SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
จัดทำโดย คุณครูเชษฐำ เดชำโชติช่วง
โรงเรียนวัดธำตุกุดกว้ำง
สถำนกำรณ์ปัญหำ
เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รับดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3
สถำนกำรณ์ปัญหำ ภำรกิจกำรเรียนรู้
เกษตรกรนิยมปลูกฟักทองเพื่อบริโภคในครัวเรือน
เพราะปลูกง่าย สามารถนามาประกอบอาหารได้ทั้งคาวและ
หวาน ในการปลูกพบว่าเมื่อฟักทองออกดอกแล้วมีบางดอกที่
แห้งเหี่ยวไป และบางดอกที่กลีบดอกหลุดไปแต่เหลือจุกที่ฐาน
ดอกที่เจริญไปเป็นผล นักเรียนทราบหรือไม่ว่ามีส่วนใดของดอก
ฟักทองที่แห้งไป และส่วนใดของดอกถึงสามารถเจริญเติบโตไป
เป็นผลได้
- ให้นักเรียนศึกษาโครงสร้างและส่วนประกอบของพืชดอก
- ให้นักเรียนศึกษาการสืบพันธุ์และการพัฒนาของผลในพืช
ดอก
- ให้นักเรียนเปรียบเทียบโครงสร้างดอก การสืบพันธุ์และการ
พัฒนาของผลฟักทองกับพืชดอกชนิดอื่นๆว่ามีความ
แตกต่างกันอย่างไรบ้าง
ขุมทรัพย์ทำงปัญญำ
เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก
กำรสืบพันธุ์ของพืชดอก
กำรสืบพันธุ์ (Reproduction)
เป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตสร้างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันเพื่อ
ดารงเผ่าพันธุ์ไว้ ซึ่งการสืบพันธุ์เป็นสมบัติที่สาคัญประการหนึ่งของพืช
โดยทั่วไปจะแบ่งการสืบพันธุ์ของพืชออกเป็นสองประเภท คือ การ
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
กำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ (Sexual reproduction)
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชเป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจาก
การผสมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ เพศผู้ คือ สเปิร์ม (Sperm) กับเซลล์
สืบพันธุ์เพศเมีย คือ ไข่ (Egg) ได้เป็น เอ็มบริโอ (Embryo) ซึ่งจะ
เจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ที่ได้ลักษณะทางพันธุกรรมจากต้นพ่อและต้น
แม่ ซึ่งโครงสร้างของพืชส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของ
พืชดอก คือ ดอก (Flower) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ (Reproductive
organ)
ประเภทของดอกพืชโครงสร้ำงของดอกพืช
ดอก (Flower) เป็นอวัยวะของพืชที่ทาหน้าที่ในการสืบพันธุ์ มี
ส่วนประกอบ
1. กลีบเลี้ยง ทาหน้าที่ห่อหุ้มป้องกันอันตรายให้กับส่วนประกอบ
ต่างๆ
2. กลีบดอก ทาหน้าที่ ล่อแมลงให้มาผสมเกสร
3. เกสรตัวผู้ ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ประกอบด้วย อับ
เรณู และก้านชูอับเรณู
4. เกสรตัวเมีย ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่
ประกอบด้วย ยอดเกสรตัวเมีย ก้านชูเกสรตัวเมีย และรังไข่
ประเภทของดอก สามารถแบ่งโดยใช้เกณฑ์ 2 แบบ ดังนี้
1.แบ่งโดยใช้องค์ประกอบของดอกเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น
ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) หรือดอกครบส่วน คือ
ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกครบทั้ง 4 ส่วนในดอกเดียวกัน
เช่น ชบา พู่ระหง กุหลาบ มะเขือ
ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower) หรือดอกไม่ครบส่วน
คือ ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกไม่ครบทั้ง 4 ส่วน เช่น ดอก
หน้าวัว (ขาดกลีบเลี้ยงและกลีบดอก) ดอกบานเย็น (ขาดกลีบ
ดอก)
กำรถ่ำยละอองเรณูของพืช
ดอก
ประเภทของดอกพืช
แบ่งโดยใช้เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น
ดอกสมบูรณ์เพศ (Perfect flower) คือ ดอกที่มีทั้งเกสรตัวผู้
และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน เช่น กุหลาบ ชบา บัว ถั่ว มะเขือ
พริก เฟื่องฟ้า อัญชัญ แตง ผักบุ้ง แพงพวย ข้าว หญ้า จาปา มะลิ ฯลฯ
ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (Imperfect flower) คือ ดอกทีมีเฉพาะ
เกสรตัวผู้หรือเกสรตัวเมียเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ข้าวโพด ตาลึง
มะละกอ มะพร้าว หน้าวัว เงาะ ขนุน บวบ แตงกวา ตาล ฯลฯ
กำรถ่ำยละอองเรณู (Pollination) คือ การที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสร
ตัวเมีย เกิดได้ 2 แบบ คือ
1.กำรถ่ำยละอองเรณูภำยในดอกเดียวกัน (Self-pollination) เป็นการ
ผสมตัวเองอาจจะเกิดจากการผสมภายในดอกเดียวกันหรือคนละดอกแต่ต้น
เดียวกันก็ได้ หรืออาจต่างต้นกันแต่เป็นพันธุ์บริสุทธิ์ซึ่งมีจีนเหมือนกันเช่น ข้าว
ซึ่งเป็นพันธุ์เดียวกันและปลูกอยู่ด้วยกัน
2. กำรถ่ำยละอองเรณูต่ำงดอกหรือข้ำมดอกกัน (Cross-pollination)
เป็นการถ่ายละอองเรณูของพืชชนิดเดียวกันแต่ต่างต้นกันและมีคุณสมบัติทาง
พันธุกรรมต่างกันคือ มีจีนไม่เหมือนกัน
กำรปฏิสนธิ กำรพัฒนำของผล
กำรปฏิสนธิ (Fertilization) คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียสเข้าไป
ผสมกับเซลล์ไข่ ซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัว
เมีย เมื่อละอองเรณูตกลงสู่ยอดเกสรตัวเมีย ละอองเรณูจะงอกท่อยาว
เรียกว่า พอลเลนทิวบ์ (pollen tube) ลงสู่คอเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียส
จะเคลื่อนตัวไปตามท่อในขณะที่เจเนเรทีฟนิวเคลียส จะแบ่งนิวเคลียสแบบ
ไมโทซีสได้สเปิร์มนิวเคลียส (sperm nucleus) 2 ตัว เข้าผสมกันนิวเคลียส
ของไข่ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญเป็นเอมบริโอต่อไป ส่วนอีกนิวเคลียสจะ
เจริญเป็นเอนโดสเปิร์มซึ่งเป็นอาหารส าหรับเลี้ยงเอมบริโอ การผสมซึ่งเกิด
จากการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (double fertilization) ซึ่ง
พบเฉพาะในพืชดอกเท่านั้น
กำรเปลี่ยนแปลงหลังกำรปฏิสนธิของพืชดอก
•ไข่ จะเจริญไปเป็นเอมบริโออยู่ภายในเมล็ด
•รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล (Fruit)
•ผนังรังไข่ (Ovary wall) จะเจริญไปเป็นเปลือกและเนื้อของผล (Pericarp)
•โพลำร์นิวคลีไอ จะเจริญไปเป็นเอนโดสเปิร์ม (Endosperm) อยู่ภายใน เมล็ด
(Seed)
•ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด
•เยื่อหุ้มออวุล (Integument)จะเจริญไปเป็นเปลือกหุ้มเมล็ด (Seed coat)
•แอนติโพดัล (Antipodal) และซินเนอร์จิด (Synergid) จะสลายไป
•กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ ยอดเกสรตัวเมียและก้ำนชูเกสรตัวเมีย จะ
เหี่ยวแห้งร่วงไป แต่ในดอกของพืชบางชนิดยังคงมีกลีบเลี้ยง และเกสรตัวผู้ติด
อยู่
ฐำนควำมช่วยเหลือ ควำมคิดรวบยอด
เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิดรวบยอด
พืชดอก
โครงสร้าง
ดอก
การ
สืบพันธุ์
ประเภท
ของดอก
การพัฒนา
ของผล
กลีบเลี้ยง, กลีบดอก
เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย
เป็นอวัยวะในการสืบพันธุ์
ของพืชดอก
กำรถ่ำยละอองเรณู คือ การ
ที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอด
เกสรตัวเมีย กำรปฏิสน ธิ
คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียส
เข้าไปผสมกับเซลล์ไข่
ดอกสมบูรณ์
ดอกไม่สมบูรณ์
ดอกสมบูรณ์เพศ
ดอกไม่สมบูรณ์เพศ
ไข่ จะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอ
รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล
ผนังรังไข่ จะเจริญไปเป็น
เปลือก&ผล
ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกลยุทธ์
เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก
1. ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่า คำสำคัญของปัญหำ คืออะไร
กลยุทธ์ในกำรแก้ไขปัญหำ
2. ให้นักเรียนพิจารณาว่าคาสาคัญ ของปัญหาแล้วนาไป
