SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
การสืบพันธุ์
(Reproduction)
การสืบพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง กระบวนการที่ทาให้เกิด
สิ่งมีชีวิตตัวใหม่ขึ้นมาจากสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน โดยที่สิ่งมีชีวิตรุ่น
ใหม่ที่เกิดขึ้นจะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่ตายไป ทาให้สิ่งมีชีวิต
เหลือรอดอยู่ได้โดยไม่สูญพันธุ์
ความสาคัญของการสืบพันธุ์
1. การสืบพันธุ์ เป็นกระบวนการที่สาคัญที่สุดในการสร้างหน่วย
สิ่งมีชีวิตขึ้นมาใหม่ เพื่อทดแทนหน่วยสิ่งมีชีวิตเดิมที่ตายไป ทาให้
สิ่งมีชีวิตดารงพันธุ์สืบต่อเนื่องกันไปเป็นระยะเวลาอันยาวนาน
2. การสืบพันธุ์โดยเฉพาะแบบอาศัยเพศ ทาให้เกิดความแตกต่างแปรผัน
ของลักษณะภายในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน (Variation) ซึ่งเป็นกลไก
สาคัญยิ่งในกระบวนการปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและ
ก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
ความสาคัญของการสืบพันธุ์
3. การสืบพันธุ์น่าจะเป็นคุณสมบัติสาคัญที่สุดในการใช้เป็นหลักตัดสิน
ว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่
เช่น ไวรัส ถ้าอยู่นอกเซลล์ของผู้ถูกอาศัย จะเป็นผลึกไม่มี
กิจกรรมใดๆ แต่ถ้าเข้าไปอยู่ภายในเซลล์ของผู้ถูกอาศัย จะ
สามารถเพิ่มจานวนขึ้นได้จึงจัดไวรัสเป็นสิ่งมีชีวิตเนื่องจาก
สามารถทวีจานวน หรือ สืบพันธุ์ได้
การสืบพันธุ์มี 2 วิธี คือ
1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual Reproduction)
• การแตกหน่อ (Budding)
• การแบ่งเป็นสอง (Binary Fission)
• การเจริญเป็นตัวอ่อนโดยไม่ต้องผสมพันธุ์ (Parthenogenesis)
• การงอกใหม่ (Regeneration)
• การสร้างสปอร์ (Spore Formation)
• การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant Tissue Culture)
2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual Reproduction)
ประเภทของการสืบพันธุ์
 เป็นการสืบพันธุ์ที่ไม่ต้องอาศัยเซลล์สืบพันธุ์ (sex cell)
 เป็นการสืบพันธุ์ที่สร้างหน่วยใหม่ขึ้นมาจากสิ่งมีชีวิตเดิม
 อาจเกิดได้โดยการจาลองตัวเองของหน่วยพันธุกรรม (gene) การ
แบ่งนิวเคลียสแบบ mitosis
 หน่วยใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเหมือนตัวแม่ทุกประการ
 ดังนั้นถ้าสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนมันจะตายหมดถ้าปรับตัวไม่ได้
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
(Asexual Reproduction)
ขั้นตอนการสืบพันธุ์
 พบตั้งแต่สิ่งมีชีวิตที่ยังไม่เป็นเซลล์ พวกเซลล์เดียว และพวกหลาย
