SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
โครงการปลูกต้นกล้าเสริมสร้างความรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
จัดทาโดย
1.นายธนวัฒน์ คาอินทร์ เลขที่1 ม.6/5
2.นายดนุวศิน สิทธิวรชาติ เลขที่3 ม.6/5
3.น.ส. กราลภา สีหวัลลภ เลขที่17 ม.6/5
4.น.ส.จุตฑามาศ เวียงสมุด เลขที่19 ม.6/5
5.น.ส.วิไลพร สาราญวงษ์ เลขที่21 ม.6/5
รายวิชา IS 30903
ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
เกี่ยวกับโครงการ
โครงการปลูกต้นกล้าเสริมสร้างความรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
ผู้จัดทาโครงการ
1.นาย ธนวัฒน์ คาอินทร์ เลขที่1 ม.6/5
2.นาย ดนุวศิน สิทธิวรชาติ เลขที่3 ม.6/5
3.น.ส. กราลภา สีหวัลลภ เลขที่17 ม.6/5
4.น.ส.จุตฑามาศ เวียงสมุด เลขที่19 ม.6/5
5.น.ส.วิไลพร สาราญวงษ์ เลขที่21 ม.6/5
ครูที่ปรึกษาโครงการ
คุณครู ศุภวรรณ แย้มมา
คุณครู วีณา นาคะพันธุ์
สถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
ปีการศึกษา2558
กิตติกรรมประกาศ
โครงการสาธารณะประโยชน์เกี่ยวกับปลูกต้นกล้าเสริมสร้างความรู้
สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่าสูงยิ่งจากอาจารย์ศุภวรรณ
แย้มมา และอาจารย์วีณานาคะพันธุ์
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการที่ได้กรุณาให้คาปรึกษาแนะนาในการดาเนินการครั้งนี้คณะ
ผู้จัดทาโครงการขอขอบคุณเป็นอย่างสูงขอขอบคุณบิดามารดา
เพื่อนนักเรียนตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ไม่ได้กล่าวนามไว้ณ
ที่นี่ที่ได้ให้กาลังใจและมีส่วนช่วยเหลือโครงการนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี
ท้ายที่สุดคณะผู้จัดทาโครงการหวังว่าโครงการนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาต่อไป
คณะผู้จัดทา
บทคัดย่อ
การทาโครงการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้น้องๆได้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรี
ยนมาขึ้น ประชากรในการศึกษานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1
ของโรงเรียนเฉลิพระเกียรติฯกาญจนบุรีจานวน30คน
เครื่องมือที่ใช้เอกสารประกอบการเรียน
เกณฑ์ระเบียบการวัดผลผลประเมินโดยการทาแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
บทที่1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันความสนใจต่อการศึกษามีความสาคัญมากขึ้นเรื่อยๆในสังคม
ทั้งนี้เป็นเพราะจากการที่
มนุษย์ของเราเติบโตขึ้นเรื่อยๆและจาเป็นต้องแสวงหาความรู้ในด้านต่างๆเพื่อนาความรู้ที่ได้นั้น
ไป ใช้ในชีวิตประจาวันและใช้ในด้านอื่นๆเช่นด้านการศึกษา ด้านการดารงชีวิต
และในสังคมของเราก็
ยังมีเด็กอีกจานวนหนึ่งในโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
ซึ่งเป็นเด็กที่กาลังศึกษาในช่วงชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่1ซึ่งในวัน
เวลาว่างๆเด็กๆเหล่านี้มักจะมารวมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างๆร่วมกัน
ซึ่งเด็กๆเหล่านี้อยู่ในวัยที่ พร้อมที่จะแสวงหาความรู้กัน
ดังนั้นแล้วเราในฐานะที่กลุ่มของข้าพเจ้ากาลังศึกษาในช่วงชั้นมัธยมศึกษาปีที่6
ก็อยากจะนาความรู้ที่กลุ่มข้าพเจ้าได้ร่าเรียนมาแล้วนั้นมาสอนเพิ่มเติมให้กับน้องๆ
ซึ่งมุ่งเน้นให้ผู้เรียนคิดเป็นทาเป็นแก้ปัญหาเป็น
จึงมีความคิดเห็นที่ตรงกันว่าควรที่จะใช้โอกาสนี้ลงไปทาความรู้จักกับน้องๆลงไปสอนหนังสือเ
