SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
บทที่ 3
ระบบย่อยอาหารและ
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
1
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
รายวิชาชีววิทยา 1 รหัสวิชา ว32141
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
การย่อยอาหาร (DIGESTION)
2
สิ่งมีชีวิตทุกชนิด มีความต้องการหาอาหารเพื่อให้ตนเองสามารถดารงชีพอยู่บนโลกได้ ดังนั้น เรา
สามารถจะจาแนกสิ่งมีชีวิตตามการจัดหาอาหารออกเป็น 2 พวกใหญ่ ๆ คือ
1. Autotroph คือสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้จากสารอนินทรีย์ ได้แก่ Photosynthesis เช่น
พวกพืชสีเขียวต่าง ๆ ได้พลังงานในการสังเคราะห์ด้วยแสงโดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ และ
Chemosynthesis เช่น ในแบคทีเรียบางชนิด อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยาเคมี
2. Heterotroph คือสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้ ได้แก่ พวกสัตว์ได้อาหารจากสิ่งที่สร้างมาแล้ว
แบ่งตามชนิดของอาหารที่กินเข้าไป
Herbivore สัตว์กินพืช เช่น กระต่าย กอริลลา วัว หอยทาก เป็นต้น
Carnivore สัตว์ที่กินเนื้อ เช่น เสือ แมว ฉลาม
Omnivore สัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์ เช่น แมลงสาบ อีกา และคน
ประเภทของการย่อยอาหาร
1. Intracellular digestion คือ การที่เซลล์นาอาหารเข้าไปภายในจนทาให้เกิดถุงอาหาร (Food
vacuole) แล้วใช้นาย่อยย่อยอาหารในเซลล์นั้น
2. Extracellular digestion คือ การที่เซลล์ขับน้าย่อยออกมาย่อยอาหารนอกเซลล์จนกลายเป็นโมเลกุล
เล็ก ๆ แล้วดูดซึมไปใช้ประโยชน์ต่อไป
3
ประเภทของทางเดินอาหาร
1. Complete digestive tract ประกอบด้วยช่องเปิด 2 ช่อง ทำหน้ำที่เป็นปำกและทวำรหนัก
ตำมลำดับ
2. Incomplete digestive tract ประกอบด้วยช่องเปิดเพียง 1 ช่อง คือ อำหำรเข้ำทำงปำกและกำก
อำหำรออกทำงเดียวกัน
4
หน้าที่ของทางเดินอาหาร แบ่งออกเป็น 4 ประการ คือ
1. การกิน เป็นการนาอาหารเข้าร่างกาย
2. การย่อยอาหาร เป็นการทาให้ได้สารอาหารเพื่อนาไปใช้ได้
3. การดูดซึม เป็นการนาสารอาหารโมเลกุลเล็กเหล่านั้น เข้าสู่เซลล์ เพื่อเข้าสู่ระบบไหลเวียนต่อไป
4 .การขับออก โดยจะขับสารที่ย่อยไม่ได้ ออกเป็นกากอาหาร
5
หน้าที่จะสาเร็จได้ต้องมี 3 กระบวนการนี้
1. การเคลื่อนไหว เป็นการคลุกเคล้าอาหารและผลักอาหารให้เคลื่อนไปตามทางเดินอาหาร
2. การหลั่ง เป็นการหลั่งน้าย่อยจากต่อมมีท่อตามทางเดินอาหาร
3. การขนส่ง เป็นกลไกการดูดซึมสารอาหาร รวมถึงการขนส่งไปยังเส้นเลือดหรือท่อน้าเหลือง
6
1.การย่อยเชิงกล เป็นการย่อยอาหารโดยการบดหรือเคี้ยวเพื่อให้อาหารมีขนาดเล็กลง เช่นใน
