SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
เนื้อเยื่อสัตว์ (Animal
Tissue)
เนื้อเยื่อ (tissue) คือกลุ่มเซลล์
ที่ร่วมกันทำำหน้ำที่เฉพำะ ซึ่ง
ส่วนมำกจะประกอบด้วยกลุ่ม
เซลล์ที่มีขนำด รูปร่ำง และ
กำรจัดระเบียบเป็นแบบ
เดียวกัน
เนื้อเยื่อเหล่ำนี้มี
ลักษณะเฉพำะออก
ไปเพื่อทำำหน้ำที่
พิเศษอย่ำงหนึ่งได้
อย่ำงมีประสิทธิภำพ
ประสำนอยู่ใน
Connective
tissue
Nervous tissue
Muscular
tissue
Epithelial tissue
เนื้อเยื่อในร่ำงกำยของสัตว์ชั้นสูง
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
เนื้อเยื่อบุผิว
(epithelial tissue or epithelium)
เป็นกลุ่มเซลล์ที่ทำำหน้ำที่ปกคลุม
ป้องกันผิวของร่ำงกำย หรือบุอวัยวะ
ที่มีลักษณะเป็นท่อ ทำำหน้ำที่เกี่ยวกับ
กำรดูดซึม สร้ำงเซครีชั่น (secretion)
และรับควำมรู้สึก
เนื้อเยื่อบุผิวมีลักษณะพิเศษ คือ
ประกอบด้วย
1. เซลล์เป็นจำำนวนมำกซึ่งส่วนมำกเป็น
เซลล์ชนิดเดียวกันเรียงตัวอยู่ชิดติด
กัน
2. ตั้งอยู่บนเยื่อรองรับฐำน (basement
membrane) ซึ่งมีส่วนประกอบเป็น
โปรตีน
3. ด้ำนบนของเนื้อเยื่อบุผิวไม่ติดต่อกับ
กำรแบ่งชนิดของเนื้อเยื่อบุผิว อำศัย
หลัก 2 ประกำร คือ
1. แบ่งตำมจำำนวนชั้นของเซลล์
simple epithelium ประกอบด้วยเซลล์
เรียงกันเป็นชั้นเดียว
pseudostratified epithelium ประกอบด้วย
เซลล์เรียงกันเป็นชั้นเดียวบนเยื่อรองรับ
ฐำน แต่มีเพียงบำงเซลล์เท่ำนั้นที่สูงถึง
ผิวหน้ำด้ำนบน
stratified epithelium เซลล์เรียงซ้อนกัน
2. แบ่งตำมรูปร่ำงของเซลล์ที่อยู่ชั้น
บนๆ ได้แก่
รูปร่ำงแบนบำง (squamous)
รูปเหลี่ยมลูกบำศก์ (cuboid)
รูปแท่งทรงกระบอก (columnar)
Pseudostratified
ciliated columnar
Simple cuboidal
Stratified columnar
Stratified squamous
Simple squamous
Simple columnar
Simple squamous epithelium,
Bowman’s capsule
Simple
squamous
epithelium
Glomerulus
บริเวณ cortex ของไตมี Bowman’s capsule เป็น
วงกลมหุ้ม Glomerulus ซึ่งเป็นกระจุกเส้นเลือดฝอย
ที่ Bowman’s capsule เป็นเยื่อบุผิว simple squamous
Squamous epithelium, from cheek
เป็นเซลล์ที่มีลักษณะแบน บำง
มำก ตัวอย่ำงเช่น เยื่อบุผิวข้ำง
แก้มในปำก
Stratified squamous epithelium
Stratified
squamous
epithelium
Basement membrane
Stratified squamous epithelium
เป็นเซลล์ซ้อนกันหลายชั้นด้วยกัน
ชั้นล่างซึ่งอยู่ติดกับ Basement
membrane นั้นใหญ่และแบ่งตัวอย่าง
รวดเร็ว กลายเป็นเซลล์ใหม่ที่เล็กและ
บางกว่าอยู่ด้านนอก เซลล์ชั้นนอกนั้น
ตายและหลุดไปเรื่อยๆ ตัวอย่างเช่น
เยื่อบุผิวข้างแก้มในปาก หลอดอาหาร
และที่ผิวหนังของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ขี้ไคล และขี้รังแคก็คือเซลล์ผิวชั้นบนที่
ตายแล้ว และหลุดออกมา
Simple cuboidal epithelium
Simple cuboidal
epithelium
Basement membrane
บริเวณ cortex ของไต นอกจากจะเห็น Bowman’s
capsule แล้ว ยังมีหลอดไตเล็ก (convoluted tubules)
ขดไปขดมา ซึ่งท่อเหล่านี้เป็นเยื่อบุผิว simple
cuboidal
Simple columnar epithelium, เยื่อบุผิวใน
ลำาไส้
Simple columnar
epithelium
เซลล์มีขนาดสูงมากกว่ากว้าง มักอยู่ตามส่วน
