SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
บทที่2
เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงการปลูกต้นกล้าเสริมสร้างความรู้
กลุ่มของข้าพเจ้าได้ทาโครงการนี้ก็เพื่อที่ว่าจะได้นาความรู้ที่เคยได้ผ่านมาหรือได้ร่าเรียนมาแล้วนั้น
มาส่งต่อความรู้และสอนให้กับรุ่นน้องๆให้น้องๆได้มีความรู้และความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น
เนื่องจากปัจจุบันโลกของการศึกษาเปิดกว้างและก้าวหน้าไปไวมาก
เอกสารที่เกี่ยวข้อง วิชาคณิตศาสตร์
จานวนเต็ม
จานวนนับที่รู้จักเป็นครั้งแรก คือ 1, 2, 3, 4, ... หรือเรียกว่าจานวนเต็มบวก
1 เป็นจานวนนับที่น้อยที่สุด จานวนนับอื่นๆ เกิดจากดังนี้
1 + 1 แทนด้วย 2
2 + 1 แทนด้วย 3
3 + 1 แทนด้วย 4
เส้นจานวน แสดงได้ดังนี้แบ่งแต่ละช่องให้ท่ากัน จะแบ่งกี่ช่องก็ได้ขึ้นอยู่กับจานวน
เต็มที่ต้องการในการเขียนเส้นจานวน
เขียนลูกษรทั้ง2ข้างเพื่อแสดงว่ายังมีจานวนอื่นๆที่มากกว่าหรือน้อยกว่าจานวนที่เขียนแสด
งไว้
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
สามารถใช้จุดบนเส้นจานวนแทนจานวนเต็มแต่ล่ะจานวนได้ดังนี้
1. จานวนเต็มที่อยู่ทางด้านขวามือของศูนย์บนเส้นจานวนเรียกว่าจานวนเต็มบวก
ด้านขวามือของศูนย์
0 1 2 3 4 5
2. จานวนเต็มที่อยู่ทางด้านซ้ายมือของศูนย์ เรียกว่าจานวนเต็มลบ
ด้านซ้ายมือของศูนย์
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0
3. จานวนศูนย์บนเส้นจานวนเรียกว่าจานวนศูนย์
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
การเปรียบเทียบจานวนเต็ม
เส้นจานวน แสดงได้ ดังนี้แบ่งแต่ละช่องให้เท่ากัน จะแบ่งกี่ช่องก็ได้ขึ้นอยู่กับจานวน เต็ม
ที่ต้องการในกรเขียนเส้นจานวน เขียนหัวลูกศรทั้งสองข้างเพื่อแสดงว่ายังมี จานวนอื่นๆ ที่มีมากว่า
หรือน้อยกว่าจานวนที่เขียนแสดงไว้
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
การเปรียบเทียบจานวนเต็มถ้าพิจารณาจานวนเต็มบวก
จะได้ว่า 7 มากกว่า 2
นั่นคือ 7 อยู่ทางขวามือ และ 2อยู่ทางซ้ายมือ
จะเห็นได้ว่าจานวนเต็มที่อยู่ที่อยู่ทางขวามือมากกว่า จานวนที่อยู่ทางซ้ายมือเสมอ เช่น
4มากกกว่า 2 เขียนแทนด้วย 4 > 2
3 มากกกว่า -1 เขียนแทนด้วย 3 > -1
-2มากกกว่า -5 เขียนแทนด้วย -2> -5
-5 น้อยกกว่า 3 เขียนแทนด้วย -5< 3
สรุปการเปรียบเทียบจานวนเต็มบนเส้นจานวนได้ดังนี้
มีค่าน้อย มีค่ามาก
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
เลขยกกาลัง
1. ความหมายของเลขยกกาลัง
นิยาม ถ้า a เป็นจานวนใด ๆ และ n เป็นจานวนเต็มบวก “ a ยกกาลัง n “ หรือ “ a กาลัง n “
เขียนแทนด้วย a
n
มีความหมายดังนี้ a
n
= a a a a a ….. a (a คูณกัน n ตัว)
จากนิยาม จะเรียก a
n
ว่าเลขยกกาลัง เรียก a ว่า ฐาน และเรียก n ว่า เลขชี้กาลัง
ตัวอย่าง เช่น 1) 34
= 3 3 3 3 มี 3 เป็น ฐาน และ มี 4 เป็นเลขชี้กาลัง
2) (-5)3
= -5 -5 -5 มี -5 เป็น ฐาน และ มี 3 เป็นเลขชี้กาลัง
3) 