vertebrate ใช้ฟันบดเคี้ยว ในไส้เดือนดินใช้กึ๋น (Gizzard) บด เป็นต้น
2. การย่อยเชิงเคมี เป็นการย่อยอาหาร โดยใช้น้าย่อย หรือ Enzyme เข้าช่วยเพื่อให้อาหารมีโมเลกุล
เล็กที่สุด แล้วจึงทาการดูดซึมเข้าสู่เซลล์ได้
ขั้นตอนของการย่อยอาหาร
ดารงชีวิตเป็นผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ส่วนใหญ่ จะมีการย่อยอาหาร
โดยปล่อยเอนไซม์ออกมานอกเซลล์ เพื่อย่อยสารอินทรีย์ จนเป็นสารอาหารโมเลกุลเล็ก
(Extracellular digestion) แล้วจึงดูดซึมเข้าสู่เซลล์
7
การย่อยอาหารของจุลินทรีย์
8
การย่อยอาหารของอะมีบา
- มีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ร่างกายโดยตรง
- ย่อยอาหารภายในเซลล์ (intracellular digestion)
- เคลื่อนย้ายสารอาหารที่ย่อยได้จาก food vacuole สู่ไซโตพลาสม
- ขับกากอาหารออกทาง anal pore
9
การย่อยอาหารของพารามีเซียม
-มีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ร่างกายโดยตรง
-ย่อยอาหารภายในเซลล์ (intracellular
digestion)
-เคลื่อนย้ายสารอาหารที่ย่อยได้จาก food
vacuole สู่ไซโตพลาสม
-ขับกากอาหารออกทาง anal pore
การย่อยอาหารของสัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร
ฟองน้า (Spongy)กินอาหารโดยการจับอนุภาคอาหารขนาดเล็กที่ปะปนอยู่ในน้าทะเลซึ่งถูกพัดพาผ่านรู
เล็ก ๆ ของช่องน้าเข้า ถูกกรองเข้าไปในตัวฟองน้า โดยเซลล์ที่มีแฟลกเจลลัมซึ่งเรียกว่า โคแอนโน
ไซต์ (Choanocyte) โบกน้าผ่านเข้ามาและใช้เมือกจับอนุภาคอาหารนั้น แล้วใช้กระบวนการฟาโก
ไซโทซิสจับอาหารเข้าเซลล์พร้อมกับสร้างฟูดแวคิวโอล (Food vacuole) อาหารจะถูกย่อยและ
ส่งไปตามส่วนต่าง ๆ โดยเซลล์อะมีโบไซต์ (Amoeocyte)
10
11
Intracellular and extracellular digestion
- พบในหนอนตัวแบน(พลานาเรีย) และ cnidarians(เช่น แมงกะพรุน, ไฮดรา)
- มี gastrovascular cavity ที่เป็นช่องสาหรับน้า,
อาหาร และอากาศเข้าสู่ร่างกาย
- ทางเข้าและออกของอาหารเป็นทางเดียวกัน
(incomplete digestive tract)
- หลังจากอาหารเข้าสู่ gastrovascular cavity
จะมีการปล่อยเอนไซม์จากเซลล์ออกมาย่อย
เรียกการย่อยนี้ว่า extracellular digestion
- อาหารที่ย่อยแล้วยังมีขนาดใหญ่อยู่ จะถูก
นาเข้าสู่เซลล์โดยวิธี phagocytosis
และย่อยต่อไป
พลานาเรีย (PLANARIA)
เป็นสัตว์พวกหนอนตัวแบนชนิดหนึ่งที่ดารงชีพอิสระ จับเหยื่อโดยการปล่อยเมือกออกมาและใช้ลาตัว
คลุมลงบนตัวเหยื่อ เหยื่อจะถูกเมือกพันตัวทาให้เคลื่อนไหวไม่ได้ และจะใช้งวงหรือฟาริงซ์ยื่น
ออกมาดูดของเหลวในตัวเหยื่อเป็นอาหาร หรือกลืนเหยื่อเข้าไปช่องแกสโทรวาสคิวลาร์ที่แตกแขนง