ของร่างกายที่ทำาการสร้าง secretion หรือสำาหรับดูด
ของบางอย่าง เช่น อาหารที่ย่อยแล้ว เช่น เยื่อบุผิว
ข้างในลำาไส้ เป็นต้น
Pseudostratified ciliated columnar,
from trachea
เนื้อเยื่อบุผิวในบางแห่งของร่างกาย เยื่อหุ้มเซลล์
ของเซลล์ชั้นบนสุดมีการเปลี่ยนแปลงเป็นซิเลีย
เรียกว่า ciliated epithelium ซิเลียเคลื่อนไหวได้
และทำาหน้าที่เกี่ยวกับการส่งผ่านสารที่ผิวเซลล์
cilia
Simple
columnar
epithelium
เซลล์เยื่อบุผิวบางชนิดอาจเปลี่ยนแปลงไปทำาหน้าที่
ต่างๆ เช่น สร้างเซครีชัน เรียกว่าต่อม (gland) ใน
กรณีที่เซลล์เดียวสร้างเซครีชัน เรียกว่า ต่อมเซลล์
เดียว (unicellular gland) ตัวอย่างเช่น โกเบลต
Globlet cell
Globlet cell
Simple
columnar
epithelium
Glandular epithelium secretes products,
e.g. milk, hormones
ในกรณีที่เซลล์เยื่อบุผิวอยู่ต่อกัน
เป็นกลุ่มทำาหน้าที่สร้างเซครีชั่นส่งออกไป
ตามท่อหรือเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรง
Taste buds on tongue
เซลล์เยื่อบุผิวบางชนิดอาจเปลี่ยนแปลงไป
ทำาหน้าที่รับความรู้สึก เรียกว่า
neuroepithelial cell เช่นเซลล์ที่ปุ่มรับรส
Taste buds
Transitional
epithelium, e.g.
Urinary bladder
   เยื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective 
tissue)
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันเป็นเนื้อเยื่อที่พบ
แทรกอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชนิดอื่นๆ
ทำาหน้าที่พยุงและยืดเหนี่ยวให้
เนื้อเยื่อเหล่านั้นคงรูปและอยู่รวมกัน
ได้
ประกอบด้วยเซลล์เรียงกันอยู่ห่างๆ
อยู่ในสารระหว่างเซลล์ (matrix) ที่มี
ปริมาณมาก สารระหว่างเซลล์ประกอบ
เซลล์ในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประกอบด้วยเซลล์หลาย
ชนิด แต่ละชนิดทำาหน้าที่แตกต่างกันไป
ได้แก่
Fibroblast เป็นเซลล์ที่ทำาหน้าที่สร้างเส้นใย
ชนิดต่างๆ
Adipose cell เป็นเซลล์ที่สะสมไขมัน
Macrophage มีหน้าที่ทำาลายสิ่งแปลกปลอม
Mast cell เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างกลมหรือรูปรี
ภายในมีแกรนูลย้อมติดสีม่วงเข้มบรรจุอยู่
plasma cell ทำาหน้าที่สร้างแอนติบอดีที่มี
ความสำาคัญในระบบภูมิคุ้มกัน
white blood cell or leukocytes เป็นเซลล์ที่
แทรกเข้ามาในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันจาก
เส้นเลือด ทำาหน้าที่ทำาลายสิ่งแปลกปลอมที่
เข้ามาในร่างกาย
ฯลฯ
เส้นใยในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
เส้นใยในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด
ได้แก่
       Collagen fiber มีลักษณะเป็นเส้นเหนียว
แข็งแรง อยู่รวมกันเป็นมัดใหญ่
       Elastic fiber เป็นเส้นใยที่มีความยืดหยุ่น
มาก แตกเป็นแขนงย่อยส่งไปเชื่อมกับ
แขนงของเส้นอื่น
       Reticular fiber มีลักษณะคล้ายเส้นใยคอล
ลาเจน แต่เป็นเส้นบางกว่ากระจายอยู่
ทั่วไป เส้นใยชนิดนี้จะมองไม่เห็นถ้าย้อม
ด้วยสีย้อมเนื้อเยื่อทั่วไป ต้องย้อมด้วยสี
Collagen fiber
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันอาจแบ่งออกได้
เป็นหลายชนิดตามลักษณะพิเศษ