พื่อให้น้องๆได้รับความรู้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องที่พี่ๆได้ถ่ายทอดให้
เพื่อก้าวเข้าสู่การเรียนรู้ในวัยที่สูงขึ้นต่อไปในอนาคต
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
เพื่อให้น้องๆมีความรู้และความเข้าใจในวิชาคณิตศาสตร์และภาษอังกฤษเพิ่มมากขึ้น
ขอบเขตโครงงาน
ระยะเวลาการดาเนินงาน10มิถุนายน-30กรกฎาคมพ.ศ.2558
งบประมาณที่ใช้ -ค่าถ่ายเอกสาร180 บาท
บทที่2
เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงการปลูกต้นกล้าเสริมสร้างความรู้
กลุ่มของข้าพเจ้าได้ทาโครงการนี้ก็เพื่อที่ว่าจะได้นาความรู้ที่เคยได้ผ่านมาหรือได้ร่าเรียนมาแล้วนั้น
มาส่งต่อความรู้และสอนให้กับรุ่นน้องๆให้น้องๆได้มีความรู้และความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น
เนื่องจากปัจจุบันโลกของการศึกษาเปิดกว้างและก้าวหน้าไปไวมาก
เอกสารที่เกี่ยวข้อง วิชาคณิตศาสตร์
จานวนเต็ม
จานวนนับที่รู้จักเป็นครั้งแรก คือ 1, 2, 3, 4, ... หรือเรียกว่าจานวนเต็มบวก
1 เป็นจานวนนับที่น้อยที่สุด จานวนนับอื่นๆ เกิดจากดังนี้
1 + 1 แทนด้วย 2
2 + 1 แทนด้วย 3
3 + 1 แทนด้วย 4
เส้นจานวน แสดงได้ดังนี้แบ่งแต่ละช่องให้ท่ากัน จะแบ่งกี่ช่องก็ได้ขึ้นอยู่กับจานวน
เต็มที่ต้องการในการเขียนเส้นจานวน
เขียนลูกษรทั้ง2ข้างเพื่อแสดงว่ายังมีจานวนอื่นๆที่มากกว่าหรือน้อยกว่าจานวนที่เขียนแสด
งไว้
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
สามารถใช้จุดบนเส้นจานวนแทนจานวนเต็มแต่ล่ะจานวนได้ดังนี้
1. จานวนเต็มที่อยู่ทางด้านขวามือของศูนย์บนเส้นจานวนเรียกว่าจานวนเต็มบวก
ด้านขวามือของศูนย์
0 1 2 3 4 5
2. จานวนเต็มที่อยู่ทางด้านซ้ายมือของศูนย์ เรียกว่าจานวนเต็มลบ
ด้านซ้ายมือของศูนย์
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0
3. จานวนศูนย์บนเส้นจานวนเรียกว่าจานวนศูนย์
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
การเปรียบเทียบจานวนเต็ม
เส้นจานวน แสดงได้ ดังนี้แบ่งแต่ละช่องให้เท่ากัน จะแบ่งกี่ช่องก็ได้ขึ้นอยู่กับจานวน เต็ม
ที่ต้องการในกรเขียนเส้นจานวน เขียนหัวลูกศรทั้งสองข้างเพื่อแสดงว่ายังมี จานวนอื่นๆ ที่มีมากว่า
หรือน้อยกว่าจานวนที่เขียนแสดงไว้
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
การเปรียบเทียบจานวนเต็มถ้าพิจารณาจานวนเต็มบวก
จะได้ว่า 7 มากกว่า 2
นั่นคือ 7 อยู่ทางขวามือ และ 2อยู่ทางซ้ายมือ
จะเห็นได้ว่าจานวนเต็มที่อยู่ที่อยู่ทางขวามือมากกว่า จานวนที่อยู่ทางซ้ายมือเสมอ เช่น
4มากกกว่า 2 เขียนแทนด้วย 4 > 2
3 มากกกว่า -1 เขียนแทนด้วย 3 > -1
-2มากกกว่า -5 เขียนแทนด้วย -2> -5
-5 น้อยกกว่า 3 เขียนแทนด้วย -5< 3
สรุปการเปรียบเทียบจานวนเต็มบนเส้นจานวนได้ดังนี้
มีค่าน้อย มีค่ามาก
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
เลขยกกาลัง
1. ความหมายของเลขยกกาลัง
นิยาม ถ้า a เป็นจานวนใด ๆ และ n เป็นจานวนเต็มบวก “ a ยกกาลัง n “ หรือ “ a กาลัง n “
เขียนแทนด้วย a
n
มีความหมายดังนี้ a
n
= a a a a a ….. a (a คูณกัน n ตัว)
จากนิยาม จะเรียก a
n
ว่าเลขยกกาลัง เรียก a ว่า ฐาน และเรียก n ว่า เลขชี้กาลัง
ตัวอย่าง เช่น 1) 34
= 3 3 3 3 มี 3 เป็น ฐาน และ มี 4 เป็นเลขชี้กาลัง
2) (-5)3
= -5 -5 -5 มี -5 เป็น ฐาน และ มี 3 เป็นเลขชี้กาลัง
3) 