ทอดยาวไปตามลาตัว เซลล์ต่อมที่อยู่ตามผนังทางเดินอาหารจะปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยอาหาร
และชิ้นส่วนที่ย่อยแล้วจะมีเซลล์ที่ผนังทางเดินอาหารโอบล้อมอาหารเข้าไปย่อยภายในเซลล์ต่อ
ส่วนกากอาหารที่ย่อยไม่ได้ก็จะกลับออกมาทางปาก
12
พยาธิใบไม้ (FLUKE)
เป็นสัตว์กลุ่มเดียวกับหนอนตัวแบน มีทางเดินอหารคล้ายพลานาเรียมีปากไม่มีทวารหนักลักษณะ
ทางเดินอาหารไม่มีกิ่งก้านสาขามากบริเวณส่วนหัวมีอวัยวะดูดเกาะ (Oral sucker) ใช้ดูดเลือด
จากเหยื่อเข้าปาก ต่อจากปากเป็นคอหอยและลาไส้แยกออกเป็นแขนง กาย่อยอาหารเป็นการย่อย
แบบภายในเซลล์
13
พยาธิตัวตืด (TAPE WORM)
เป็นสัตว์กลุ่มเดียวกับหนอนตัวแบน บริเวณส่วนหัวมีอวัยวะดูดเกาะหลายอันอยู่รอบ ๆ ส่วนหัว
เรียกว่า สโคเล็กซ์(Scolex) ไม่มีทางเดินอาหารจึงต้องดูดซึมสารอาหารที่ย่อยแล้วจากทางเดิน
อาหารของผู้ถูกอาศัย (Host) เข้าสู่ร่างกายโดยไม่ต้องย่อย
14
การย่อยอาหารของสัตว์ที่มีทางเดินอาหารสมบูรณ์
หนอนตัวกลม (Nematode) เป็นสัตว์พวกแรกที่มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ ประกอบด้วย ปาก
(Mouth) คอหอย(Pharynx) ซึ่งมีลักษณะเป็นท่อยาวที่มีกล้ามเนื้อบุผนังหนามาก ช่องภายใน
ค่อนข้างแคบ การบีบตัว การคลายตัวของกล้ามเนื้อบุผนังฟาริงซ์ จะทาให้เกิดแรงดูด ทาให้
อาหาร เคลื่อนเข้าสู่ลาไส้ (Intestine) ซึ่งเป็นท่อยาวมีลิ้นปิดเปิดระหว่างลาไส้กับคอหอย การ
ย่อยอาหารและดูดซับอาหารเกิดขึ้นภายในลาไส้ การย่อยอาหารเป็นการย่อยแบบภายนอกเซลล์
จากนั้นขับกากออกทางทวารหนัก (Anus) สาหรับหนอนตัวกลมที่เป็นปรสิต มักจะกินเนื้อเยื่อ
ต่าง ๆ หรือกินอาหารที่ย่อยแล้วของผู้ถูกอาศัย
15
16
Extracellular digestion in complex animals
พบในสัตว์ส่วนใหญ่ ตั้งแต่หนอนตัวกลมจนถึงสัตว์มีกระดูกสันหลัง
- มีทางเปิดของปาก(mouth)และทวาร
หนัก(anus) แยกกันเรียก complete
digestive tract หรือ alimentary
canal-crop และกระเพาะอาหารทา
หน้าที่เก็บอาหาร (บางครั้งอาจมีการ
ย่อย)
- gizzard ทาหน้าที่บดอาหาร
ภาพที่แสดงลักษณะทางเดินอาหารของหนอนมีปล้อง
แมลง (INSECT)
ทางเดินอาหารคล้ายกับพวกแอนเนลิด แต่อวัยวะต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปบ้าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน
การกินอาหาร หรือเพื่อให้เหมาะกับชนิดของอาหาร เช่น ปากของแมลง มีหลายชนิด มักใช้น้าลาย
ในการดูดอาหาร โดยยุงใช้น้าลายพ่นใส่เลือดเพื่อไม่ให้เลือดแข็งตัว ยุงจึงดูดไปใช้ได้ ผีเสื้อดู
น้าหวานโดยใช้งวงซึ่งม้วนเป็นวงดูดเข้าไป ส่วนแมลงวันปล่อยน้าลายออกมาละลาอาหารแล้วจึง
ดูดอาหารเข้าปาก จึงเห็นได้ว่าการทาให้อาหารเปลี่ยนสภาพมีขนาดเล็กลงนั้นเริ่มต้นที่ปาก