2
1
2
= 2
1

2
1
มี 2
1
เป็น ฐาน และ มี 2 เป็นเลขชี้กาลัง
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปของเลขยกกาลัง
วิธีทา 1) 8  16 = (2 2 2)  (2 2 2 2)
= 2 2 2  2 2 2 2
= 27
2) 75  15 = (3 5 5)  (3 5)
= 3 5 5 3 5
= 32
 53
2. สมบัติของเลขยกกาลัง
ถ้า a ,b เป็นจานวนจริงใด ๆ และ m , n เป็นจานวนเต็มบวก
1) การคูณเลขยกกาลัง ถ้าเลขยกกาลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อคูณกัน
ให้นาเลขชี้กาลังของตัวคูณแต่ละตัวมาบวกกัน โดยใช้ฐานตัวเดิม นั่นคือ am
 an
= a
nm 
เช่น 23
 24
= 2 43 
=27
2) การหารเลขยกกาลัง ถ้าเลขยกกาลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อหารกัน
ให้นาเลขชี้กาลังของตัวหารไปลบเลขชี้กาลังของตัวตั้ง โดยใช้ฐานตัวเดิม นั่นคือ am
 an
=a
nm 
เช่น 37
 34
= 3 47 
= 33
3) เลขยกกาลังซ้อน ให้นาเลขชี้กาลังมาคูณกัน
นั่นคือ (am
)n
= amn
เช่น (34
)2
= 38
4) เลขยกกาลังของผลคูณ สามารถกระจายเป็นผลคูณของเลขยกกาลังแต่ละตัว
เมื่อมีฐานคงเดิม นั่นคือ (ab)n
= an
bn
เช่น (3p)7
= 37
p7
5) เลขยกกาลังของผลหาร สามารถกระจายเป็นผลหารของเลขยกกาลังแต่ละตัว
เมื่อมีฐานคงเดิม นั่นคือ 