เซลล์ไปจนถึงพืชชั้นสูง พบในสัตว์ชั้นต่าที่ไม่มีระบบสืบพันธุ์
หรือมีแต่ยังไม่เจริญดี
การแตกหน่อ (Budding)
 เป็นการสืบพันธุ์ของสัตว์ชั้นต่า โดยเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว
จะมีการสร้างเนื้อเยื่อข้างลาตัวงอกออกมา แล้วเจริญเติบโตเป็น
ตัวเล็กๆ ที่มีอวัยวะต่างๆ เหมือนตัวแม่ หลังจากติดอยู่กับตัวแม่
ระยะหนึ่งก็จะหลุดออกมาไปอยู่อิสระตามลาพัง
 ชีวิตที่งอกใหม่ออกมานี้ เรียกว่า หน่อ
 การสืบพันธุ์ลักษณะนี้พบในไฮดรา หนอนตัวแบน ฟองน้า
ปะการัง ยีสต์
 ในพืชชั้นสูง เช่น ขิง ข่า กล้วย หน่อไม้ต้นคว่าตายหงายเป็น
กล้วยไม้เป็นต้น
ต้นคว่าตายหงายเป็น
การสืบพันธุ์ของยีสต์
การสืบพันธุ์ของไฮดรา
การแบ่งตัวออกเป็นสอง (Binary Fission)
 เกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา
และแบคทีเรีย
 การสืบพันธุ์วิธีนี้เกิดขึ้นโดยการแบ่งตัวจาก 1 เซลล์เป็น 2 เซลล์
โดยนิวเคลียสของเซลล์จะแบ่งตัวก่อน แล้วไซโทพลาสซึมจะ
แบ่งตาม ได้เป็นตัวใหม่ 2 ตัว ซึ่งแต่ละตัวจะมีลักษณะเหมือน
ตัวเดิมทุกประการ
การสืบพันธุ์ของอะมีบา พารามีเซียม และยูกลีนา
การสืบพันธุ์ของแบคทีเรีย
การเจริญเป็นตัวอ่อนโดยไม่ต้องผสมพันธุ์
(Parthenogenesis)
 เป็นการสืบพันธุ์ของแมลงบางชนิด เช่น ตั๊กแตนกิ่งไม้ไรน้า เพลี้ย
 โดยตัวเมียสามารถผลิตไข่ที่ฟักเป็นตัวได้โดยไม่ต้องมีการปฏิสนธิ
 ในสภาวะปกติไข่ของสัตว์ดังกล่าวจะฟักออกมาเป็นตัวเมียเสมอ
 แต่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสมกับการดารงชีวิต เช่น เกิดความแห้งแล้ง
หนาวเย็น หรือขาดแคลนอาหาร ตัวเมียก็จะผลิตไข่ที่ฟักออกเป็น
ทั้งตัวผู้และตัวเมีย จากนั้นสัตว์ตัวผู้และตัวเมียเหล่านี้จะผสมพันธุ์
กันแล้วตัวเมียจะออกไข่ที่มีความคงทนต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสม
ดังกล่าวได้
 ในผึ้ง มด ต่อ แตน ก็พบว่ามีการสืบพันธุ์แบบพาร์ธีโนเจเนซิสด้วย
เช่นกัน โดยไข่ไม่ต้องมีการปฏิสนธิก็สามารถฟักออกมาเป็นตัวได้
ซึ่งจะฟักออกมาเป็นตัวผู้เสมอ
การงอกใหม่ (Regeneration)
 พบในสัตว์ชั้นต่า เช่น ปลาดาว พลานาเรีย ไส้เดือนดิน ปลิง
ดอกไม้ทะเล (ซีแอนนีโมนี) ไฮดรา
 การงอกใหม่เป็นการสร้างส่วนของร่างกายที่ขาดหายไป โดยสัตว์
เหล่านี้ถ้าร่างกายถูกตัดออกเป็นส่วนๆ แต่ละส่วนจะสามารถงอก
เป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ดังนั้นการงอกใหม่นี้จึงทาให้มีจานวน
สิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นจากจานวนเดิม
 นอกจากนี้ยังรวมถึง การงอกของอวัยวะขึ้นมาทดแทนอวัยวะที่ขาด
หายไปด้วย เช่น จิ้งจก เมื่อหางหลุด ก็สามารถงอกหางใหม่มา
ทดแทนได้
Regeneration ของไฮดรา
พลานาเรีย
การสร้างสปอร์ (Spore Formation)
 เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการแบ่งนิวเคลียสหลายๆ ครั้ง ต่อจากนั้น
ไซโทพลาสซึมจะแบ่งตาม แล้วจะมีการสร้างเยื่อกั้นเป็นส่วนๆ แต่
ละส่วนจะมีนิวเคลียส 1 อัน เรียกว่า สปอร์ (Spore)
 สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์แบบนี้ เช่น พลาสโมเดียม ซึ่งเป็นสัตว์ที่ทาให้
เกิดโรคไข้มาลาเรีย ในพืชพบในพวกมอสและเฟิร์น
 การสร้างสปอร์ของรานั้น เริ่มจากสายราสร้างผนังเซลล์และภายใน
มีการแบ่งเซลล์แบบ mitosis จานวนมาก ทาให้ได้เซลล์เล็กๆ
มากมาย เรียกว่า สปอร์ และเมื่อสปอร์แก่ตัวเต็มที่จะปลิวไปตามลม
การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation)
 เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศอีก
แบบหนึ่งของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะ
พวกที่มีเซลล์ต่อกันเป็นเส้นสายโดย
การหักเป็นท่อนๆ แต่ละท่อนที่หลุด
ไปก็จะแบ่งตัวแบบ Mitotic cell
division ได้เซลล์ใหม่ที่ต่อกันเป็น
เส้นสายเจริญต่อไป
 พบในพวกหนอนตัวแบน (พยาธิ
ตัวตืด) สาหร่ายทะเล ปลาดาว
 คือการสืบพันธุ์ที่ต้องมีการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้(สเปิร์ม)
และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (ไข่) แล้วเกิดออกมาเป็นไซโกต (zygote)
และเจริญมาเป็นเอมบริโอ (embryo) ในเวลาต่อมา
 โดยการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์ จะเรียกว่า ปฏิสนธิ (fertilization)
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
(Sexual Reproduction)
Zygote คือ เซลล์ที่เกิดจากการรวมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้กับ
เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ซึ่งพร้อมที่จะเจริญต่อไปเป็นเอ็มบริโอ ในสัตว์
ชั้นสูง ไซโกตก็คือ ไข่ที่ได้รับการผสมกับตัวอสุจิแล้ว
Embryo คือ ตัวอ่อนหรือต้นอ่อนของสิ่งมีชีวิตในระยะนับต่อจาก
ไซโกตไปจนคลอด หรือออกจากไข่ หรือระยะงอกออกจากเมล็ดพืช
ไข่ (Egg)
 โดยทั่วไปมีลักษณะกลมหรือรี เคลื่อนที่ไม่ได้
 ไข่ของสัตว์มักมีอาหารสะสมอยู่เพื่อเลี้ยงตัวอ่อนที่อยู่ภายในไข่ เช่น
ไข่แดงของไข่ไก่และไข่เป็ด ไข่แดงซึ่งมีเยื่อหุ้มอยู่เทียบได้กับเซลล์
1 เซลล์ ส่วนจุดกลมๆ ในไข่แดง คือ นิวเคลียส
 เซลล์ไข่ส่วนมากมักจะมีสิ่งห่อหุ้มเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือน
จากสิ่งแวดล้อม เช่นไข่กบมีวุ้นหุ้ม ไข่เต่าทะเลมีสิ่งที่มีลักษณะเป็น
เยื่อเหนียวหุ้ม ไข่เป็ดและไข่ไก่มีเปลือกแข็งหุ้ม เป็นต้น
ตัวอสุจิ (Sperm)
 มีขนาดเล็กกว่าไข่มาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นต้องใช้กล้อง
จุลทรรศน์ส่องดูจึงจะมองเห็น