17
หากนาตั๊กแตนมาผ่าดูทางเดินอาหาร จะพบว่าประกอบด้วยปาก (Mouth) คอหอย(Pharynx)
หลอดอาหาร (Esophagus) ถุงพักอาหาร (Crop) ต่อมน้าลาย(Salivary gland) โป
รเวนตริคูลัส หรือกึ๋น (Proventiculus หรือ Gizzard) แกสตริกซีกา (Gastric ceca) 
ทางเดินอาหารส่วนกลาง (Mid gut)  หลอดมัลพิเกียน (Malpighian tubule) โคลอน
(Colon) เป็นส่วนหนึ่งของลาไส้ใหญ่ ส่งกากอาหารไปยังไส้ตรง (Rectum) แล้วจึงเปิดออกที่ทวาร
หนัก (Anus)
18
19
ปลา (FISH)
 เป็นสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง กินอาหารหลากหลายชนิด ได้แก่ แพลงก์ตอน พืช สัตว์ ซึ่งมีความแตกต่าง
ของอวัยวะย่อยอาหารตั้งแต่ลักษณะของปาก ฟัน และทางเดินอาหาร
 ปลาที่กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร ตัวอย่างเช่นปลาทู ปลาอกแล ปลาแป้น : ฟันขนาดเล็กมาก หรือไม่
มีฟันเลย นอกจากนั้นขากรรไกรก็ไม่แข็งแรง ส่วนปลาปากแตร ปากคล้ายหลอดดูด
 ปลาตะเพียนปลาในมีฟันบดบริเวณคอหอยสาหรับบดพืชน้าหรือสาหร่ายที่กินเข้าไปให้ละเอียด
 ปลาที่มีปากแข็งแรง เช่น ปลานกแก้ว ปลาสลิดหิน มีฟันขุด (จงอยปากนก) : สาหร่ายในหินปะการัง
 สาหรับปลาล่าเหยื่อ เช่น ปลาอินทรีย์ ปลาปากคม ส่วนมากมีขากรรไกรทั้งล่างและบนแข็งแรงดี มีฟัน
แหลมคม มองเห็นได้ชัดเจน ปลาพวกนี้จับเหยื่อทีละตัว พวกปลากระเบน มีฟันแผงแข็งแรง จน
สามารถใช้ขบเปลือกหอยให้แตกเพื่อกินเนื้อหอย
 ปากมีลิ้นขนาดเล็กที่ไม่ใช้งาน ทาหน้าที่รับสัมผัสอาหาร เมื่ออาหารเข้าปากแล้วก็จะเคลื่อนผ่านคอ
หอยหลอดอาหาร กระเพาะอาหารลาไส้ Pyloric ceca พบเฉพาะปลากินเนื้อ และออกมาทางทวาร
หนัก โดยการย่อยอาหาร จะอาศัยต่อมสร้างน้าย่อย ที่ประกอบด้วย ตับ ซึ่งมีถุงน้าดีเก็บน้าดี และตับ
อ่อนสร้างน้าย่อย
20
ภาพแสดงลักษณะทางเดินอาหารของปลา
21
นก (BIRD)
 นกกินอาหารที่มีพลังงานสูงและมีการย่อยอาหารอย่างรวดเร็ว นกไม่มีฟันและต่อมน้าลายเจริญไม่ดี
แต่สามารถสร้างเมือกสาหรับคลุกเคล้าอาหารและหล่อลื่น ลิ้นมีต่อมรับรสน้อยแต่ก็รับรสได้บ้าง คอ
หอยสั้น หลอดอาหารค่อนข้างยาวมีผนังกล้ามเนื้อตอนปลายมีกระเพาะพักอาหาร (Crop) มีหน้าที่
เก็บอาหาร และนาไปย่อยในกระเพาะอาหาร (Stomach หรือ Proventriculus)
 สร้างน้าย่อย ถัดไปเป็นกระเพาะบดหรือกึ๋น (Gizzard) มีกล้ามเนื้อหนาผนังด้านในเป็นสันใช้บด
อาหาร นอกจากนี้นกยังมีการกลืนก้อนกรวดขนาดเล็กเข้าไปช่วยในการบดอาหาร ถัดไปเป็นลาไส้
เล็ก ลาไส้ใหญ่ และโคลเอกา
22
23
การย่อยอาหารในกระเพาะอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง
1) เริ่มแรกวัวจะเคี้ยวและกลืนหญ้า
ในรูปของbolus เข้าสู่rumen
2) bolusบางส่วนอาจเคลื่อนเข้าสู่
reticulum ทั้ง rumen และ