b
a
n
= n
n
b
a
เช่น 





4
3
5
=
4 5
3 5
6) เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนลบ สามารถเขียนให้เป็นส่วนกลับของ
เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนบวกได้ นั่นคือ a n
=
an
1
เช่น x 4
=
x 4
1
7) เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นศูนย์(0) เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นศูนย์ (0)
มีค่าเท่ากับ 1 เสมอ นั่นคือ a0
= 1 เมื่อ a  0 เช่น 50
= 1
3.การบวก ลบ เลขยกกาลัง
การบวก ลบ เลขยกกาลัง จะทาได้ก็ต่อเมื่อ เลขยกกาลังนั้นมีฐานเท่ากันและมีเลขชี้กาลังเท่ากัน
โดยการนาสัมประสิทธิ์ของเลขยกกาลังนั้นมาบวกหรือลบกัน ตัวอย่าง เช่น
1) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ 2x2
+ 5x2
= (2+5) x2
= 7x2
2) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ a4
+9a4
-5a4
= ( 1+9-5) a4
= 5a4
ข้อสังเกต ถ้าเลขยกกาลังที่มีฐานเท่ากัน แต่เลขชี้กาลังต่างกัน
จะนาสัมประสิทธิ์ของเลขยกกาลังมาบวกหรือลบกันไม่ได้ จะต้องใช้วิธีแยกตัวประกอบ ตัวอย่าง
เช่น
1) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ 2x2
+5x3
- 10x4
= 2x2
+(5x)x2
-(10x2
)x2
= (2 + 5x – 10x2
)x2
2) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ 6a4
- 3a7
+7a9
= 6a4
- 3a4
a3
+7a4
a5
= (6 –3a3
+7a5
)a4
เอกสารที่เกี่ยวข้อง วิชาภาษอังกฤษ
Tense
Simple
• Present Simple เป็นแบบที่เราเรียนกันมาง่ายๆ เลย
(เติม s/es เมื่อประธานเป็นเอกพจน์)
• PastSimple ก็ง่ายอีก “Sub + V2” ไปเลย ในเมื่อ V2 มันก็คือกริยาที่ใช้สาหรับในอดีตอยู่แล้ว
• Future Simpleเอา “Sub + will + Vinf” โดยที่คาว่า will
แปลว่า "จะ" มันจะทาหน้าที่เป็นกริยาช่วยในประโยคตามด้วย Vinf ก็คือ Verb
ที่ไม่เปลี่ยนไม่เติมอะไรใดๆ ทั้งสิ้น หรือแบบที่เราจากันมาตลอดว่า Sub + will + V1 นั้นแหละ
เราก็จาว่า ถ้าจะบอกว่า จะทานู้น จะไปนี่ จะเอานั่น เราก็แค่ใช้ “will + verb”
ข้างหลังที่ไม่ต้องไปเติมไรให้มันอีก เพราะ will บอกไปหมดแล้วว่ามันเป็นอนาคต
เราเหลือแค่ต้องบอกว่าจะทาอะไร แค่นั้นพอ อย่าเยอะ!
Continuous
• Present Continuous ก็เลยจะเป็น Sub + is/am/are + Ving ดังนั้นเมื่อไหร่เจอ I'm kicks.
I'm loves. ผิดทันที!!! แต่ถ้าเจอ I'm kicked. I'm loved. อาจจะไม่ผิดนะ เป็นรูปประโยคแบบ
Passive Voice ต้องแปลความหมายเอา แต่พวก I'm said....ผิดทันที
• Past Continuous รูปประโยคแบบเดิมเปี๊ยบแต่เราผันตัวis/am/are ให้กลายเป็นอดีตไปซะ
ก็จะได้เป็น Sub + was/were + Ving
• Future Continuous พอเป็นอนาคต เราก็ต้องใช้ “will” มาบอกว่าเรา "จะทา" แล้วหลัง will
มันต้องไม่เปลี่ยน ไม่เติมอะไร เราก็เลยได้เป็น “Sub + will + be + Ving” และ “be”
ตรงกลางนั่นก็มาจาก V. to be ไง จาได้มั้ยรูปประโยคต้องเป็น V.to be + Ving ตลอด
Perfect
• Present Perfect ก็เลยเป็น "Sub + has/have + V3" ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ (He, She,I t,
คน สัตว์ ของ 1 อัน) ก็ใช้ "has" ถ้าเป็นพหูพจน์ (You, We, They, คน สัตว์ ของมากกว่า 1) ก็ใช้
"have"
• Past Perfect แบบประโยคเหมือนเดิม แต่เราต้องทา has/haveให้มันเป็น ช่อง 2 เพราะ V2 คือ V
ที่บอกอดีต แล้วช่อง 2 ของ has/have ก็คือ had เราเลยได้เป็น "Sub + had + V3"
• Future Perfect พอเป็นอนาคตก็ต้องบอกว่า "จะ..." เหมือนเดิม ได้เป็น
"Sub + will + have + V3" เพราะหลัง will บอกแล้วว่า verb มันต้องธรรมดา ไม่เติม ไม่เปลี่ยน
เลยต้องกลับมาใช้ have ธรรมดา แล้วก็ตามด้วย V3 ซะ ได้Perfect ด้วย แล้วยังเป็น Future
อีกต่างหาก
Perfect Continuous
• Present Perfect Continuous จากรูปแบบมันเราเลยได้เป็น
"Sub + has/have + been + Ving" โดย has/havebeen ก็บอกความเป็น perfect ส่วน Ving
ก็บอกความเป็น Continuous จับมาต่อกัน
• Past Perfect Continuous จับ has/haveมาทาเป็นอดีตซะ ที่เหลือไม่ต้องเปลี่ยน ก็ได้เป็น
“Sub + had + been + Ving” ซึ่ง had ก็บอกว่าเป็นอดีต แล้ว had+been ก็บอกความเป็น
perfect แล้ว Ving ก็บอกความเป็น Continuousครบ!!!
• Future Perfect Continuous เป็น future เมื่อไหร่ ใช้ will เมื่อนั้น! มี will เมื่อไหร่หลัง will
เป็น have เท่านั้น เราก็เลยได้ว่า “Sub + will + have + been + Ving” โดย wil
บอกความเป็นอนาคต have been บอกความเป็น perfect แล้ว Ving ก็บอกความเป็น Continuous
!!

More Related Content

What's hot

การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็ม
Jiraprapa Suwannajak
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
krutew Sudarat
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
กุ้ง ณัฐรดา
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
wongsrida
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอา
Darika Roopdee
 

What's hot (11)

แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็ม
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim meติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วนบทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอา
 
สมบัติอื่นๆเลขยกกำลัง
สมบัติอื่นๆเลขยกกำลังสมบัติอื่นๆเลขยกกำลัง
สมบัติอื่นๆเลขยกกำลัง
 