 ตัวอสุจิมีส่วนประกอบอยู่ 3 ส่วน คือ หัว (head) ลาตัว (body) และ
หาง (tail) ส่วนหัวจะมีนิวเคลียสเป็นส่วนประกอบ มีส่วนหางช่วย
ในการเคลื่อนที่เพื่อเข้าผสมกับไข่
การปฏิสนธิ (Fertilization)
การปฏิสนธิ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. การปฏิสนธิภายใน (Internal Fertilization)
การที่ตัวอสุจิจากสัตว์เพศผู้เข้าผสมกับไข่ซึ่งยังอยู่ในตัวของสัตว์
เพศเมีย
พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน เช่น คน
แมว สุนัข ช้าง เป็ด ไก่ นก เป็นต้น
นอกจากนี้ยังพบในพวกแมลง ปลาที่ออกลูกเป็นตัว เช่น ปลา
เข็ม ปลาหางนกยูง ปลาฉลาม เป็นต้น
การปฏิสนธิ (Fertilization)
2. การปฏิสนธิภายนอก (External Fertilization)
การผสมระหว่างไข่และตัวอสุจิภายนอกตัวของสัตว์เพศเมีย
โดยที่เพศผู้จะปล่อยเชื้ออสุจิออกมา และเพศเมียจะปล่อยไข่
ออกมาเพื่อผสมกับตัวอสุจิ
พบในสัตว์ครึ่งน้าครึ่งบก เช่น กบ คางคก เป็นต้น ปลาต่างๆ
ม้าน้า และสัตว์น้าที่ออกลูกเป็นไข่ทุกชนิด
 การสืบพันธุ์ของคนมีการรวมตัวกันของอสุจิกับเซลล์ไข่ใน
ร่างกายของเพศหญิงเกิดเป็นไซโกต
 จากนั้นไซโกตจึงเริ่มแบ่งเซลล์และเจริญเติบโตเป็นเอ็มบริโอ
จนเมื่อครบ 9 เดือน จะคลอดออกมาเป็นทารก
การสืบพันธุ์ของคน
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
(Male Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย เป็นระบบที่ทาหน้าที่ในการ
- สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย คือ sperm
- นาส่ง sperm เข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงเพื่อผสม
กับเซลล์ไข่ต่อไป
- สร้าง hormone เพศชาย
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
• อัณฑะ (testis) ทาหน้าที่สร้าง sperm และ hormone เพศชายคือ
testosterone อัณฑะมี 2 ลูก อยู่ในถุงหุ้มอัณฑะนอกร่างกาย ถุงนี้
ป้องกันอันตรายและปรับอุณหภูมิให้ต่ากว่าในช่องท้องประมาณ 3C
ซึ่งเหมาะกับการสร้างอสุจิ
• accessory ducts เป็นท่อนา sperm จากอัณฑะออกไปสู่ภายนอก
ประกอบด้วย epididymis, หลอดนาอสุจิ (vas deferens), หลอดฉีด
อสุจิ(ejaculatory duct: ทาหน้าที่บีบตัวขับน้าอสุจิเข้าสู่ท่อปัสสาวะ)
และท่อปัสสาวะ (Urethra)
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
• accessory glands เป็นต่อมที่สร้างสารอาหารเลี้ยง sperm และช่วย
อานวยความสะดวกในการลาเลียง sperm ออกสู่ภายนอกด้วย ได้แก่
- ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (seminal vesicle) ทาหน้าที่สร้างอาหาร
สาหรับอสุจิ อาหารประกอบด้วยน้าตาลฟรุกโตสกับโปรตีนโกลบูลิน
- ต่อมลูกหมาก (Prostrate Gland) ทาหน้าที่สร้างและหลั่งสารที่
มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อนเพื่อทาลายความเป็นกรดของน้าปัสสาวะ