reticulum มี symbiotic
prokaryotes และ protists ทา
หน้าที่ย่อยเซลลูโลสและหลั่ง
กรดอะมิโนออกมา
3) อาหาร(cud)บางส่วนจาก(2)จะ
ถูกนากลับออกมาเคี้ยวใหม่
4) วัวจะกลืนcudจาก(3)กลับเข้าสู่กระเพาะ
ส่วน omasum ที่มีการดูดน้ากลับ
5) cudที่มีปริมาณจุลินทรีย์มากๆ จะเคลื่อนสู่กระเพาะส่วน abomasum กระเพาะส่วนนี้มีการ
หลั่งเอนไซม์ออกมาย่อยอาหาร ดังนั้นอาจถือได้ว่าส่วนนี้เป็นกระเพาะอาหารที่แท้จริง
และ 3 ส่วนแรกถือเป็นส่วนขยายของหลอดอาหาร
กระเพาะอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง
1. รูเมน (Rumen) หรือกระเพาะผ้าขี้ริ้ว
24
2. เรติคิวลัม (RETICULUM) หรือกระเพาะรังผึ้ง
3.โอมาซัม (OMASUM)หรือกระเพาะสามสิบกลีบ 4. แอบโอมาซัม (ABOMASUM) กระเพราะแท้จริง
25
ระบบทางเดินอาหารของคน
ประกอบด้วย
1. ช่องปาก (oral cavity)
2. คอหอย (pharynx)
3. หลอดอาหาร
(esophagus)
4. กระเพาะอาหาร
(stomach)
5. ลาไส้เล็ก
(small intestine)
6. ลาไส้ใหญ่
(large intestine or colon)
7. ลาไส้ตรง (rectum)
8. ทวารหนัก (anus)
26
ช่องปาก (oral cavity)
- ในช่องปากมีต่อมน้าลาย 3 คู่
- น้าลายประกอบด้วยสารไกลโคโปรตีนที่มีลักษณะลื่น
เรียก mucin มีบทบาทในการทาให้อาหารลื่น กลืนง่าย
ป้องกันเยื่อบุช่องปากและฟันไม่ให้ผุ
- ในน้าลายมีน้าย่อย amylase สาหรับ
ย่อยแป้งและไกลโคเจน--- ลิ้นในช่องปาก
ทาหน้าที่คลุกเคล้าอาหารให้เป็นก้อน
เรียก bolus
27
• มี 3 คุ่ อยู่ข้างกกหู ใต้ลิ้น และใต้ขากรรไกร
• ผลิตน้าลายวันละประมาณ 1-1.5 ลิตร
• น้าลายมีน้าเป็นองค์ประกอบร้อยละ 99.5 มี pH 6.2-7.4
• มีส่วนประกอบที่เป็นเมือก ทาหน้าที่หล่อลื่นอาหาร
• มีเอนไซม์อะไมเลสย่อยแป้ง
ต่อมน้าลาย
ฟัน
• ฟันแต่ละซี่มี 2 ส่วน คือ ตัวฟัน
(crown) และรากฟัน (root)
• ส่วนนอกสุดของตัวฟัน คือ สาร
เคลือบฟัน ( enamel)
• ถัดมาเป็นชิ้นเนื้อฟัน ( dentine) และ
โพรงฟัน ( pulp cavity )
28
คอหอยและหลอดอาหาร(pharynx and esophagus)
1.เมื่อไม่มีอาหาร
esophageal
sphincterหดตัว
epiglottisยกขึ้น
glottisเปิด
-ทางเดินหายใจเปิด
-ทางเดินอาหารปิด
2.เมื่ออาหารมาถึงคอหอย
จะกระตุ้นการกลืน กล่อง
เสียง(larynx)และ glottis
ยกตัวขึ้น epiglottis
เคลื่อนตัวลงมาปิด
-ทางเดินหายใจปิด
-ทางเดินอาหารเปิด
3.esophageal sphincter
คลายตัวอาหารเคลื่อนสู่หลอด
อาหาร
4.กล้ามเนื้อหด-คลายตัวเป็น
จังหวะ(peristalsis)ดันอาหาร
จากหลอดอาหาร
สู่กระเพาะอาหาร
29
การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร
• อยู่ภายในช่องท้องด้านซ้าย ใต้กระบังลม
• มีผนังกล้ามเนื้อหนา แข็งแรงมาก ยืดหยุ่นได้ดี
• ขยายความจุได้ถึง 500-2,000 ลบ.ซม.