เชื่อมโยงกับคาสาคัญในแหล่งข้อมูลที่จะใช้แก้ไขปัญหา
3. จากสถานการณ์ปัญหาลองพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้น
นั้นต้องการให้นักเรียนอธิบายโครงสร้างและการสืบพันธุ์ของพืช
ดอก พร้อมทั้งพิจารณาเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก
1. นักเรียนสามารถเข้าไปศึกษาแหล่งข้อมูล เป็นแหล่งรวบรวม
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับหิน
2. ฐานความช่วยเหลือ ให้นักเรียนได้แนวทางในการค้นหา
คาตอบได้ ซึ่งประกอบด้วย 4 ฐานด้วยกัน คือ
- ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด ช่วยให้
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับโครงสร้างเละการสืบพันธุ์
ของพืชได้อย่างเหมาะสม
- ฐานความช่วยเหลือด้านการคิด ช่วยในการตรวจสอบ
วิธีการคิดขิงนักเรียนเกี่ยวกับโครงสร้างเละการสืบพันธุ์
ของพืช
- ฐานความช่วยเหลือด้านกระบวนการ ช่วยแนะนา
นักเรียนเกี่ยวกับการใช้เมนูต่างๆ ที่มีอยู่ในชุดการสร้าง
ความรู้ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา
- ฐานความช่วยเหลือด้านกลยุทธ์ เป็นยุทธวิธีที่ใช้
แก้ปัญหาหรือวิธีการที่จะทาให้ปฏิบัติภารกิจสาเร็จ
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
3. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ
หรืออาจารย์ผู้สอนโดยตรง หรือค้นหาคาตอบจาก
แหล่งเรียนรู้อื่นๆ
4. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ
หรืออาจารย์ผู้สอน
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
1.นักเรียนลองวิเครำะห์ว่ำ ภำรกิจหลักคือ
อะไร และนักเรียนต้องมีควำมรู้เรื่องใด
เพื่อที่จะนำมำใช้ในกำรแก้ไขภำรกิจนั้นๆ
2.จำกภำรกิจหลักนักเรียนมีควำมรู้เพียง
พอที่จะนำไปแก้ไขได้หรือไม่ ถ้ำไม่เพียงพอ
ต้องศึกษำเพิ่มเติมจำกแหล่งข้อมูล บุคคล
ต่ำงๆ ที่สำมำรถให้ควำมรู้เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ
ได้
3.นักเรียนคิดว่ำจะมีวิธีกำรหรือแนวทำง
ใดบ้ำงที่สำมำรถนำมำแก้ไขภำรกิจได้ และ
วิธีใดมีควำมเหมำะสมสำหรับปัญหำนี้มำก
ที่สุด
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด
เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด
สถำนกำรณ์ปัญหำ
เรื่อง ประเภทของดอกและกำรถ่ำยละอองเรณู
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รับดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3
จัดทำโดย คุณครูเชษฐำ เดชำโชติช่วง
โรงเรียนวัดธำตุกุดกว้ำง
สถำนกำรณ์ปัญหำ ภำรกิจกำรเรียนรู้
หนูดีปลูกถั่วฝักยาวและแตงกวาไว้หลังบ้าน โดย
ปลูกไว้ในโรงเรือนที่มีหลังคามิดชิด พบว่าเมื่อถึงเวลาเก็บ
เกี่ยวผลิต ถั่วฝักยาวให้ผลดี แต่แตงกวาให้ผลิตน้อยกว่าเมื่อ
เปรียบเทียบกับต้นที่ปลูกไว้นอกโรงเรือน
1. ให้นักเรียนแยกประเภทของดอกของพืชทั้ง 2 ว่าเป็นพืช
สมบูรณ์เพศ หรือไม่สมบูรณ์เพศ
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่าปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการถ่าย
ละอองเรณูของพืชทั้ง 2 ชนิด
3. ให้นักเรียนอธิบายว่าเหตุผลใดแตงกวาจึงให้ผลผลิตน้อย
กว่าเมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ปลูกไว้นอกโรงเรือน
กำรสืบพันธุ์ของพืชดอก
กำรสืบพันธุ์ (Reproduction)
เป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตสร้างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันเพื่อ
ดารงเผ่าพันธุ์ไว้ ซึ่งการสืบพันธุ์เป็นสมบัติที่สาคัญประการหนึ่งของพืช
โดยทั่วไปจะแบ่งการสืบพันธุ์ของพืชออกเป็นสองประเภท คือ การ
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
กำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ (Sexual reproduction)
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชเป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจาก
การผสมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ เพศผู้ คือ สเปิร์ม (Sperm) กับเซลล์
สืบพันธุ์เพศเมีย คือ ไข่ (Egg) ได้เป็น เอ็มบริโอ (Embryo) ซึ่งจะ
เจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ที่ได้ลักษณะทางพันธุกรรมจากต้นพ่อและต้น
แม่ ซึ่งโครงสร้างของพืชส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของ
พืชดอก คือ ดอก (Flower) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ (Reproductive
organ)
ขุมทรัพย์ทำงปัญญำ
เรื่อง ประเภทของดอกและกำรถ่ำยละอองเรณู
ประเภทของดอกพืชโครงสร้ำงของดอกพืช
ดอก (Flower) เป็นอวัยวะของพืชที่ทาหน้าที่ในการสืบพันธุ์ มี
ส่วนประกอบ
1. กลีบเลี้ยง ทาหน้าที่ห่อหุ้มป้องกันอันตรายให้กับส่วนประกอบ
ต่างๆ
2. กลีบดอก ทาหน้าที่ ล่อแมลงให้มาผสมเกสร
3. เกสรตัวผู้ ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ประกอบด้วย อับ
เรณู และก้านชูอับเรณู
4. เกสรตัวเมีย ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่
ประกอบด้วย ยอดเกสรตัวเมีย ก้านชูเกสรตัวเมีย และรังไข่
ประเภทของดอก สามารถแบ่งโดยใช้เกณฑ์ 2 แบบ ดังนี้
1.แบ่งโดยใช้องค์ประกอบของดอกเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น
ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) หรือดอกครบส่วน คือ
ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกครบทั้ง 4 ส่วนในดอกเดียวกัน
เช่น ชบา พู่ระหง กุหลาบ มะเขือ
ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower) หรือดอกไม่ครบส่วน
คือ ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกไม่ครบทั้ง 4 ส่วน เช่น ดอก
หน้าวัว (ขาดกลีบเลี้ยงและกลีบดอก) ดอกบานเย็น (ขาดกลีบ
ดอก)
กำรถ่ำยละอองเรณูของพืช
ดอก
ประเภทของดอกพืช
แบ่งโดยใช้เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น
ดอกสมบูรณ์เพศ (Perfect flower) คือ ดอกที่มีทั้งเกสรตัวผู้
และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน เช่น กุหลาบ ชบา บัว ถั่ว มะเขือ
พริก เฟื่องฟ้า อัญชัญ แตง ผักบุ้ง แพงพวย ข้าว หญ้า จาปา มะลิ ฯลฯ
ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (Imperfect flower) คือ ดอกทีมีเฉพาะ
เกสรตัวผู้หรือเกสรตัวเมียเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ข้าวโพด ตาลึง
มะละกอ มะพร้าว หน้าวัว เงาะ ขนุน บวบ แตงกวา ตาล ฯลฯ
กำรถ่ำยละอองเรณู (Pollination) คือ การที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสร
ตัวเมีย เกิดได้ 2 แบบ คือ
1.กำรถ่ำยละอองเรณูภำยในดอกเดียวกัน (Self-pollination) เป็นการ
ผสมตัวเองอาจจะเกิดจากการผสมภายในดอกเดียวกันหรือคนละดอกแต่ต้น
เดียวกันก็ได้ หรืออาจต่างต้นกันแต่เป็นพันธุ์บริสุทธิ์ซึ่งมีจีนเหมือนกันเช่น ข้าว
ซึ่งเป็นพันธุ์เดียวกันและปลูกอยู่ด้วยกัน
2. กำรถ่ำยละอองเรณูต่ำงดอกหรือข้ำมดอกกัน (Cross-pollination)
เป็นการถ่ายละอองเรณูของพืชชนิดเดียวกันแต่ต่างต้นกันและมีคุณสมบัติทาง
พันธุกรรมต่างกันคือ มีจีนไม่เหมือนกัน
กำรปฏิสนธิ กำรพัฒนำของผล
กำรปฏิสนธิ (Fertilization) คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียสเข้าไป
ผสมกับเซลล์ไข่ ซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัว
เมีย เมื่อละอองเรณูตกลงสู่ยอดเกสรตัวเมีย ละอองเรณูจะงอกท่อยาว
เรียกว่า พอลเลนทิวบ์ (pollen tube) ลงสู่คอเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียส
จะเคลื่อนตัวไปตามท่อในขณะที่เจเนเรทีฟนิวเคลียส จะแบ่งนิวเคลียสแบบ
ไมโทซีสได้สเปิร์มนิวเคลียส (sperm nucleus) 2 ตัว เข้าผสมกันนิวเคลียส
ของไข่ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญเป็นเอมบริโอต่อไป ส่วนอีกนิวเคลียสจะ