เฉพาะของเซลล์และสารระหว่าง
เซลล์ เช่น
 1. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดโปร่งบาง (Loose 
or areolar connective tissue) 
 2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดแน่นทึบ (Dense 
connective tissue)
 3. เนื้อเยื่อไขมัน (Adipose tissue)
 4. กระดูก (Cartilage)
 5. กระดูก (Bone)
6. เลือด (Blood)
Connective tissue
Loose or Areolar connective tissue
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันโปร่งบาง หรือ แอรี
โอล่าร์
Cells
Fibers
เนื้อเยื่อนี้เชื่อมหนังกับกล้ามเนื้อ หรือ
เชื่อมกล้ามเนื้อกับกล้ามเนื้อ matrix อ่อนและ
เหนียว มี collagen fiber และ elastic fiber
Dense connective tissue, tendon
เนื้อเยื่อเกี่ยวกันแน่นทึบ, เส้น
เอ็นต่างๆ
Fibroblast 
Collagen fiber
Tendon เนื้อเยื่อยึดระหว่างกระดูก
ต้องการความแข็งแรงมาก matrix เต็มไป
ด้วย collagen fiber ซึ่งเป็นเส้นขนานกัน ยึด
สำาหรับ ลิกาเมนต์ (ligaments) 
เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันแน่นทึบ ซึ่งยึด
กระดูก 2 ท่อนเข้าด้วยกันอยู่ตามข้อ
ต่อของกระดูก ใน matrix จะมีเส้นใย
ชนิด elastic fiber มาก เห็นเป็นสี
เหลือง เส้นใยมีลักษณะเป็นเส้น
ขนานกัน แต่มีกิ่งแยกออกไปเชื่อม
กับเส้นใยใกล้เคียง ยึดได้
เนื้อเยื่อไขมัน (adipose
tissue)
เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่สะสมไขมันโดย
เซลล์สร้างเส้นใยเกือบทั้งหมดทำาหน้าที่เป็น
แหล่งสะสมไขมัน เนื้อเยื่อไขมันมักอยู่ปะปน
Nucleus ของ
Adipose cell 
ที่ถูกเบียด
ไปอยู่ขอบ
เซลล์
กระดูกอ่อน (cartilage)
Lacunar
Chondrocytes
Matrix
อยู่ตามบางส่วนของโครงกระดูก
และมักอยู่ตามข้อต่อของกระดูกซึ่งมี
การสัมผัสกันอยู่เสมอๆ
กระดูกอ่อนเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่ประกอบ
ด้วยเซลล์กระดูกอ่อนที่เรียกว่า Chondrocyte
ฝังตัวอยู่ใน matrix ซึ่งมีความแข็งแรงกว่า
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแท้
มีเส้นใยชนิดต่างๆกระจายอยู่ใน matrix
เซลล์กระดูกอ่อนจะอยู่ในช่องที่เรียกว่า
lacunar ใน 1 lacunarอาจพบเซลล์กระดูกอยู่
1,2,4 หรือ 8 เซลล์ได้ขึ้นอยู่กับการแบ่งตัว
ของเซลล์
ในกระดูกอ่อนจะไม่มีเส้นเลือดส่งแขนงมา
เลี้ยงเลย อาหารที่เซลล์กระดูกอ่อนได้รับจะ
แทรกซึมเข้ามาใน matrix
Lacunar
Chondrocytes
Matrix
Hyaline cartilage
Matrix ไม่มีเส้นใยอยู่ พบอยู่ตามข้อต่อ
ของกระดูกต่างๆ เยื่อกั้นจมูก (Nassal
septum) หลอดลม และกระดูกอ่อนของ
Fibrocartilage
Collagen fiber
Chondrocytes
Matrix เต็มไปด้วย collagen fiber พบตามข้อ
ต่อของกระดูกสันหลัง (intervertebral disk)
และข้อต่อของกระดูกอื่นๆ
กระดูก เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดพิเศษ
มีลักษณะแข็ง เพราะมีผลึกไฮดรอกซี
อะพาไทต์ (hydroxyapatite) เข้ามา
เสริมในสารระหว่างเซลล์
กระดูกเป็นส่วนประกอบสำาคัญของ
โครงร่าง เป็นส่วนห่อหุ้มป้องกันอวัยวะ
ภายใน และเป็นที่เก็บสะสมของเกลือ
แคลเซียมอีกด้วย
กระดูก (Bone)
Volkmann’s
canal
Harversian canal
canaliculi
osteocyte