Viewers also liked

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินโครงงานบทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
Aid Danuwasin
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Pongtep Treeone
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
9 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
9 บทที่  4  ผลการดำเนินงาน9 บทที่  4  ผลการดำเนินงาน
9 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
Augusts Programmer
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการ
Beeiiz Gubee
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
ปยล วชย.
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
Champ Wachwittayakhang
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
Kittichai Pinlert
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินโครงงานบทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4  ผลการดำเนินงานบทที่ 4  ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
โครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpointโครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpoint
 
9 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
9 บทที่  4  ผลการดำเนินงาน9 บทที่  4  ผลการดำเนินงาน
9 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง

คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
ธิดา ก๋าคำ
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
guest89040d
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
guest89040d
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
guest89040d
 

Similar to บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง (20)

โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1
 
Real content
Real contentReal content
Real content
 
Real content
Real contentReal content
Real content
 
คำชี้แจง 1
คำชี้แจง 1คำชี้แจง 1
คำชี้แจง 1
 
Basic
BasicBasic
Basic
 

บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง

  • 1. บทที่2 เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงการปลูกต้นกล้าเสริมสร้างความรู้ กลุ่มของข้าพเจ้าได้ทาโครงการนี้ก็เพื่อที่ว่าจะได้นาความรู้ที่เคยได้ผ่านมาหรือได้ร่าเรียนมาแล้วนั้น มาส่งต่อความรู้และสอนให้กับรุ่นน้องๆให้น้องๆได้มีความรู้และความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากปัจจุบันโลกของการศึกษาเปิดกว้างและก้าวหน้าไปไวมาก เอกสารที่เกี่ยวข้อง วิชาคณิตศาสตร์ จานวนเต็ม จานวนนับที่รู้จักเป็นครั้งแรก คือ 1, 2, 3, 4, ... หรือเรียกว่าจานวนเต็มบวก 1 เป็นจานวนนับที่น้อยที่สุด จานวนนับอื่นๆ เกิดจากดังนี้ 1 + 1 แทนด้วย 2 2 + 1 แทนด้วย 3 3 + 1 แทนด้วย 4 เส้นจานวน แสดงได้ดังนี้แบ่งแต่ละช่องให้ท่ากัน จะแบ่งกี่ช่องก็ได้ขึ้นอยู่กับจานวน เต็มที่ต้องการในการเขียนเส้นจานวน เขียนลูกษรทั้ง2ข้างเพื่อแสดงว่ายังมีจานวนอื่นๆที่มากกว่าหรือน้อยกว่าจานวนที่เขียนแสด งไว้ -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 สามารถใช้จุดบนเส้นจานวนแทนจานวนเต็มแต่ล่ะจานวนได้ดังนี้ 1. จานวนเต็มที่อยู่ทางด้านขวามือของศูนย์บนเส้นจานวนเรียกว่าจานวนเต็มบวก ด้านขวามือของศูนย์ 0 1 2 3 4 5