เจริญเป็นเอนโดสเปิร์มซึ่งเป็นอาหารส าหรับเลี้ยงเอมบริโอ การผสมซึ่งเกิด
จากการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (double fertilization) ซึ่ง
พบเฉพาะในพืชดอกเท่านั้น
กำรเปลี่ยนแปลงหลังกำรปฏิสนธิของพืชดอก
•ไข่ จะเจริญไปเป็นเอมบริโออยู่ภายในเมล็ด
•รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล (Fruit)
•ผนังรังไข่ (Ovary wall) จะเจริญไปเป็นเปลือกและเนื้อของผล (Pericarp)
•โพลำร์นิวคลีไอ จะเจริญไปเป็นเอนโดสเปิร์ม (Endosperm) อยู่ภายใน เมล็ด
(Seed)
•ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด
•เยื่อหุ้มออวุล (Integument)จะเจริญไปเป็นเปลือกหุ้มเมล็ด (Seed coat)
•แอนติโพดัล (Antipodal) และซินเนอร์จิด (Synergid) จะสลายไป
•กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ ยอดเกสรตัวเมียและก้ำนชูเกสรตัวเมีย จะ
เหี่ยวแห้งร่วงไป แต่ในดอกของพืชบางชนิดยังคงมีกลีบเลี้ยง และเกสรตัวผู้ติด
อยู่
ฐำนควำมช่วยเหลือ ควำมคิดรวบยอด
เรื่อง ประเภทของดอกและกำรถ่ำยละอองเรณู
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิดรวบยอด
พืชดอก
โครงสร้าง
ดอก
การ
สืบพันธุ์
ประเภท
ของดอก
การพัฒนา
ของผล
กลีบเลี้ยง, กลีบดอก
เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย
เป็นอวัยวะในการสืบพันธุ์
ของพืชดอก
กำรถ่ำยละอองเรณู คือ การ
ที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอด
เกสรตัวเมีย กำรปฏิสน ธิ
คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียส
เข้าไปผสมกับเซลล์ไข่
ดอกสมบูรณ์
ดอกไม่สมบูรณ์
ดอกสมบูรณ์เพศ
ดอกไม่สมบูรณ์เพศ
ไข่ จะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอ
รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล
ผนังรังไข่ จะเจริญไปเป็น
เปลือก&ผล
ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกลยุทธ์
เรื่อง ประเภทของดอกและกำรถ่ำยละอองเรณู
1. ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่า คำสำคัญของปัญหำ คืออะไร
กลยุทธ์ในกำรแก้ไขปัญหำ
2. ให้นักเรียนพิจารณาว่าคาสาคัญ ของปัญหาแล้วนาไป
เชื่อมโยงกับคาสาคัญในแหล่งข้อมูลที่จะใช้แก้ไขปัญหา
3. จากสถานการณ์ปัญหาลองพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้น
นั้นต้องการให้นักเรียนอธิบายประเภทของดอกและการถ่าย
ละอองเรณู พร้อมทั้งพิจารณาเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่
เหมาะสม
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
เรื่อง ประเภทของดอกและกำรถ่ำยละอองเรณู
1. นักเรียนสามารถเข้าไปศึกษาแหล่งข้อมูล เป็นแหล่งรวบรวม
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับหิน
2. ฐานความช่วยเหลือ ให้นักเรียนได้แนวทางในการค้นหา
คาตอบได้ ซึ่งประกอบด้วย 4 ฐานด้วยกัน คือ
- ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด ช่วยให้
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับประเภทของดอกและการ
ถ่ายละอองเรณูของพืชได้อย่างเหมาะสม
- ฐานความช่วยเหลือด้านการคิด ช่วยในการตรวจสอบ
วิธีการคิดขิงนักเรียนเกี่ยวกับประเภทของดอกและการ
ถ่ายละอองเรณูของพืช
- ฐานความช่วยเหลือด้านกระบวนการ ช่วยแนะนา
นักเรียนเกี่ยวกับการใช้เมนูต่างๆ ที่มีอยู่ในชุดการสร้าง
ความรู้ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา
- ฐานความช่วยเหลือด้านกลยุทธ์ เป็นยุทธวิธีที่ใช้
แก้ปัญหาหรือวิธีการที่จะทาให้ปฏิบัติภารกิจสาเร็จ
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
3. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ
หรืออาจารย์ผู้สอนโดยตรง หรือค้นหาคาตอบจาก
แหล่งเรียนรู้อื่นๆ
4. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ
หรืออาจารย์ผู้สอน
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
1. นักเรียนลองวิเครำะห์ว่ำ ภำรกิจหลักคือ
อะไร และนักเรียนต้องมีควำมรู้เรื่องใด
เพื่อที่จะนำมำใช้ในกำรแก้ไขภำรกิจนั้นๆ
2. จำกภำรกิจหลักนักเรียนมีควำมรู้เพียง
พอที่จะนำไปแก้ไขได้หรือไม่ ถ้ำไม่เพียงพอ
ต้องศึกษำเพิ่มเติมจำกแหล่งข้อมูล บุคคล
ต่ำงๆ ที่สำมำรถให้ควำมรู้เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ
ได้
3. นักเรียนคิดว่ำจะมีวิธีกำรหรือแนวทำง
ใดบ้ำงที่สำมำรถนำมำแก้ไขภำรกิจได้ และ
วิธีใดมีควำมเหมำะสมสำหรับปัญหำนี้มำก
ที่สุด
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด
เรื่อง ประเภทของดอกและกำรถ่ำยละอองเรณู
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด
จัดทำโดย คุณครูเชษฐำ เดชำโชติช่วง
โรงเรียนวัดธำตุกุดกว้ำง
สถำนกำรณ์ปัญหำ
เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของผล
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รับดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3
สถำนกำรณ์ปัญหำ ภำรกิจกำรเรียนรู้
น้องไข่หวานสังเกตดอกของฝรั่งว่ามีส่วนประกอบ
ของกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย
หลังจากที่ดอกของฝรั่งบานแล้ว น้องไข่หวานพบว่า
ส่วนประกอบที่กล่าวมาหลุดร่วงหมดเหลือเฉพาะฐานรองดอก
ที่เชื่อต่อกับเกสรเพศเมีย น้องไข่หวนสงสัยว่าเมื่อดอกมีการ
พัฒนาไปเป็นผลแล้วส่วนใดมีการพัฒนาภายในผลผรั่งบ้าง
1. ให้นักเรียนอธิบายส่วนประกอบดอกฝรั่ง พร้อมทั้งบอก
หน้าที่
2. ให้นักเรียนศึกษาโครงสร้างภายในรังไข่หลังจากมีการ
ปฏิสนธิแล้ว พร้องทั้งเขียนคาอธิบาย
3. ให้นักเรียนอธิบายส่วนประกอบภายในผลฝรั่ง และ
เปรียบเทียบกับพืชชนิดอื่นๆ
กำรสืบพันธุ์ของพืชดอก
กำรสืบพันธุ์ (Reproduction)
เป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตสร้างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันเพื่อ
ดารงเผ่าพันธุ์ไว้ ซึ่งการสืบพันธุ์เป็นสมบัติที่สาคัญประการหนึ่งของพืช
โดยทั่วไปจะแบ่งการสืบพันธุ์ของพืชออกเป็นสองประเภท คือ การ
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
กำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ (Sexual reproduction)
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชเป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจาก
การผสมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ เพศผู้ คือ สเปิร์ม (Sperm) กับเซลล์
สืบพันธุ์เพศเมีย คือ ไข่ (Egg) ได้เป็น เอ็มบริโอ (Embryo) ซึ่งจะ
เจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ที่ได้ลักษณะทางพันธุกรรมจากต้นพ่อและต้น
แม่ ซึ่งโครงสร้างของพืชส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของ
พืชดอก คือ ดอก (Flower) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ (Reproductive
organ)
ขุมทรัพย์ทำงปัญญำ
เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของผล
ประเภทของดอกพืชโครงสร้ำงของดอกพืช
ดอก (Flower) เป็นอวัยวะของพืชที่ทาหน้าที่ในการสืบพันธุ์ มี
ส่วนประกอบ
1. กลีบเลี้ยง ทาหน้าที่ห่อหุ้มป้องกันอันตรายให้กับส่วนประกอบ
ต่างๆ
2. กลีบดอก ทาหน้าที่ ล่อแมลงให้มาผสมเกสร
3. เกสรตัวผู้ ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ประกอบด้วย อับ
เรณู และก้านชูอับเรณู
4. เกสรตัวเมีย ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่
ประกอบด้วย ยอดเกสรตัวเมีย ก้านชูเกสรตัวเมีย และรังไข่
ประเภทของดอก สามารถแบ่งโดยใช้เกณฑ์ 2 แบบ ดังนี้
1.แบ่งโดยใช้องค์ประกอบของดอกเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น
ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) หรือดอกครบส่วน คือ
ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกครบทั้ง 4 ส่วนในดอกเดียวกัน
เช่น ชบา พู่ระหง กุหลาบ มะเขือ
ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower) หรือดอกไม่ครบส่วน
คือ ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกไม่ครบทั้ง 4 ส่วน เช่น ดอก
หน้าวัว (ขาดกลีบเลี้ยงและกลีบดอก) ดอกบานเย็น (ขาดกลีบ
ดอก)
กำรถ่ำยละอองเรณูของพืช
ดอก
ประเภทของดอกพืช
แบ่งโดยใช้เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น
ดอกสมบูรณ์เพศ (Perfect flower) คือ ดอกที่มีทั้งเกสรตัวผู้
และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน เช่น กุหลาบ ชบา บัว ถั่ว มะเขือ
พริก เฟื่องฟ้า อัญชัญ แตง ผักบุ้ง แพงพวย ข้าว หญ้า จาปา มะลิ ฯลฯ
ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (Imperfect flower) คือ ดอกทีมีเฉพาะ
เกสรตัวผู้หรือเกสรตัวเมียเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ข้าวโพด ตาลึง
มะละกอ มะพร้าว หน้าวัว เงาะ ขนุน บวบ แตงกวา ตาล ฯลฯ
กำรถ่ำยละอองเรณู (Pollination) คือ การที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสร
ตัวเมีย เกิดได้ 2 แบบ คือ
1.กำรถ่ำยละอองเรณูภำยในดอกเดียวกัน (Self-pollination) เป็นการ
ผสมตัวเองอาจจะเกิดจากการผสมภายในดอกเดียวกันหรือคนละดอกแต่ต้น
เดียวกันก็ได้ หรืออาจต่างต้นกันแต่เป็นพันธุ์บริสุทธิ์ซึ่งมีจีนเหมือนกันเช่น ข้าว
ซึ่งเป็นพันธุ์เดียวกันและปลูกอยู่ด้วยกัน
2. กำรถ่ำยละอองเรณูต่ำงดอกหรือข้ำมดอกกัน (Cross-pollination)
เป็นการถ่ายละอองเรณูของพืชชนิดเดียวกันแต่ต่างต้นกันและมีคุณสมบัติทาง
พันธุกรรมต่างกันคือ มีจีนไม่เหมือนกัน
กำรปฏิสนธิ กำรพัฒนำของผล
กำรปฏิสนธิ (Fertilization) คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียสเข้าไป
ผสมกับเซลล์ไข่ ซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัว
เมีย เมื่อละอองเรณูตกลงสู่ยอดเกสรตัวเมีย ละอองเรณูจะงอกท่อยาว
เรียกว่า พอลเลนทิวบ์ (pollen tube) ลงสู่คอเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียส
จะเคลื่อนตัวไปตามท่อในขณะที่เจเนเรทีฟนิวเคลียส จะแบ่งนิวเคลียสแบบ
ไมโทซีสได้สเปิร์มนิวเคลียส (sperm nucleus) 2 ตัว เข้าผสมกันนิวเคลียส
ของไข่ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญเป็นเอมบริโอต่อไป ส่วนอีกนิวเคลียสจะ
เจริญเป็นเอนโดสเปิร์มซึ่งเป็นอาหารส าหรับเลี้ยงเอมบริโอ การผสมซึ่งเกิด
จากการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (double fertilization) ซึ่ง
พบเฉพาะในพืชดอกเท่านั้น
กำรเปลี่ยนแปลงหลังกำรปฏิสนธิของพืชดอก
•ไข่ จะเจริญไปเป็นเอมบริโออยู่ภายในเมล็ด
•รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล (Fruit)
•ผนังรังไข่ (Ovary wall) จะเจริญไปเป็นเปลือกและเนื้อของผล (Pericarp)
•โพลำร์นิวคลีไอ จะเจริญไปเป็นเอนโดสเปิร์ม (Endosperm) อยู่ภายใน เมล็ด
(Seed)
•ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด
•เยื่อหุ้มออวุล (Integument)จะเจริญไปเป็นเปลือกหุ้มเมล็ด (Seed coat)
•แอนติโพดัล (Antipodal) และซินเนอร์จิด (Synergid) จะสลายไป
•กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ ยอดเกสรตัวเมียและก้ำนชูเกสรตัวเมีย จะ
เหี่ยวแห้งร่วงไป แต่ในดอกของพืชบางชนิดยังคงมีกลีบเลี้ยง และเกสรตัวผู้ติด
อยู่
ฐำนควำมช่วยเหลือ ควำมคิดรวบยอด
เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของ
ผล
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิดรวบยอด
พืชดอก
โครงสร้าง
ดอก
การ
สืบพันธุ์
ประเภท
ของดอก
การพัฒนา
ของผล
กลีบเลี้ยง, กลีบดอก
เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย
เป็นอวัยวะในการสืบพันธุ์
ของพืชดอก
กำรถ่ำยละอองเรณู คือ การ
ที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอด
เกสรตัวเมีย กำรปฏิสน ธิ
คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียส
เข้าไปผสมกับเซลล์ไข่
ดอกสมบูรณ์
ดอกไม่สมบูรณ์
ดอกสมบูรณ์เพศ
ดอกไม่สมบูรณ์เพศ
ไข่ จะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอ
รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล
ผนังรังไข่ จะเจริญไปเป็น
เปลือก&ผล
ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกลยุทธ์
เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของผล
1. ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่า คำสำคัญของปัญหำ คืออะไร
กลยุทธ์ในกำรแก้ไขปัญหำ
2. ให้นักเรียนพิจารณาว่าคาสาคัญ ของปัญหาแล้วนาไป
เชื่อมโยงกับคาสาคัญในแหล่งข้อมูลที่จะใช้แก้ไขปัญหา
3. จากสถานการณ์ปัญหาลองพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้น
นั้นต้องการให้นักเรียนอธิบายส่วนประกอบของดอกและการ
พัฒนาของผล พร้อมทั้งพิจารณาเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่
เหมาะสม
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของผล
1. นักเรียนสามารถเข้าไปศึกษาแหล่งข้อมูล เป็นแหล่ง
รวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับหิน
2. ฐานความช่วยเหลือ ให้นักเรียนได้แนวทางในการค้นหา
คาตอบได้ ซึ่งประกอบด้วย 4 ฐานด้วยกัน คือ
- ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด ช่วยให้
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับส่วนประกอบของดอกและ
การพัฒนาของผลได้อย่างเหมาะสม
- ฐานความช่วยเหลือด้านการคิด ช่วยในการตรวจสอบ
วิธีการคิดขิงนักเรียนเกี่ยวกับส่วนประกอบของดอก
และการพัฒนาของผล
- ฐานความช่วยเหลือด้านกระบวนการ ช่วยแนะนา
นักเรียนเกี่ยวกับการใช้เมนูต่างๆ ที่มีอยู่ในชุดการสร้าง
ความรู้ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา
- ฐานความช่วยเหลือด้านกลยุทธ์ เป็นยุทธวิธีที่ใช้
แก้ปัญหาหรือวิธีการที่จะทาให้ปฏิบัติภารกิจสาเร็จ
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
3. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ
หรืออาจารย์ผู้สอนโดยตรง หรือค้นหาคาตอบจาก
แหล่งเรียนรู้อื่นๆ
4. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ
หรืออาจารย์ผู้สอน
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
1. นักเรียนลองวิเครำะห์ว่ำ ภำรกิจหลักคือ
อะไร และนักเรียนต้องมีควำมรู้เรื่องใด
เพื่อที่จะนำมำใช้ในกำรแก้ไขภำรกิจนั้นๆ
2. จำกภำรกิจหลักนักเรียนมีควำมรู้เพียง
พอที่จะนำไปแก้ไขได้หรือไม่ ถ้ำไม่เพียงพอ
ต้องศึกษำเพิ่มเติมจำกแหล่งข้อมูล บุคคล
ต่ำงๆ ที่สำมำรถให้ควำมรู้เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ
ได้
3. นักเรียนคิดว่ำจะมีวิธีกำรหรือแนวทำง
ใดบ้ำงที่สำมำรถนำมำแก้ไขภำรกิจได้ และ
วิธีใดมีควำมเหมำะสมสำหรับปัญหำนี้มำก
ที่สุด
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด
เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของผล
ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1guychaipk
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 

Similar to สมุดเล่มเล็ก

ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่plernpit19
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตWichai Likitponrak
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกNokko Bio
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้sawaddee
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้sawaddee
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้Anana Anana
