้ว นับจานวน เมล็ดที่งอกขึ้นมาใหม่ ได้ดังตาราง วันที่ จ้านวนเมล็ดที่งอก 1 2 3 4 5 6 7 - - 80 60 40 - -
  • 14. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 53 ดัชนีของการงอกของเมล็ดถั่วด้า = 𝟖𝟎 𝟑 + 𝟔𝟎 𝟒 + 𝟒𝟎 𝟓 = 2.66 + 15.0 + 8.0 = 49.6 หลังจากนาค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์จากแหล่งต่าง ๆ มาเปรียบเทียบกัน ถ้าพบว่าค่าดัชนี การงอกของเมล็ดพันธุ์จากแหล่งใดมีค่ามากกว่า แสดงว่าเมล็ดพันธุ์ของแหล่งนั้นมีความแข็งแรงกว่า การวัดความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ทั้ง 2 วิธีนั้น มีจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน คือ การเร่งอายุเมล็ด พันธุ์ เหมาะกับผู้ที่ต้องการผลิตเมล็ดพันธุ์เพื่อนาไปจาหน่ายหรือใช้เก็บเมล็ดพันธุ์นั้นเอาไว้ปลูกในปีถัดไป แต่การหาดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์เหมาะสาหรับนาไปตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ก่อนนาไปเพาะปลูก
  • 15. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 54 กิจกรรมที่ 3.3 การวัดความแข็งแรงของพันธุ์ข้าวไร่สายพันธุ์ต่างๆ โดยใช้วิธีวัดดัชนีการงอกของเมล็ด วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถบันทึก คิดคานวณ และทดสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ ข้าวไร่สายพันธุ์ต่างๆโดยใช้วิธีการวัดดัชนีการงอกของเมล็ด วัสดุอุปกรณ์ 1. ถาดเพาะเมล็ด 2. ตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่สายพันธุ์ต่างๆที่ทาการรวบรวมจากบ้านของนักเรียนกลุ่มละ 1 สายพันธุ์ วิธีการทดลอง 1. นาเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่แต่ละสายพันธุ์ที่ลดความชื้นแล้วมาเคล้าให้ทั่ว 2. สุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่มาทดสอบการงอกโดยแต่ละสายพันธุ์จะทาการทดลอง 3 ซ้าๆ ละ 10 เมล็ด 3. เพาะเมล็ดในถาดเพาะเมล็ดขนาด 50 หลุม ซึ่งมีดินร่วนปนทรายเป็นวัสดุเพาะ 4. ขุดหลุมลึกประมาณ 2 เซนติเมตร ในถาดเพาะแต่ละหลุมหยอดเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ หลุมละ 1 เมล็ด กลบดิน 5. นาถาดเพาะเมล็ดทั้งหมดวางไว้ในบริเวณเพาะเดียวกัน รดน้า ในปริมาณเท่ากันใช้เวลาในการ เพาะ 10 วัน นับจานวนเมล็ดที่งอกทุกวัน เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีรากงอกออกมาและมี ลาต้นที่มีการพัฒนา เป็นต้นกล้าที่ปกติและมีใบแท้ 1 คู่ ถือว่าเป็นเมล็ดที่งอก 6. บันทึกจานวนเมล็ดที่งอกทุกวันในตารางบันทึกผลที่นักเรียนออกแบบด้วยตนเองและนามาหา ค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์จากสูตรดัชนีการงอกของเมล็ด = ผลบวกของ จานวนต้นที่งอกในแต่ละวันจานวนวันหลังเพาะ 7. อภิปรายผลในชั้นเรียนและเรียงลาดับสายพันธุ์ข้าวไร่ที่มีค่าดัชนีการงอกของเมล็ดจากมาก ไปหาน้อยและสรุปผลการศึกษา
  • 16. เอกสารประกอบการเรียน “ข้าวไร่-งัวะแซ” 55 กิจกรรมที่ 3.4 การเปรียบเทียบค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่เมื่อเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ในภาชนะ ที่แตกต่างกัน วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถเปรียบเทียบค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่เมื่อเก็บรักษา เมล็ดพันธุ์ในภาชนะที่แตกต่างกัน วัสดุอุปกรณ์ 1. ถาดเพาะเมล็ด 2. ตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่สายพันธุ์ต่างๆที่ทาการรวบรวมจากบ้านของนักเรียนกลุ่มละ 1 สายพันธุ์ 3. ถุงพลาสติกที่มีความหนา 0.25 มม. 4. ขวดแก้วที่มีฝาปิดป้องกันอากาศถ่ายเทเข้าออก 5. ถุงใส่ข้าวสาร ( คล้ายถุงบรรจุปุ๋ยทาจากพลาสติก ) วิธีการทดลอง 1. นาเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่มาเก็บรักษาในภาชนะต่างๆกัน 3 ชนิด เป็นเวลา 1 เดือน ได้แก่ - ถุงพลาสติกที่มีความหนา 0.25 มม. - ขวดแก้วที่มีฝาปิดป้องกันอากาศถ่ายเทเข้าออก - ถุงใส่ข้าวสาร ( คล้ายถุงบรรจุปุ๋ยทาจากพลาสติก ) 2. นาเมล็ดพันธุ์ข้าวที่เก็บในภาชนะต่างๆกันมาทดสอบหาค่าดัชนีการงอก โดยแต่ละสายพันธุ์ จะทาการทดลอง 3 ซ้าๆ ละ 10 เมล็ด 3. เพาะเมล็ดในถาดเพาะเมล็ดขนาด 50 หลุม ซึ่งมีดินร่วนปนทรายเป็นวัสดุเพาะ 4. ขุดหลุมลึกประมาณ 2 เซนติเมตร ในถาดเพาะแต่ละหลุม หยอดเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ หลุมละ 1 เมล็ด กลบดิน 5. นาถาดเพาะเมล็ดทั้งหมดวางไว้ในบริเวณเพาะเดียวกัน รดน้า ในปริมาณเท่ากันใช้เวลาในการ เพาะ 10 วัน นับจานวนเมล็ดที่งอกทุกวัน เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีรากงอกออกมาและมีลาต้นที่มีการพัฒนาเป็น ต้นกล้าที่ปกติและมีใบแท้ 1 คู่ ถือว่าเป็นเมล็ดที่งอก 6. บันทึกจานวนเมล็ดที่งอกทุกวันในตารางบันทึกผลที่นักเรียนออกแบบด้วยตนเองและนามาหา ค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์จากสูตร ดัชนีการงอกของเมล็ด = ผลบวกของ จานวนต้นที่งอกในแต่ละวันจานวนวันหลังเพาะ 7. เปรียบเทียบและอภิปรายผลค่าดัชนีการงอกของพันธุ์ข้าวไร่ที่เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ในภาชนะที่แตกต่างกัน และสรุปผลการศึกษา