  • 2. 2. จานวนเต็มที่อยู่ทางด้านซ้ายมือของศูนย์ เรียกว่าจานวนเต็มลบ ด้านซ้ายมือของศูนย์ -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 3. จานวนศูนย์บนเส้นจานวนเรียกว่าจานวนศูนย์ -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 การเปรียบเทียบจานวนเต็ม เส้นจานวน แสดงได้ ดังนี้แบ่งแต่ละช่องให้เท่ากัน จะแบ่งกี่ช่องก็ได้ขึ้นอยู่กับจานวน เต็ม ที่ต้องการในกรเขียนเส้นจานวน เขียนหัวลูกศรทั้งสองข้างเพื่อแสดงว่ายังมี จานวนอื่นๆ ที่มีมากว่า หรือน้อยกว่าจานวนที่เขียนแสดงไว้ -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 การเปรียบเทียบจานวนเต็มถ้าพิจารณาจานวนเต็มบวก จะได้ว่า 7 มากกว่า 2 นั่นคือ 7 อยู่ทางขวามือ และ 2อยู่ทางซ้ายมือ จะเห็นได้ว่าจานวนเต็มที่อยู่ที่อยู่ทางขวามือมากกว่า จานวนที่อยู่ทางซ้ายมือเสมอ เช่น 4มากกกว่า 2 เขียนแทนด้วย 4 > 2 3 มากกกว่า -1 เขียนแทนด้วย 3 > -1 -2มากกกว่า -5 เขียนแทนด้วย -2> -5 -5 น้อยกกว่า 3 เขียนแทนด้วย -5< 3
  • 3. สรุปการเปรียบเทียบจานวนเต็มบนเส้นจานวนได้ดังนี้ มีค่าน้อย มีค่ามาก -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 เลขยกกาลัง 1. ความหมายของเลขยกกาลัง นิยาม ถ้า a เป็นจานวนใด ๆ และ n เป็นจานวนเต็มบวก “ a ยกกาลัง n “ หรือ “ a กาลัง n “ เขียนแทนด้วย a n มีความหมายดังนี้ a n = a a a a a ….. a (a คูณกัน n ตัว) จากนิยาม จะเรียก a n ว่าเลขยกกาลัง เรียก a ว่า ฐาน และเรียก n ว่า เลขชี้กาลัง ตัวอย่าง เช่น 1) 34 = 3 3 3 3 มี 3 เป็น ฐาน และ มี 4 เป็นเลขชี้กาลัง 2) (-5)3 = -5 -5 -5 มี -5 เป็น ฐาน และ มี 3 เป็นเลขชี้กาลัง 3)       2 1 2 = 2 1  2 1 มี 2 1 เป็น ฐาน และ มี 2 เป็นเลขชี้กาลัง ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปของเลขยกกาลัง วิธีทา 1) 8  16 = (2 2 2)  (2 2 2 2) = 2 2 2  2 2 2 2 = 27 2) 75  15 = (3 5 5)  (3 5) = 3 5 5 3 5 = 32  53
  • 4. 2. สมบัติของเลขยกกาลัง ถ้า a ,b เป็นจานวนจริงใด ๆ และ m , n เป็นจานวนเต็มบวก 1) การคูณเลขยกกาลัง ถ้าเลขยกกาลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อคูณกัน ให้นาเลขชี้กาลังของตัวคูณแต่ละตัวมาบวกกัน โดยใช้ฐานตัวเดิม นั่นคือ am  an = a nm  เช่น 23  24 = 2 43  =27 2) การหารเลขยกกาลัง ถ้าเลขยกกาลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อหารกัน ให้นาเลขชี้กาลังของตัวหารไปลบเลขชี้กาลังของตัวตั้ง โดยใช้ฐานตัวเดิม นั่นคือ am  an =a nm  เช่น 37  34 = 3 47  = 33 3) เลขยกกาลังซ้อน ให้นาเลขชี้กาลังมาคูณกัน นั่นคือ (am )n = amn เช่น (34 )2 = 38 4) เลขยกกาลังของผลคูณ สามารถกระจายเป็นผลคูณของเลขยกกาลังแต่ละตัว เมื่อมีฐานคงเดิม นั่นคือ (ab)n = an bn เช่น (3p)7 = 37 p7 5) เลขยกกาลังของผลหาร สามารถกระจายเป็นผลหารของเลขยกกาลังแต่ละตัว เมื่อมีฐานคงเดิม นั่นคือ       b a n = n n b a เช่น       4 3 5 = 4 5 3 5 6) เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนลบ สามารถเขียนให้เป็นส่วนกลับของ เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนบวกได้ นั่นคือ a n = an 1 เช่น x 4 = x 4 1 7) เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นศูนย์(0) เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นศูนย์ (0) มีค่าเท่ากับ 1 เสมอ นั่นคือ a0 = 1 เมื่อ a  0 เช่น 50 = 1 3.การบวก ลบ เลขยกกาลัง การบวก ลบ เลขยกกาลัง จะทาได้ก็ต่อเมื่อ เลขยกกาลังนั้นมีฐานเท่ากันและมีเลขชี้กาลังเท่ากัน โดยการนาสัมประสิทธิ์ของเลขยกกาลังนั้นมาบวกหรือลบกัน ตัวอย่าง เช่น 1) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ 2x2 + 5x2 = (2+5) x2 = 7x2 2) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ a4 +9a4 -5a4 = ( 1+9-5) a4