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกKrupoonsawat
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook BioTitiratHu
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5Peerada Ch
 

Similar to สมุดเล่มเล็ก (20)

ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook Bio
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
wan
wanwan
wan
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
Test Upload
Test UploadTest Upload
Test Upload
 

สมุดเล่มเล็ก

  • 1. จัดทำโดย คุณครูเชษฐำ เดชำโชติช่วง โรงเรียนวัดธำตุกุดกว้ำง สถำนกำรณ์ปัญหำ เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ รับดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3
  • 2. สถำนกำรณ์ปัญหำ ภำรกิจกำรเรียนรู้ เกษตรกรนิยมปลูกฟักทองเพื่อบริโภคในครัวเรือน เพราะปลูกง่าย สามารถนามาประกอบอาหารได้ทั้งคาวและ หวาน ในการปลูกพบว่าเมื่อฟักทองออกดอกแล้วมีบางดอกที่ แห้งเหี่ยวไป และบางดอกที่กลีบดอกหลุดไปแต่เหลือจุกที่ฐาน ดอกที่เจริญไปเป็นผล นักเรียนทราบหรือไม่ว่ามีส่วนใดของดอก ฟักทองที่แห้งไป และส่วนใดของดอกถึงสามารถเจริญเติบโตไป เป็นผลได้ - ให้นักเรียนศึกษาโครงสร้างและส่วนประกอบของพืชดอก - ให้นักเรียนศึกษาการสืบพันธุ์และการพัฒนาของผลในพืช ดอก - ให้นักเรียนเปรียบเทียบโครงสร้างดอก การสืบพันธุ์และการ พัฒนาของผลฟักทองกับพืชดอกชนิดอื่นๆว่ามีความ แตกต่างกันอย่างไรบ้าง
  • 3. ขุมทรัพย์ทำงปัญญำ เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก กำรสืบพันธุ์ของพืชดอก กำรสืบพันธุ์ (Reproduction) เป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตสร้างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันเพื่อ ดารงเผ่าพันธุ์ไว้ ซึ่งการสืบพันธุ์เป็นสมบัติที่สาคัญประการหนึ่งของพืช โดยทั่วไปจะแบ่งการสืบพันธุ์ของพืชออกเป็นสองประเภท คือ การ สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ กำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ (Sexual reproduction) การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชเป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจาก การผสมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ เพศผู้ คือ สเปิร์ม (Sperm) กับเซลล์ สืบพันธุ์เพศเมีย คือ ไข่ (Egg) ได้เป็น เอ็มบริโอ (Embryo) ซึ่งจะ เจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ที่ได้ลักษณะทางพันธุกรรมจากต้นพ่อและต้น แม่ ซึ่งโครงสร้างของพืชส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของ พืชดอก คือ ดอก (Flower) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ (Reproductive organ)
  • 4. ประเภทของดอกพืชโครงสร้ำงของดอกพืช ดอก (Flower) เป็นอวัยวะของพืชที่ทาหน้าที่ในการสืบพันธุ์ มี ส่วนประกอบ 1. กลีบเลี้ยง ทาหน้าที่ห่อหุ้มป้องกันอันตรายให้กับส่วนประกอบ ต่างๆ 2. กลีบดอก ทาหน้าที่ ล่อแมลงให้มาผสมเกสร 3. เกสรตัวผู้ ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ประกอบด้วย อับ เรณู และก้านชูอับเรณู 4. เกสรตัวเมีย ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่ ประกอบด้วย ยอดเกสรตัวเมีย ก้านชูเกสรตัวเมีย และรังไข่ ประเภทของดอก สามารถแบ่งโดยใช้เกณฑ์ 2 แบบ ดังนี้ 1.แบ่งโดยใช้องค์ประกอบของดอกเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) หรือดอกครบส่วน คือ ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกครบทั้ง 4 ส่วนในดอกเดียวกัน เช่น ชบา พู่ระหง กุหลาบ มะเขือ ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower) หรือดอกไม่ครบส่วน คือ ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกไม่ครบทั้ง 4 ส่วน เช่น ดอก หน้าวัว (ขาดกลีบเลี้ยงและกลีบดอก) ดอกบานเย็น (ขาดกลีบ ดอก)
  • 5. กำรถ่ำยละอองเรณูของพืช ดอก ประเภทของดอกพืช แบ่งโดยใช้เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น ดอกสมบูรณ์เพศ (Perfect flower) คือ ดอกที่มีทั้งเกสรตัวผู้ และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน เช่น กุหลาบ ชบา บัว ถั่ว มะเขือ พริก เฟื่องฟ้า อัญชัญ แตง ผักบุ้ง แพงพวย ข้าว หญ้า จาปา มะลิ ฯลฯ ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (Imperfect flower) คือ ดอกทีมีเฉพาะ เกสรตัวผู้หรือเกสรตัวเมียเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ข้าวโพด ตาลึง มะละกอ มะพร้าว หน้าวัว เงาะ ขนุน บวบ แตงกวา ตาล ฯลฯ กำรถ่ำยละอองเรณู (Pollination) คือ การที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสร ตัวเมีย เกิดได้ 2 แบบ คือ 1.กำรถ่ำยละอองเรณูภำยในดอกเดียวกัน (Self-pollination) เป็นการ ผสมตัวเองอาจจะเกิดจากการผสมภายในดอกเดียวกันหรือคนละดอกแต่ต้น เดียวกันก็ได้ หรืออาจต่างต้นกันแต่เป็นพันธุ์บริสุทธิ์ซึ่งมีจีนเหมือนกันเช่น ข้าว ซึ่งเป็นพันธุ์เดียวกันและปลูกอยู่ด้วยกัน 2. กำรถ่ำยละอองเรณูต่ำงดอกหรือข้ำมดอกกัน (Cross-pollination) เป็นการถ่ายละอองเรณูของพืชชนิดเดียวกันแต่ต่างต้นกันและมีคุณสมบัติทาง พันธุกรรมต่างกันคือ มีจีนไม่เหมือนกัน
  • 6. กำรปฏิสนธิ กำรพัฒนำของผล กำรปฏิสนธิ (Fertilization) คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียสเข้าไป ผสมกับเซลล์ไข่ ซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัว เมีย เมื่อละอองเรณูตกลงสู่ยอดเกสรตัวเมีย ละอองเรณูจะงอกท่อยาว เรียกว่า พอลเลนทิวบ์ (pollen tube) ลงสู่คอเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียส จะเคลื่อนตัวไปตามท่อในขณะที่เจเนเรทีฟนิวเคลียส จะแบ่งนิวเคลียสแบบ ไมโทซีสได้สเปิร์มนิวเคลียส (sperm nucleus) 2 ตัว เข้าผสมกันนิวเคลียส ของไข่ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญเป็นเอมบริโอต่อไป ส่วนอีกนิวเคลียสจะ เจริญเป็นเอนโดสเปิร์มซึ่งเป็นอาหารส าหรับเลี้ยงเอมบริโอ การผสมซึ่งเกิด จากการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (double fertilization) ซึ่ง พบเฉพาะในพืชดอกเท่านั้น กำรเปลี่ยนแปลงหลังกำรปฏิสนธิของพืชดอก •ไข่ จะเจริญไปเป็นเอมบริโออยู่ภายในเมล็ด •รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล (Fruit) •ผนังรังไข่ (Ovary wall) จะเจริญไปเป็นเปลือกและเนื้อของผล (Pericarp) •โพลำร์นิวคลีไอ จะเจริญไปเป็นเอนโดสเปิร์ม (Endosperm) อยู่ภายใน เมล็ด (Seed) •ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด •เยื่อหุ้มออวุล (Integument)จะเจริญไปเป็นเปลือกหุ้มเมล็ด (Seed coat) •แอนติโพดัล (Antipodal) และซินเนอร์จิด (Synergid) จะสลายไป •กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ ยอดเกสรตัวเมียและก้ำนชูเกสรตัวเมีย จะ เหี่ยวแห้งร่วงไป แต่ในดอกของพืชบางชนิดยังคงมีกลีบเลี้ยง และเกสรตัวผู้ติด อยู่
  • 7. ฐำนควำมช่วยเหลือ ควำมคิดรวบยอด เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิดรวบยอด พืชดอก โครงสร้าง ดอก การ สืบพันธุ์ ประเภท ของดอก การพัฒนา ของผล กลีบเลี้ยง, กลีบดอก เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย เป็นอวัยวะในการสืบพันธุ์ ของพืชดอก กำรถ่ำยละอองเรณู คือ การ ที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอด เกสรตัวเมีย กำรปฏิสน ธิ คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียส เข้าไปผสมกับเซลล์ไข่ ดอกสมบูรณ์ ดอกไม่สมบูรณ์ ดอกสมบูรณ์เพศ ดอกไม่สมบูรณ์เพศ ไข่ จะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอ รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล ผนังรังไข่ จะเจริญไปเป็น เปลือก&ผล ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด
  • 8. ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกลยุทธ์ เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก 1. ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่า คำสำคัญของปัญหำ คืออะไร กลยุทธ์ในกำรแก้ไขปัญหำ 2. ให้นักเรียนพิจารณาว่าคาสาคัญ ของปัญหาแล้วนาไป เชื่อมโยงกับคาสาคัญในแหล่งข้อมูลที่จะใช้แก้ไขปัญหา 3. จากสถานการณ์ปัญหาลองพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้น นั้นต้องการให้นักเรียนอธิบายโครงสร้างและการสืบพันธุ์ของพืช ดอก พร้อมทั้งพิจารณาเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม
  • 9. ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก 1. นักเรียนสามารถเข้าไปศึกษาแหล่งข้อมูล เป็นแหล่งรวบรวม เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับหิน 2. ฐานความช่วยเหลือ ให้นักเรียนได้แนวทางในการค้นหา คาตอบได้ ซึ่งประกอบด้วย 4 ฐานด้วยกัน คือ - ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด ช่วยให้ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับโครงสร้างเละการสืบพันธุ์ ของพืชได้อย่างเหมาะสม - ฐานความช่วยเหลือด้านการคิด ช่วยในการตรวจสอบ วิธีการคิดขิงนักเรียนเกี่ยวกับโครงสร้างเละการสืบพันธุ์ ของพืช - ฐานความช่วยเหลือด้านกระบวนการ ช่วยแนะนา นักเรียนเกี่ยวกับการใช้เมนูต่างๆ ที่มีอยู่ในชุดการสร้าง ความรู้ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา - ฐานความช่วยเหลือด้านกลยุทธ์ เป็นยุทธวิธีที่ใช้ แก้ปัญหาหรือวิธีการที่จะทาให้ปฏิบัติภารกิจสาเร็จ ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
  • 10. 3. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ หรืออาจารย์ผู้สอนโดยตรง หรือค้นหาคาตอบจาก แหล่งเรียนรู้อื่นๆ 4. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ หรืออาจารย์ผู้สอน ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
  • 11. 1.นักเรียนลองวิเครำะห์ว่ำ ภำรกิจหลักคือ อะไร และนักเรียนต้องมีควำมรู้เรื่องใด เพื่อที่จะนำมำใช้ในกำรแก้ไขภำรกิจนั้นๆ 2.จำกภำรกิจหลักนักเรียนมีควำมรู้เพียง พอที่จะนำไปแก้ไขได้หรือไม่ ถ้ำไม่เพียงพอ ต้องศึกษำเพิ่มเติมจำกแหล่งข้อมูล บุคคล ต่ำงๆ ที่สำมำรถให้ควำมรู้เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ ได้ 3.นักเรียนคิดว่ำจะมีวิธีกำรหรือแนวทำง ใดบ้ำงที่สำมำรถนำมำแก้ไขภำรกิจได้ และ วิธีใดมีควำมเหมำะสมสำหรับปัญหำนี้มำก ที่สุด ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด เรื่อง โครงสร้ำงและกำรสืบพันธุ์ของพืชดอก ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด
  • 12.
  • 14. สถำนกำรณ์ปัญหำ ภำรกิจกำรเรียนรู้ หนูดีปลูกถั่วฝักยาวและแตงกวาไว้หลังบ้าน โดย ปลูกไว้ในโรงเรือนที่มีหลังคามิดชิด พบว่าเมื่อถึงเวลาเก็บ เกี่ยวผลิต ถั่วฝักยาวให้ผลดี แต่แตงกวาให้ผลิตน้อยกว่าเมื่อ เปรียบเทียบกับต้นที่ปลูกไว้นอกโรงเรือน 1. ให้นักเรียนแยกประเภทของดอกของพืชทั้ง 2 ว่าเป็นพืช สมบูรณ์เพศ หรือไม่สมบูรณ์เพศ 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่าปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการถ่าย ละอองเรณูของพืชทั้ง 2 ชนิด 3. ให้นักเรียนอธิบายว่าเหตุผลใดแตงกวาจึงให้ผลผลิตน้อย กว่าเมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ปลูกไว้นอกโรงเรือน
  • 15. กำรสืบพันธุ์ของพืชดอก กำรสืบพันธุ์ (Reproduction) เป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตสร้างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันเพื่อ ดารงเผ่าพันธุ์ไว้ ซึ่งการสืบพันธุ์เป็นสมบัติที่สาคัญประการหนึ่งของพืช โดยทั่วไปจะแบ่งการสืบพันธุ์ของพืชออกเป็นสองประเภท คือ การ สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ กำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ (Sexual reproduction) การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชเป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจาก การผสมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ เพศผู้ คือ สเปิร์ม (Sperm) กับเซลล์ สืบพันธุ์เพศเมีย คือ ไข่ (Egg) ได้เป็น เอ็มบริโอ (Embryo) ซึ่งจะ เจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ที่ได้ลักษณะทางพันธุกรรมจากต้นพ่อและต้น แม่ ซึ่งโครงสร้างของพืชส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของ พืชดอก คือ ดอก (Flower) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ (Reproductive organ) ขุมทรัพย์ทำงปัญญำ เรื่อง ประเภทของดอกและกำรถ่ำยละอองเรณู
  • 16. ประเภทของดอกพืชโครงสร้ำงของดอกพืช ดอก (Flower) เป็นอวัยวะของพืชที่ทาหน้าที่ในการสืบพันธุ์ มี ส่วนประกอบ 1. กลีบเลี้ยง ทาหน้าที่ห่อหุ้มป้องกันอันตรายให้กับส่วนประกอบ ต่างๆ 2. กลีบดอก ทาหน้าที่ ล่อแมลงให้มาผสมเกสร 3. เกสรตัวผู้ ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ประกอบด้วย อับ เรณู และก้านชูอับเรณู 4. เกสรตัวเมีย ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่ ประกอบด้วย ยอดเกสรตัวเมีย ก้านชูเกสรตัวเมีย และรังไข่ ประเภทของดอก สามารถแบ่งโดยใช้เกณฑ์ 2 แบบ ดังนี้ 1.แบ่งโดยใช้องค์ประกอบของดอกเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) หรือดอกครบส่วน คือ ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกครบทั้ง 4 ส่วนในดอกเดียวกัน เช่น ชบา พู่ระหง กุหลาบ มะเขือ ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower) หรือดอกไม่ครบส่วน คือ ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกไม่ครบทั้ง 4 ส่วน เช่น ดอก หน้าวัว (ขาดกลีบเลี้ยงและกลีบดอก) ดอกบานเย็น (ขาดกลีบ ดอก)
  • 17. กำรถ่ำยละอองเรณูของพืช ดอก ประเภทของดอกพืช แบ่งโดยใช้เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น ดอกสมบูรณ์เพศ (Perfect flower) คือ ดอกที่มีทั้งเกสรตัวผู้ และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน เช่น กุหลาบ ชบา บัว ถั่ว มะเขือ พริก เฟื่องฟ้า อัญชัญ แตง ผักบุ้ง แพงพวย ข้าว หญ้า จาปา มะลิ ฯลฯ ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (Imperfect flower) คือ ดอกทีมีเฉพาะ เกสรตัวผู้หรือเกสรตัวเมียเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ข้าวโพด ตาลึง มะละกอ มะพร้าว หน้าวัว เงาะ ขนุน บวบ แตงกวา ตาล ฯลฯ กำรถ่ำยละอองเรณู (Pollination) คือ การที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสร ตัวเมีย เกิดได้ 2 แบบ คือ 1.กำรถ่ำยละอองเรณูภำยในดอกเดียวกัน (Self-pollination) เป็นการ ผสมตัวเองอาจจะเกิดจากการผสมภายในดอกเดียวกันหรือคนละดอกแต่ต้น เดียวกันก็ได้ หรืออาจต่างต้นกันแต่เป็นพันธุ์บริสุทธิ์ซึ่งมีจีนเหมือนกันเช่น ข้าว ซึ่งเป็นพันธุ์เดียวกันและปลูกอยู่ด้วยกัน 2. กำรถ่ำยละอองเรณูต่ำงดอกหรือข้ำมดอกกัน (Cross-pollination) เป็นการถ่ายละอองเรณูของพืชชนิดเดียวกันแต่ต่างต้นกันและมีคุณสมบัติทาง พันธุกรรมต่างกันคือ มีจีนไม่เหมือนกัน