2
1
2
= 2
1

2
1
มี 2
1
เป็น ฐาน และ มี 2 เป็นเลขชี้กาลัง
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปของเลขยกกาลัง
วิธีทา 1) 8  16 = (2 2 2)  (2 2 2 2)
= 2 2 2  2 2 2 2
= 27
2) 75  15 = (3 5 5)  (3 5)
= 3 5 5 3 5
= 32
 53
2. สมบัติของเลขยกกาลัง
ถ้า a ,b เป็นจานวนจริงใด ๆ และ m , n เป็นจานวนเต็มบวก
1) การคูณเลขยกกาลัง ถ้าเลขยกกาลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อคูณกัน
ให้นาเลขชี้กาลังของตัวคูณแต่ละตัวมาบวกกัน โดยใช้ฐานตัวเดิม นั่นคือ am
 an
= a
nm 
เช่น 23
 24
= 2 43 
=27
2) การหารเลขยกกาลัง ถ้าเลขยกกาลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อหารกัน
ให้นาเลขชี้กาลังของตัวหารไปลบเลขชี้กาลังของตัวตั้ง โดยใช้ฐานตัวเดิม นั่นคือ am
 an
=a
nm 
เช่น 37
 34
= 3 47 
= 33
3) เลขยกกาลังซ้อน ให้นาเลขชี้กาลังมาคูณกัน
นั่นคือ (am
)n
= amn
เช่น (34
)2
= 38
4) เลขยกกาลังของผลคูณ สามารถกระจายเป็นผลคูณของเลขยกกาลังแต่ละตัว
เมื่อมีฐานคงเดิม นั่นคือ (ab)n
= an
bn
เช่น (3p)7
= 37
p7
5) เลขยกกาลังของผลหาร สามารถกระจายเป็นผลหารของเลขยกกาลังแต่ละตัว
เมื่อมีฐานคงเดิม นั่นคือ 