  • 5. = 5a4 ข้อสังเกต ถ้าเลขยกกาลังที่มีฐานเท่ากัน แต่เลขชี้กาลังต่างกัน จะนาสัมประสิทธิ์ของเลขยกกาลังมาบวกหรือลบกันไม่ได้ จะต้องใช้วิธีแยกตัวประกอบ ตัวอย่าง เช่น 1) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ 2x2 +5x3 - 10x4 = 2x2 +(5x)x2 -(10x2 )x2 = (2 + 5x – 10x2 )x2 2) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ 6a4 - 3a7 +7a9 = 6a4 - 3a4 a3 +7a4 a5 = (6 –3a3 +7a5 )a4 เอกสารที่เกี่ยวข้อง วิชาภาษอังกฤษ Tense Simple • Present Simple เป็นแบบที่เราเรียนกันมาง่ายๆ เลย (เติม s/es เมื่อประธานเป็นเอกพจน์) • PastSimple ก็ง่ายอีก “Sub + V2” ไปเลย ในเมื่อ V2 มันก็คือกริยาที่ใช้สาหรับในอดีตอยู่แล้ว • Future Simpleเอา “Sub + will + Vinf” โดยที่คาว่า will แปลว่า "จะ" มันจะทาหน้าที่เป็นกริยาช่วยในประโยคตามด้วย Vinf ก็คือ Verb ที่ไม่เปลี่ยนไม่เติมอะไรใดๆ ทั้งสิ้น หรือแบบที่เราจากันมาตลอดว่า Sub + will + V1 นั้นแหละ เราก็จาว่า ถ้าจะบอกว่า จะทานู้น จะไปนี่ จะเอานั่น เราก็แค่ใช้ “will + verb” ข้างหลังที่ไม่ต้องไปเติมไรให้มันอีก เพราะ will บอกไปหมดแล้วว่ามันเป็นอนาคต เราเหลือแค่ต้องบอกว่าจะทาอะไร แค่นั้นพอ อย่าเยอะ! Continuous
  • 6. • Present Continuous ก็เลยจะเป็น Sub + is/am/are + Ving ดังนั้นเมื่อไหร่เจอ I'm kicks. I'm loves. ผิดทันที!!! แต่ถ้าเจอ I'm kicked. I'm loved. อาจจะไม่ผิดนะ เป็นรูปประโยคแบบ Passive Voice ต้องแปลความหมายเอา แต่พวก I'm said....ผิดทันที • Past Continuous รูปประโยคแบบเดิมเปี๊ยบแต่เราผันตัวis/am/are ให้กลายเป็นอดีตไปซะ ก็จะได้เป็น Sub + was/were + Ving • Future Continuous พอเป็นอนาคต เราก็ต้องใช้ “will” มาบอกว่าเรา "จะทา" แล้วหลัง will มันต้องไม่เปลี่ยน ไม่เติมอะไร เราก็เลยได้เป็น “Sub + will + be + Ving” และ “be” ตรงกลางนั่นก็มาจาก V. to be ไง จาได้มั้ยรูปประโยคต้องเป็น V.to be + Ving ตลอด Perfect • Present Perfect ก็เลยเป็น "Sub + has/have + V3" ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ (He, She,I t, คน สัตว์ ของ 1 อัน) ก็ใช้ "has" ถ้าเป็นพหูพจน์ (You, We, They, คน สัตว์ ของมากกว่า 1) ก็ใช้ "have" • Past Perfect แบบประโยคเหมือนเดิม แต่เราต้องทา has/haveให้มันเป็น ช่อง 2 เพราะ V2 คือ V ที่บอกอดีต แล้วช่อง 2 ของ has/have ก็คือ had เราเลยได้เป็น "Sub + had + V3" • Future Perfect พอเป็นอนาคตก็ต้องบอกว่า "จะ..." เหมือนเดิม ได้เป็น "Sub + will + have + V3" เพราะหลัง will บอกแล้วว่า verb มันต้องธรรมดา ไม่เติม ไม่เปลี่ยน เลยต้องกลับมาใช้ have ธรรมดา แล้วก็ตามด้วย V3 ซะ ได้Perfect ด้วย แล้วยังเป็น Future อีกต่างหาก Perfect Continuous • Present Perfect Continuous จากรูปแบบมันเราเลยได้เป็น "Sub + has/have + been + Ving" โดย has/havebeen ก็บอกความเป็น perfect ส่วน Ving ก็บอกความเป็น Continuous จับมาต่อกัน • Past Perfect Continuous จับ has/haveมาทาเป็นอดีตซะ ที่เหลือไม่ต้องเปลี่ยน ก็ได้เป็น
  • 7. “Sub + had + been + Ving” ซึ่ง had ก็บอกว่าเป็นอดีต แล้ว had+been ก็บอกความเป็น perfect แล้ว Ving ก็บอกความเป็น Continuousครบ!!! • Future Perfect Continuous เป็น future เมื่อไหร่ ใช้ will เมื่อนั้น! มี will เมื่อไหร่หลัง will เป็น have เท่านั้น เราก็เลยได้ว่า “Sub + will + have + been + Ving” โดย wil บอกความเป็นอนาคต have been บอกความเป็น perfect แล้ว Ving ก็บอกความเป็น Continuous !!