  • 18. กำรปฏิสนธิ กำรพัฒนำของผล กำรปฏิสนธิ (Fertilization) คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียสเข้าไป ผสมกับเซลล์ไข่ ซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัว เมีย เมื่อละอองเรณูตกลงสู่ยอดเกสรตัวเมีย ละอองเรณูจะงอกท่อยาว เรียกว่า พอลเลนทิวบ์ (pollen tube) ลงสู่คอเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียส จะเคลื่อนตัวไปตามท่อในขณะที่เจเนเรทีฟนิวเคลียส จะแบ่งนิวเคลียสแบบ ไมโทซีสได้สเปิร์มนิวเคลียส (sperm nucleus) 2 ตัว เข้าผสมกันนิวเคลียส ของไข่ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญเป็นเอมบริโอต่อไป ส่วนอีกนิวเคลียสจะ เจริญเป็นเอนโดสเปิร์มซึ่งเป็นอาหารส าหรับเลี้ยงเอมบริโอ การผสมซึ่งเกิด จากการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (double fertilization) ซึ่ง พบเฉพาะในพืชดอกเท่านั้น กำรเปลี่ยนแปลงหลังกำรปฏิสนธิของพืชดอก •ไข่ จะเจริญไปเป็นเอมบริโออยู่ภายในเมล็ด •รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล (Fruit) •ผนังรังไข่ (Ovary wall) จะเจริญไปเป็นเปลือกและเนื้อของผล (Pericarp) •โพลำร์นิวคลีไอ จะเจริญไปเป็นเอนโดสเปิร์ม (Endosperm) อยู่ภายใน เมล็ด (Seed) •ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด •เยื่อหุ้มออวุล (Integument)จะเจริญไปเป็นเปลือกหุ้มเมล็ด (Seed coat) •แอนติโพดัล (Antipodal) และซินเนอร์จิด (Synergid) จะสลายไป •กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ ยอดเกสรตัวเมียและก้ำนชูเกสรตัวเมีย จะ เหี่ยวแห้งร่วงไป แต่ในดอกของพืชบางชนิดยังคงมีกลีบเลี้ยง และเกสรตัวผู้ติด อยู่
  • 19. ฐำนควำมช่วยเหลือ ควำมคิดรวบยอด เรื่อง ประเภทของดอกและกำรถ่ำยละอองเรณู ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิดรวบยอด พืชดอก โครงสร้าง ดอก การ สืบพันธุ์ ประเภท ของดอก การพัฒนา ของผล กลีบเลี้ยง, กลีบดอก เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย เป็นอวัยวะในการสืบพันธุ์ ของพืชดอก กำรถ่ำยละอองเรณู คือ การ ที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอด เกสรตัวเมีย กำรปฏิสน ธิ คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียส เข้าไปผสมกับเซลล์ไข่ ดอกสมบูรณ์ ดอกไม่สมบูรณ์ ดอกสมบูรณ์เพศ ดอกไม่สมบูรณ์เพศ ไข่ จะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอ รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล ผนังรังไข่ จะเจริญไปเป็น เปลือก&ผล ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด
  • 20. ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกลยุทธ์ เรื่อง ประเภทของดอกและกำรถ่ำยละอองเรณู 1. ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่า คำสำคัญของปัญหำ คืออะไร กลยุทธ์ในกำรแก้ไขปัญหำ 2. ให้นักเรียนพิจารณาว่าคาสาคัญ ของปัญหาแล้วนาไป เชื่อมโยงกับคาสาคัญในแหล่งข้อมูลที่จะใช้แก้ไขปัญหา 3. จากสถานการณ์ปัญหาลองพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้น นั้นต้องการให้นักเรียนอธิบายประเภทของดอกและการถ่าย ละอองเรณู พร้อมทั้งพิจารณาเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ เหมาะสม
  • 21. ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร เรื่อง ประเภทของดอกและกำรถ่ำยละอองเรณู 1. นักเรียนสามารถเข้าไปศึกษาแหล่งข้อมูล เป็นแหล่งรวบรวม เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับหิน 2. ฐานความช่วยเหลือ ให้นักเรียนได้แนวทางในการค้นหา คาตอบได้ ซึ่งประกอบด้วย 4 ฐานด้วยกัน คือ - ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด ช่วยให้ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับประเภทของดอกและการ ถ่ายละอองเรณูของพืชได้อย่างเหมาะสม - ฐานความช่วยเหลือด้านการคิด ช่วยในการตรวจสอบ วิธีการคิดขิงนักเรียนเกี่ยวกับประเภทของดอกและการ ถ่ายละอองเรณูของพืช - ฐานความช่วยเหลือด้านกระบวนการ ช่วยแนะนา นักเรียนเกี่ยวกับการใช้เมนูต่างๆ ที่มีอยู่ในชุดการสร้าง ความรู้ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา - ฐานความช่วยเหลือด้านกลยุทธ์ เป็นยุทธวิธีที่ใช้ แก้ปัญหาหรือวิธีการที่จะทาให้ปฏิบัติภารกิจสาเร็จ ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
  • 22. 3. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ หรืออาจารย์ผู้สอนโดยตรง หรือค้นหาคาตอบจาก แหล่งเรียนรู้อื่นๆ 4. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ หรืออาจารย์ผู้สอน ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
  • 23. 1. นักเรียนลองวิเครำะห์ว่ำ ภำรกิจหลักคือ อะไร และนักเรียนต้องมีควำมรู้เรื่องใด เพื่อที่จะนำมำใช้ในกำรแก้ไขภำรกิจนั้นๆ 2. จำกภำรกิจหลักนักเรียนมีควำมรู้เพียง พอที่จะนำไปแก้ไขได้หรือไม่ ถ้ำไม่เพียงพอ ต้องศึกษำเพิ่มเติมจำกแหล่งข้อมูล บุคคล ต่ำงๆ ที่สำมำรถให้ควำมรู้เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ ได้ 3. นักเรียนคิดว่ำจะมีวิธีกำรหรือแนวทำง ใดบ้ำงที่สำมำรถนำมำแก้ไขภำรกิจได้ และ วิธีใดมีควำมเหมำะสมสำหรับปัญหำนี้มำก ที่สุด ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด เรื่อง ประเภทของดอกและกำรถ่ำยละอองเรณู ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด
  • 24. จัดทำโดย คุณครูเชษฐำ เดชำโชติช่วง โรงเรียนวัดธำตุกุดกว้ำง สถำนกำรณ์ปัญหำ เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของผล กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ รับดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3
  • 25. สถำนกำรณ์ปัญหำ ภำรกิจกำรเรียนรู้ น้องไข่หวานสังเกตดอกของฝรั่งว่ามีส่วนประกอบ ของกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย หลังจากที่ดอกของฝรั่งบานแล้ว น้องไข่หวานพบว่า ส่วนประกอบที่กล่าวมาหลุดร่วงหมดเหลือเฉพาะฐานรองดอก ที่เชื่อต่อกับเกสรเพศเมีย น้องไข่หวนสงสัยว่าเมื่อดอกมีการ พัฒนาไปเป็นผลแล้วส่วนใดมีการพัฒนาภายในผลผรั่งบ้าง 1. ให้นักเรียนอธิบายส่วนประกอบดอกฝรั่ง พร้อมทั้งบอก หน้าที่ 2. ให้นักเรียนศึกษาโครงสร้างภายในรังไข่หลังจากมีการ ปฏิสนธิแล้ว พร้องทั้งเขียนคาอธิบาย 3. ให้นักเรียนอธิบายส่วนประกอบภายในผลฝรั่ง และ เปรียบเทียบกับพืชชนิดอื่นๆ
  • 26. กำรสืบพันธุ์ของพืชดอก กำรสืบพันธุ์ (Reproduction) เป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตสร้างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันเพื่อ ดารงเผ่าพันธุ์ไว้ ซึ่งการสืบพันธุ์เป็นสมบัติที่สาคัญประการหนึ่งของพืช โดยทั่วไปจะแบ่งการสืบพันธุ์ของพืชออกเป็นสองประเภท คือ การ สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ กำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ (Sexual reproduction) การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชเป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจาก การผสมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ เพศผู้ คือ สเปิร์ม (Sperm) กับเซลล์ สืบพันธุ์เพศเมีย คือ ไข่ (Egg) ได้เป็น เอ็มบริโอ (Embryo) ซึ่งจะ เจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ที่ได้ลักษณะทางพันธุกรรมจากต้นพ่อและต้น แม่ ซึ่งโครงสร้างของพืชส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของ พืชดอก คือ ดอก (Flower) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ (Reproductive organ) ขุมทรัพย์ทำงปัญญำ เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของผล
  • 27. ประเภทของดอกพืชโครงสร้ำงของดอกพืช ดอก (Flower) เป็นอวัยวะของพืชที่ทาหน้าที่ในการสืบพันธุ์ มี ส่วนประกอบ 1. กลีบเลี้ยง ทาหน้าที่ห่อหุ้มป้องกันอันตรายให้กับส่วนประกอบ ต่างๆ 2. กลีบดอก ทาหน้าที่ ล่อแมลงให้มาผสมเกสร 3. เกสรตัวผู้ ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ประกอบด้วย อับ เรณู และก้านชูอับเรณู 4. เกสรตัวเมีย ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่ ประกอบด้วย ยอดเกสรตัวเมีย ก้านชูเกสรตัวเมีย และรังไข่ ประเภทของดอก สามารถแบ่งโดยใช้เกณฑ์ 2 แบบ ดังนี้ 1.แบ่งโดยใช้องค์ประกอบของดอกเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) หรือดอกครบส่วน คือ ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกครบทั้ง 4 ส่วนในดอกเดียวกัน เช่น ชบา พู่ระหง กุหลาบ มะเขือ ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower) หรือดอกไม่ครบส่วน คือ ดอกที่มีส่วนประกอบของดอกไม่ครบทั้ง 4 ส่วน เช่น ดอก หน้าวัว (ขาดกลีบเลี้ยงและกลีบดอก) ดอกบานเย็น (ขาดกลีบ ดอก)
  • 28. กำรถ่ำยละอองเรณูของพืช ดอก ประเภทของดอกพืช แบ่งโดยใช้เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น ดอกสมบูรณ์เพศ (Perfect flower) คือ ดอกที่มีทั้งเกสรตัวผู้ และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน เช่น กุหลาบ ชบา บัว ถั่ว มะเขือ พริก เฟื่องฟ้า อัญชัญ แตง ผักบุ้ง แพงพวย ข้าว หญ้า จาปา มะลิ ฯลฯ ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (Imperfect flower) คือ ดอกทีมีเฉพาะ เกสรตัวผู้หรือเกสรตัวเมียเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ข้าวโพด ตาลึง มะละกอ มะพร้าว หน้าวัว เงาะ ขนุน บวบ แตงกวา ตาล ฯลฯ กำรถ่ำยละอองเรณู (Pollination) คือ การที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสร ตัวเมีย เกิดได้ 2 แบบ คือ 1.กำรถ่ำยละอองเรณูภำยในดอกเดียวกัน (Self-pollination) เป็นการ ผสมตัวเองอาจจะเกิดจากการผสมภายในดอกเดียวกันหรือคนละดอกแต่ต้น เดียวกันก็ได้ หรืออาจต่างต้นกันแต่เป็นพันธุ์บริสุทธิ์ซึ่งมีจีนเหมือนกันเช่น ข้าว ซึ่งเป็นพันธุ์เดียวกันและปลูกอยู่ด้วยกัน 2. กำรถ่ำยละอองเรณูต่ำงดอกหรือข้ำมดอกกัน (Cross-pollination) เป็นการถ่ายละอองเรณูของพืชชนิดเดียวกันแต่ต่างต้นกันและมีคุณสมบัติทาง พันธุกรรมต่างกันคือ มีจีนไม่เหมือนกัน
  • 29. กำรปฏิสนธิ กำรพัฒนำของผล กำรปฏิสนธิ (Fertilization) คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียสเข้าไป ผสมกับเซลล์ไข่ ซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัว เมีย เมื่อละอองเรณูตกลงสู่ยอดเกสรตัวเมีย ละอองเรณูจะงอกท่อยาว เรียกว่า พอลเลนทิวบ์ (pollen tube) ลงสู่คอเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียส จะเคลื่อนตัวไปตามท่อในขณะที่เจเนเรทีฟนิวเคลียส จะแบ่งนิวเคลียสแบบ ไมโทซีสได้สเปิร์มนิวเคลียส (sperm nucleus) 2 ตัว เข้าผสมกันนิวเคลียส ของไข่ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญเป็นเอมบริโอต่อไป ส่วนอีกนิวเคลียสจะ เจริญเป็นเอนโดสเปิร์มซึ่งเป็นอาหารส าหรับเลี้ยงเอมบริโอ การผสมซึ่งเกิด จากการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (double fertilization) ซึ่ง พบเฉพาะในพืชดอกเท่านั้น กำรเปลี่ยนแปลงหลังกำรปฏิสนธิของพืชดอก •ไข่ จะเจริญไปเป็นเอมบริโออยู่ภายในเมล็ด •รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล (Fruit) •ผนังรังไข่ (Ovary wall) จะเจริญไปเป็นเปลือกและเนื้อของผล (Pericarp) •โพลำร์นิวคลีไอ จะเจริญไปเป็นเอนโดสเปิร์ม (Endosperm) อยู่ภายใน เมล็ด (Seed) •ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด •เยื่อหุ้มออวุล (Integument)จะเจริญไปเป็นเปลือกหุ้มเมล็ด (Seed coat) •แอนติโพดัล (Antipodal) และซินเนอร์จิด (Synergid) จะสลายไป •กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ ยอดเกสรตัวเมียและก้ำนชูเกสรตัวเมีย จะ เหี่ยวแห้งร่วงไป แต่ในดอกของพืชบางชนิดยังคงมีกลีบเลี้ยง และเกสรตัวผู้ติด อยู่
  • 30. ฐำนควำมช่วยเหลือ ควำมคิดรวบยอด เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของ ผล ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิดรวบยอด พืชดอก โครงสร้าง ดอก การ สืบพันธุ์ ประเภท ของดอก การพัฒนา ของผล กลีบเลี้ยง, กลีบดอก เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย เป็นอวัยวะในการสืบพันธุ์ ของพืชดอก กำรถ่ำยละอองเรณู คือ การ ที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอด เกสรตัวเมีย กำรปฏิสน ธิ คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียส เข้าไปผสมกับเซลล์ไข่ ดอกสมบูรณ์ ดอกไม่สมบูรณ์ ดอกสมบูรณ์เพศ ดอกไม่สมบูรณ์เพศ ไข่ จะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอ รังไข่ จะเจริญไปเป็นผล ผนังรังไข่ จะเจริญไปเป็น เปลือก&ผล ออวุล จะเจริญไปเป็นเมล็ด
  • 31. ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกลยุทธ์ เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของผล 1. ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่า คำสำคัญของปัญหำ คืออะไร กลยุทธ์ในกำรแก้ไขปัญหำ 2. ให้นักเรียนพิจารณาว่าคาสาคัญ ของปัญหาแล้วนาไป เชื่อมโยงกับคาสาคัญในแหล่งข้อมูลที่จะใช้แก้ไขปัญหา 3. จากสถานการณ์ปัญหาลองพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้น นั้นต้องการให้นักเรียนอธิบายส่วนประกอบของดอกและการ พัฒนาของผล พร้อมทั้งพิจารณาเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ เหมาะสม
  • 32. ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของผล 1. นักเรียนสามารถเข้าไปศึกษาแหล่งข้อมูล เป็นแหล่ง รวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับหิน 2. ฐานความช่วยเหลือ ให้นักเรียนได้แนวทางในการค้นหา คาตอบได้ ซึ่งประกอบด้วย 4 ฐานด้วยกัน คือ - ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด ช่วยให้ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับส่วนประกอบของดอกและ การพัฒนาของผลได้อย่างเหมาะสม - ฐานความช่วยเหลือด้านการคิด ช่วยในการตรวจสอบ วิธีการคิดขิงนักเรียนเกี่ยวกับส่วนประกอบของดอก และการพัฒนาของผล - ฐานความช่วยเหลือด้านกระบวนการ ช่วยแนะนา นักเรียนเกี่ยวกับการใช้เมนูต่างๆ ที่มีอยู่ในชุดการสร้าง ความรู้ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา - ฐานความช่วยเหลือด้านกลยุทธ์ เป็นยุทธวิธีที่ใช้ แก้ปัญหาหรือวิธีการที่จะทาให้ปฏิบัติภารกิจสาเร็จ ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
  • 33. 3. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ หรืออาจารย์ผู้สอนโดยตรง หรือค้นหาคาตอบจาก แหล่งเรียนรู้อื่นๆ 4. นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาจากเพื่อน ผู้เชี่ยวชาญ หรืออาจารย์ผู้สอน ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนกระบวนกำร
  • 34. 1. นักเรียนลองวิเครำะห์ว่ำ ภำรกิจหลักคือ อะไร และนักเรียนต้องมีควำมรู้เรื่องใด เพื่อที่จะนำมำใช้ในกำรแก้ไขภำรกิจนั้นๆ 2. จำกภำรกิจหลักนักเรียนมีควำมรู้เพียง พอที่จะนำไปแก้ไขได้หรือไม่ ถ้ำไม่เพียงพอ ต้องศึกษำเพิ่มเติมจำกแหล่งข้อมูล บุคคล ต่ำงๆ ที่สำมำรถให้ควำมรู้เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ ได้ 3. นักเรียนคิดว่ำจะมีวิธีกำรหรือแนวทำง ใดบ้ำงที่สำมำรถนำมำแก้ไขภำรกิจได้ และ วิธีใดมีควำมเหมำะสมสำหรับปัญหำนี้มำก ที่สุด ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด เรื่อง ส่วนประกอบของดอกและกำรพัฒนำของผล ฐำนควำมช่วยเหลือด้ำนควำมคิด