b
a
n
= n
n
b
a
เช่น 





4
3
5
=
4 5
3 5
6) เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนลบ สามารถเขียนให้เป็นส่วนกลับของ
เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนบวกได้ นั่นคือ a n
=
an
1
เช่น x 4
=
x 4
1
7) เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นศูนย์(0) เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นศูนย์ (0)
มีค่าเท่ากับ 1 เสมอ นั่นคือ a0
= 1 เมื่อ a  0 เช่น 50
= 1
3.การบวก ลบ เลขยกกาลัง
การบวก ลบ เลขยกกาลัง จะทาได้ก็ต่อเมื่อ เลขยกกาลังนั้นมีฐานเท่ากันและมีเลขชี้กาลังเท่ากัน
โดยการนาสัมประสิทธิ์ของเลขยกกาลังนั้นมาบวกหรือลบกัน ตัวอย่าง เช่น
1) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ 2x2
+ 5x2
= (2+5) x2
= 7x2
2) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ a4
+9a4
-5a4
= ( 1+9-5) a4
= 5a4
ข้อสังเกต ถ้าเลขยกกาลังที่มีฐานเท่ากัน แต่เลขชี้กาลังต่างกัน
จะนาสัมประสิทธิ์ของเลขยกกาลังมาบวกหรือลบกันไม่ได้ จะต้องใช้วิธีแยกตัวประกอบ ตัวอย่าง
เช่น
1) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ 2x2
+5x3
- 10x4
= 2x2
+(5x)x2
-(10x2
)x2
= (2 + 5x – 10x2
)x2
2) จงทาให้เป็นผลสาเร็จ 6a4
- 3a7
+7a9
= 6a4
- 3a4
a3
+7a4
a5
= (6 –3a3
+7a5
)a4
เอกสารที่เกี่ยวข้อง วิชาภาษอังกฤษ
Tense
Simple
• Present Simple เป็นแบบที่เราเรียนกันมาง่ายๆ เลย
(เติม s/es เมื่อประธานเป็นเอกพจน์)
• PastSimple ก็ง่ายอีก “Sub + V2” ไปเลย ในเมื่อ V2 มันก็คือกริยาที่ใช้สาหรับในอดีตอยู่แล้ว
• Future Simpleเอา “Sub + will + Vinf” โดยที่คาว่า will
แปลว่า "จะ" มันจะทาหน้าที่เป็นกริยาช่วยในประโยคตามด้วย Vinf ก็คือ Verb
ที่ไม่เปลี่ยนไม่เติมอะไรใดๆ ทั้งสิ้น หรือแบบที่เราจากันมาตลอดว่า Sub + will + V1 นั้นแหละ
เราก็จาว่า ถ้าจะบอกว่า จะทานู้น จะไปนี่ จะเอานั่น เราก็แค่ใช้ “will + verb”
ข้างหลังที่ไม่ต้องไปเติมไรให้มันอีก เพราะ will บอกไปหมดแล้วว่ามันเป็นอนาคต
เราเหลือแค่ต้องบอกว่าจะทาอะไร แค่นั้นพอ อย่าเยอะ!
Continuous
• Present Continuous ก็เลยจะเป็น Sub + is/am/are + Ving ดังนั้นเมื่อไหร่เจอ I'm kicks.
I'm loves. ผิดทันที!!! แต่ถ้าเจอ I'm kicked. I'm loved. อาจจะไม่ผิดนะ เป็นรูปประโยคแบบ
Passive Voice ต้องแปลความหมายเอา แต่พวก I'm said....ผิดทันที
• Past Continuous รูปประโยคแบบเดิมเปี๊ยบแต่เราผันตัวis/am/are ให้กลายเป็นอดีตไปซะ
ก็จะได้เป็น Sub + was/were + Ving
• Future Continuous พอเป็นอนาคต เราก็ต้องใช้ “will” มาบอกว่าเรา "จะทา" แล้วหลัง will
มันต้องไม่เปลี่ยน ไม่เติมอะไร เราก็เลยได้เป็น “Sub + will + be + Ving” และ “be”
ตรงกลางนั่นก็มาจาก V. to be ไง จาได้มั้ยรูปประโยคต้องเป็น V.to be + Ving ตลอด
Perfect
• Present Perfect ก็เลยเป็น "Sub + has/have + V3" ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ (He, She,I t,
คน สัตว์ ของ 1 อัน) ก็ใช้ "has" ถ้าเป็นพหูพจน์ (You, We, They, คน สัตว์ ของมากกว่า 1) ก็ใช้
"have"
• Past Perfect แบบประโยคเหมือนเดิม แต่เราต้องทา has/haveให้มันเป็น ช่อง 2 เพราะ V2 คือ V
ที่บอกอดีต แล้วช่อง 2 ของ has/have ก็คือ had เราเลยได้เป็น "Sub + had + V3"
• Future Perfect พอเป็นอนาคตก็ต้องบอกว่า "จะ..." เหมือนเดิม ได้เป็น
"Sub + will + have + V3" เพราะหลัง will บอกแล้วว่า verb มันต้องธรรมดา ไม่เติม ไม่เปลี่ยน
เลยต้องกลับมาใช้ have ธรรมดา แล้วก็ตามด้วย V3 ซะ ได้Perfect ด้วย แล้วยังเป็น Future
อีกต่างหาก
Perfect Continuous
• Present Perfect Continuous จากรูปแบบมันเราเลยได้เป็น
"Sub + has/have + been + Ving" โดย has/havebeen ก็บอกความเป็น perfect ส่วน Ving
ก็บอกความเป็น Continuous จับมาต่อกัน
• Past Perfect Continuous จับ has/haveมาทาเป็นอดีตซะ ที่เหลือไม่ต้องเปลี่ยน ก็ได้เป็น
“Sub + had + been + Ving” ซึ่ง had ก็บอกว่าเป็นอดีต แล้ว had+been ก็บอกความเป็น
perfect แล้ว Ving ก็บอกความเป็น Continuousครบ!!!
• Future Perfect Continuous เป็น future เมื่อไหร่ ใช้ will เมื่อนั้น! มี will เมื่อไหร่หลัง will
เป็น have เท่านั้น เราก็เลยได้ว่า “Sub + will + have + been + Ving” โดย wil