lacunar
periosteum
กระดูกประกอบด้วย เซลล์ที่เป็นตัวสร้างเส้นใย
และ matrix
เซลล์กระดูกเรียกว่า osteocyte มีลักษณะที่แตก
ต่างกับเซลล์กระดูกอ่อนคือมีแขนงยื่นเป็นเส้น
เล็กๆออกไปรอบเซลล์ ฉะนั้น รอบๆ lacunar จึงมี
ร่องให้แขนงของเซลล์แทรกตัวอยู่ด้วย เรียกว่า
canaliculi
กระดูกมีเส้นเลือดผ่านเข้าไปหล่อเลี้ยง โดย
เซลล์กระดูกมาเรียงล้อมรอบช่องที่ทอดไปตาม
ยาวของกระดูก ที่เรียกว่าช่อง Harversian canal
ซึ่งภายในมีเส้นเลือดที่จะส่งอาหารผ่านไปตาม
ช่อง canaliculi ไปถึงตัวเซลล์ได้
ช่อง Harversian canal หนึ่งจะต่อกับอีกช่อง
หนึ่ง ทางช่องที่อยู่ตามแนวขวาง เรียกว่า
Compact bone
Harversian canal
Harversian canal
Canaliculi Lacunar
Connective tissue EpitheliumCartilage
Smooth
muscle
ในภาพเป็นโครงสร้างของท่อลม
(trachea) ซึ่งประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลาย
ชนิดประสานอยู่รวมกัน แต่ละชนิดมี
ลักษณะเฉพาะ เพื่อทำาหน้าที่พิเศษได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ

More Related Content

What's hot

สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์Wan Ngamwongwan
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดNookPiyathida
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)Thitaree Samphao
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
โรคตาบอดสี
โรคตาบอดสีโรคตาบอดสี
โรคตาบอดสีRoongroeng
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
Cell
CellCell
Cell
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
โรคตาบอดสี
โรคตาบอดสีโรคตาบอดสี
โรคตาบอดสี
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
Tissue oui
Tissue ouiTissue oui
Tissue oui
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 

Viewers also liked

นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาheroohm
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1tarcharee1980
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตY'tt Khnkt
 

Viewers also liked (7)

อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Health biotechnology
Health biotechnologyHealth biotechnology
Health biotechnology
 
Body
BodyBody
Body
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to เนื้อเยื่อสัตว์

เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชPandora Fern
 
Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์bio2014-5
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังKang ZenEasy
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 

Similar to เนื้อเยื่อสัตว์ (20)

เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Cell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acrCell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acr
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
 
Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 

เนื้อเยื่อสัตว์