• มีกล้ามเนื้อหูรูด 2 แห่ง คือ ติดกับหลอดอาหารและบริเวณต่อกับลาไส้เล็ก
• ผนังด้านในของกระเพาะอาหารบุด้วยเซลล์บุผิว 3 ชนิด
30
กระเพาะอาหาร (stomach) ต่อมแกสตริก (gastric gland) ประกอบด้วยเซลล์ 3 ชนิด
1.mucous cell หลั่งเมือกป้องกันไม่ให้
เซลล์กระเพาะถูกย่อย
2.parietal cell หลั่งกรดเกลือ (HCl)
3.chief cell หลั่ง pepsinogen
กรดเกลือเปลี่ยน pepsinogen
เป็น pepsin
acid chyme ส่วนผสมของอาหารที่กลืนลง
ไปกับน้าย่อย
31
สรุปการย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร
ฮอร์โมนแกสตริน
กรดไฮโดรคลอริก เพปซิโนเจน
เพนซิน
พันธะเพปไทด์
พอลิเพปไทด์ขนาดเล็ก + ไดเพปไทด์ + กรดอะมิโน
กระเพาะอาหาร
อาหาร
กระตุ้นการหลั่ง
ย่อย
ได้
ผนังกระเพาะ
หลั่ง
&
32
• อาหารที่ย่อยแล้วบางส่วนและยังไม่ได้ย่อยจะเคลื่อนผ่านกล้ามเนื้อหูรูดของกระเพาะอาหารเข้าสู่ลาไส้เล็ก
• ลาไส้เล็กมีลักษณะเป็นท่อ 6-7 เมตร (ยาวที่สุด) แบ่งเป็น 3 ส่วน
1. ดูโอดินัม ยาวประมาณ 25 cm. รับอาหาร(acid chyme) จากกระเพาะอาหาร และย่อยต่อ
โดยอาศัยน้าย่อยจากตับอ่อน น้าดีจากตับและถุงน้าดี และน้าย่อยจากลาไส้เล็กเอง
2. เจจูนัม ยาวประมาณ 2.50 m.
3. ไอเลียม ยาวประมาณ 4 m.
•เป็นส่วนที่มีการย่อยและดูดซึมอาหารมากที่สุด
การย่อยอาหารในลาไส้เล็ก
33
การย่อยโปรตีนในลาไส้เล็กของคน
เปปไทด์เล็กๆจะถูกย่อยต่อโดย
dipeptidaseได้เป็นกรดอะมิโน
ในลาไส้เล็กมี peptidase enzyme 2 ชนิด
1.Endopeptidase สลายพันธะเปปไทด์ในสายโปรตีน เช่น
trypsin, chymotrypsin
2.Exopeptidase สลายพันธะเปปไทด์จากปลายด้าน
นอกของสายโปรตีน เช่น carboxypeptidase,
aminopeptidase (สร้างจากเซลล์ลาไส้เล็ก)
dipeptidase ย่อย dipeptide
34
การทางานร่วมกันของเอนไซม์จากตับอ่อนและลาไส้เล็กสร้างน้าย่อยโปรตีน
35
การย่อยไขมันในลาไส้เล็กของคน
• ตับทาหน้าที่สร้างน้าดี (bile) เก็บไว้ที่ถุงน้าดี
( gall bladder )
• น้าดีมีส่วนประกอบที่สาคัญคือ เกลือน้าดี
(bile salt) ช่วยให้ไขมันแตกตัวเป็นหยดไขมัน
เล็กๆ และแทรกรวมกับน้าได้ในรูป อิมัลชัน
(emulsion)
• ตับอ่อนและเซลล์ที่ผนังลาไส้เล็กจะสร้าง
เอนไซม์ลิเพส ซึ่งจะย่อยไขมันที่อยู่ในรูป
อิมัลชันให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล
• เกลือน้าดีถูกดูดซึมที่ลาไส้ใหญ่ เพื่อให้ตับนา
กลับมาใช้ใหม่
36
• ตับอ่อนสร้างเอนไซม์อะไมเลสแล้วส่งมาที่ลาไส้เล็กเพื่อย่อยแป้งไกลโคเจนและเดกซ์ทรินให้เป็น
มอลโทส
• เซลล์ผนังด้านในลาไส้เล็กส่วนดูโอดินัมจะผลิตเอนไซม์มอลโทสย่อยมอลโทส
• ผนังลาไส้เล็กผลิตเอนไซม์ซูเครสย่อยซูโครสให้เป็นกลูโคสและฟรักโทส และเอนไซม์แลกเทสย่อย