บอกความเป็นอนาคต have been บอกความเป็น perfect แล้ว Ving ก็บอกความเป็น Continuous
!!
บทที่ 3
ขั้นตอนการดาเนินโครงงาน
3.1 ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทาโครงงาน
-หาเวลาว่างที่ตรงกับน้องค่อนข้างยาก
-การเตรียมเอกสารมีข้อมูลหายบ้างขัดข้องระหว่างปริ้นงานและจัดเรียงหน้าผิดบ้าง
ทาให้ต้องแก้งานใหม่
-ระยะในการดาเนินกิจกรรมมีเวลาจากัด
3.2การดาเนินการ
1.ประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความเข้าใจให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
2.เตรียมข้อมูลที่จะสอนให้กับน้อง
3.นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทาการสอน
4.วางแผนการดาเนินงานปฏิบัติงาน
โดยใช้ตามแผนที่เตรียมไว้ใช้ตามแผนการที่เตรียมไว้
5.ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าและผลการดาเนินโครงการ
6.สรุปผลโครงการการรายงานผลการดาเนินงานต่อผู้เกี่ยวข้อง
3.3 สิ่งที่ได้จากการทาโครงการนี้
1. ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2. ได้ฝึกการจัดทาโครงการการทางาน
การวางแผนและรูปแบบการทางานที่เป็นกลุ่มมีการปฏิบัติ จริง
3. ได้ร่วมทากิจกรรมต่างๆกับน้องๆในโรงเรียนเรียนรู้การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
4. ได้เรียนรู้ว่าการทางานเป็นกลุ่มต้องมีความเสียสละอดทนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา
5. ทุกคนมีโอกาสแสดงความสามารถที่ตนเองมีอยู่
6. มีความสนิทสนมกับเพื่อนๆในกลุ่มมากขึ้น
7.
น้องๆในโรงเรียนได้รับทั้งความรู้และความสนุกสนานเพลิดเพลินจากกิจกรรมต่างๆที่
พี่ๆถ่ายทอดให้
8. ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการทากิจกรรม
บทที่4
ผลการศึกษาและอภิปรายผล
โครงการปลูกต้นกล้าเสริมสร้างความรู้เป็นโครงการที่พวกเราได้นาความรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ในเรื่องระบบจานวนจริงและวิชาภาษอังกฤษในเรื่องTenseทั้ง12
มาสอนให้กับน้องๆในระดับชั้น ม.1/4เนื่องจากเป็นห้องคณิต-อังกฤษ
ซึ่งจากการที่ได้สอนน้องๆไปนั้นน้องๆมีความเข้าใจดีในเรื่องคณิตศาสตร์วัดผลโดยกา
รตอบคาถามและการโต้ตอบระหว่างการสอนและหลังจากที่น้องทาแบบฝึกหัด
ซึ่งน้องทุกคนทาได้และเข้าใจ ส่วนในวิชาภาษาอังกฤษ
น้องบางส่วนที่ยังไม่เข้าเนื้อหาที่เราสอนในบางส่วนก็แก้ปัญหาโดยการที่เข้าไปสอนน้
องตัวต่อตัวเพื่อที่น้องจะได้เข้าใจในจุดที่น้องไม่เข้าใจเพิ่มมากขึ้น
และการตอบรับจากน้องให้ความร่วมมือดีมาก
บทที่5
สรุปผลและเสนอแนะ
จากการทาโครงการพบว่าน้องๆมีความเข้าใจในวิชาคณิตศาสตร์และอังกฤษ
แต่ภาษาอังกฤษยังมีบางส่วนที่ยังไม่เข้าใจในเนื้อหาบางเรื่อง
การตอบรับจากน้องๆดีมากมีการโต้ตอบระหว่างการสอนยกมือถามในข้อสงสัยต่างๆ
และแบบฝึกหัดที่น้องๆได้ทานั้นส่วนใหญ่ทากันได้
และน้องก็สามารถนาความรู้ที่ได้ไปนั้นไปประยุกต์ใช้ต่อในห้องเรียนหรือสอนให้กับเ
พื่อนๆได้
ข้อเสนอแนะ
1. ควรที่จะเพิ่มเนื้อหาในการสอนให้มากขึ้น
2. มีกิจกรรมให้น้องๆได้เล่นได้ออกมาแสดงความคิดหน้าห้อง
ภาคผนวก
การทางาน
นาเสนอโครงการ
การดาเนินการสอนน้อง
บรรณานุกรม
-http://www.manager.co.th/Campus/ViewNews.aspx?NewsID=9570000121241
-ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์สูตรคณิตศาสตร์ม.1-ม.3By cokenidnoypang
-www.marujo2524.igetweb.com

More Related Content

Similar to โครงการปลูกต้นกล้าเสริมสร้างความรู้

Similar to โครงการปลูกต้นกล้าเสริมสร้างความรู้ (9)

E book math
E book mathE book math
E book math
 
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยมหนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
 
Listennig plan
Listennig planListennig plan
Listennig plan
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
 
Introduction to Text Classification with RapidMiner Studio 7
Introduction to Text Classification with RapidMiner Studio 7Introduction to Text Classification with RapidMiner Studio 7
Introduction to Text Classification with RapidMiner Studio 7
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 

โครงการปลูกต้นกล้าเสริมสร้างความรู้