แลกเทสให้เป็นกลูโคส และกาแลกโทส
การย่อยคาร์โบไฮเดรต
37
sucrase, maltase, lactase
38
การดูดซึมอาหารในลาไส้เล็กของคน
-การดูดซึมสารอาหารส่วนใหญ่เกิดที่ลาไส้เล็ก(jejunumและileum)
-เกิดเล็กน้อยที่ลาไส้ใหญ่
• ความหนาแน่นของวิลลัส 20-40 หน่วยต่อ 1 ตร.มม.ภายในวิลลัสมีหลอดเลือดฝอยและท่อน้าเหลือง
39
กรดอะมิโน มอโนแซ็คคาไรด์
ไมโครวิลลัส
หลอดเลือดฝอย
ตับ
หัวใจ อวัยวะร่างกาย
การดูดซึมสารอาหารโปรตีน และน้าตาล
กรดไขมัน+กลีเซอรอล
ไมโครวิลลัส
ไตรกลีเซอไรด์
หลอดน้าเหลืองฝอย
หัวใจ
อวัยวะ/ร่างกาย
ที่วิลลัส
การดูดซึมสารอาหารพวกไขมัน
40
การดูดซึมอาหาร • เป็นกระบวนการนาสารอาหารเข้าสู่เซลล์
กระเพาะอาหาร • ดูดซึมสารที่ละลายในลิพิดได้ดี เช่น แอลกอฮอล์ และยาบางชนิด
ลาไส้เล็ก • ดูดซึมสารอาหาร น้า วิตามิน และแร่ธาตุๆ
• ผนังด้านในของลาไส้เล็กบุด้วยเซลล์บุผิวชั้นเดียว
เรียกว่า วิลลัส (vilus) ทาหน้าที่ดูดซึมสารอาหาร
• ดูดซึมน้ำ วิตำมิน และแร่ธำตุ
• มีแบคทีเรียพวก Escherichia coliช่วยสังเครำะห์วิตำมิน K B12 กรดโฟ
ลิก , ไบโอทิน
ลาไส้ใหญ่
ลาไส้ใหญ่(large intestine) ลาไส้ตรง(rectum) และทวารหนัก(anus)
- ลาไส้ใหญ่ทาหน้าที่ดูดน้าและเกลือแร่
- กากอาหารในลาไส้ใหญ่เคลื่อนแบบ peristalsisและอยู่ในลาไส้ใหญ่นาน 12-24 ชม.
- ลาไส้ตรงเป็นที่เก็บกากอาหาร ซึ่งอุดมด้วยจุลลินทรีย์และเซลลูโลส
- ระหว่างลาไส้ตรงและทวารหนักมีหูรูด (sphincter) 2 อัน (อันแรกอยู่ใต้อานาจจิตใจ ส่วนอีกอันอยู่นอก
อานาจจิตใจ)
41
• ยาวประมาณ 1.50 เมตร
• ประกอบด้วยส่วนโคลอน
ไส้ตรง (rectum)
และทวารหนัก (anus)
ลาไส้ใหญ่ (large intestine)
42
กระบวนการสลายสารอาหารระดับเซลล์
43
2 PGAL
2 PGA
44
45
46
47
48
49
50
51
52
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 

What's hot (20)

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 

Similar to ย่อยอาหาร

ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารcapchampz
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
งานเนย์น้ะ
งานเนย์น้ะงานเนย์น้ะ
งานเนย์น้ะNoramon Sangmanee
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์kanitnun
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemkasidid20309
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์Tin Savastham
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 

Similar to ย่อยอาหาร (20)

ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
งานเนย์น้ะ
งานเนย์น้ะงานเนย์น้ะ
งานเนย์น้ะ
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

ย่อยอาหาร