- ต่อมคาวเปอร์ (Cowper's gland) อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก
ทาหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นให้ท่อปัสสาวะก่อนที่จะปล่อยน้าอสุจิออกมา
สารที่สร้างมีฤทธิ์เป็นด่าง
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
• องคชาตหรือลึงค์ (penis) เป็นอวัยวะช่วยนาอสุจิเข้าสู่ช่องสืบพันธุ์
เพศเมียป้องกันการสูญเสียอสุจิ และช่วยให้มีการผสมพันธุ์ของไข่
ภายในท่อสืบพันธุ์เพศเมีย ภายในประกอบด้วยเนื้อเยื่อคล้ายฟองน้า
และท่อปัสสาวะ ทาหน้าที่เป็นท่อนาน้าปัสสาวะและน้าอสุจิออกจาก
ร่างกาย
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
(Female Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง เป็นระบบที่ทาหน้าที่ในการ
- สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง คือ ไข่ (Egg)
- สร้าง hormone เพศหญิง
- ทาหน้าที่ดูแลฟูมฟักให้เซลล์ไข่ที่ผสมติดให้พัฒนา
กลายเป็นตัวอ่อนจนคลอดออกมา
• ช่องคลอด (vagina)เป็นช่องทางผ่านของ sperm ที่จะเข้าไปผสม
กับเซลล์ไข่ และเป็นทางออกของเลือดประจาเดือนและทารก
• รังไข่ (ovary) ทาหน้าที่สร้างเซลล์ไข่ และ hormone เพศหญิงคือ
estrogen และ progesterone มี 2 ข้างของมดลูกโดยมีเยื่อยึดติดกับ
มดลูก ในรังไข่มีเซลล์ Primary Oocyte ที่ห่อหุ้มด้วย Follicle Cell
เรียกว่า Primary Follicle ซึ่งเมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์จะมีการเจริญ
ของ Primary Oocyte 1 ใบ ทุก ๆ เดือนสลับกันระหว่างรังไข่ ซีก
ซ้ายกับซีกขวา
อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง
• ท่อนาไข่ (uterine tube) เป็นท่อที่ทาหน้าที่นาเซลล์ไข่จากรังไข่ ให้
เคลื่อนไปสู่มดลูก
• มดลูก (uterus) ทาหน้าที่เป็นที่อยู่อาศัยและนาสารอาหารมาเลี้ยง
เซลล์ไข่ที่ผสมติดแล้วจนพัฒนาเป็นตัวอ่อน นอกจากนี้ยังมีรกและ
เต้านม ซึ่งไม่ได้จัดเป็นส่วนประกอบของอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง
แต่เป็นอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง
• เนื้อเยื่อมดลูก แบ่งเป็น 3 ชั้น
1. เนื้อเยื่อชั้นใน (Endometrium) เปลี่ยนแปลงความหนาได้ใน
ระยะที่ไข่ถูกผสมแล้วจะเคลื่อนที่มาฝังตัวอยู่ที่ชั้นนี้
2. เนื้อเยื่อชั้นกลาง (Myometrium) มีความหนาและแข็งแรง
สามารถขยายตัวได้ระหว่างที่ตั้งครรภ์
3. เนื้อเยื่อชั้นนอก (Serous Layer) ทาหน้าที่ปกคลุมด้านนอกสุดทุก
ส่วน ยกเว้นปากมดลูก (Cervix) เป็นทางติดต่อกับช่องคลอด (Vagina)
อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง
อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง

More Related Content

What's hot

หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 

What's hot (20)

หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
Respiration m.5
Respiration m.5Respiration m.5
Respiration m.5
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 

Similar to Lec การสืบพันธุ์

การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์สงบจิต สงบใจ
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์kanitnun
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfLomaPakuTaxila
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิตChidchanok Puy
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิตChidchanok Puy
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 

Similar to Lec การสืบพันธุ์ (20)

การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
1
11
1
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
 
สืบพันธุ์
สืบพันธุ์สืบพันธุ์
สืบพันธุ์
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 

Lec การสืบพันธุ์

  • 2. การสืบพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง กระบวนการที่ทาให้เกิด สิ่งมีชีวิตตัวใหม่ขึ้นมาจากสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน โดยที่สิ่งมีชีวิตรุ่น ใหม่ที่เกิดขึ้นจะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่ตายไป ทาให้สิ่งมีชีวิต เหลือรอดอยู่ได้โดยไม่สูญพันธุ์
  • 3. ความสาคัญของการสืบพันธุ์ 1. การสืบพันธุ์ เป็นกระบวนการที่สาคัญที่สุดในการสร้างหน่วย สิ่งมีชีวิตขึ้นมาใหม่ เพื่อทดแทนหน่วยสิ่งมีชีวิตเดิมที่ตายไป ทาให้ สิ่งมีชีวิตดารงพันธุ์สืบต่อเนื่องกันไปเป็นระยะเวลาอันยาวนาน 2. การสืบพันธุ์โดยเฉพาะแบบอาศัยเพศ ทาให้เกิดความแตกต่างแปรผัน ของลักษณะภายในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน (Variation) ซึ่งเป็นกลไก สาคัญยิ่งในกระบวนการปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและ ก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
  • 4. ความสาคัญของการสืบพันธุ์ 3. การสืบพันธุ์น่าจะเป็นคุณสมบัติสาคัญที่สุดในการใช้เป็นหลักตัดสิน ว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่ เช่น ไวรัส ถ้าอยู่นอกเซลล์ของผู้ถูกอาศัย จะเป็นผลึกไม่มี กิจกรรมใดๆ แต่ถ้าเข้าไปอยู่ภายในเซลล์ของผู้ถูกอาศัย จะ สามารถเพิ่มจานวนขึ้นได้จึงจัดไวรัสเป็นสิ่งมีชีวิตเนื่องจาก สามารถทวีจานวน หรือ สืบพันธุ์ได้
  • 5. การสืบพันธุ์มี 2 วิธี คือ 1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual Reproduction) • การแตกหน่อ (Budding) • การแบ่งเป็นสอง (Binary Fission) • การเจริญเป็นตัวอ่อนโดยไม่ต้องผสมพันธุ์ (Parthenogenesis) • การงอกใหม่ (Regeneration) • การสร้างสปอร์ (Spore Formation) • การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant Tissue Culture) 2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual Reproduction) ประเภทของการสืบพันธุ์
  • 6.  เป็นการสืบพันธุ์ที่ไม่ต้องอาศัยเซลล์สืบพันธุ์ (sex cell)  เป็นการสืบพันธุ์ที่สร้างหน่วยใหม่ขึ้นมาจากสิ่งมีชีวิตเดิม  อาจเกิดได้โดยการจาลองตัวเองของหน่วยพันธุกรรม (gene) การ แบ่งนิวเคลียสแบบ mitosis  หน่วยใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเหมือนตัวแม่ทุกประการ  ดังนั้นถ้าสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนมันจะตายหมดถ้าปรับตัวไม่ได้ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual Reproduction)
  • 7. ขั้นตอนการสืบพันธุ์  พบตั้งแต่สิ่งมีชีวิตที่ยังไม่เป็นเซลล์ พวกเซลล์เดียว และพวกหลาย เซลล์ไปจนถึงพืชชั้นสูง พบในสัตว์ชั้นต่าที่ไม่มีระบบสืบพันธุ์ หรือมีแต่ยังไม่เจริญดี
  • 8. การแตกหน่อ (Budding)  เป็นการสืบพันธุ์ของสัตว์ชั้นต่า โดยเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว จะมีการสร้างเนื้อเยื่อข้างลาตัวงอกออกมา แล้วเจริญเติบโตเป็น ตัวเล็กๆ ที่มีอวัยวะต่างๆ เหมือนตัวแม่ หลังจากติดอยู่กับตัวแม่ ระยะหนึ่งก็จะหลุดออกมาไปอยู่อิสระตามลาพัง  ชีวิตที่งอกใหม่ออกมานี้ เรียกว่า หน่อ  การสืบพันธุ์ลักษณะนี้พบในไฮดรา หนอนตัวแบน ฟองน้า ปะการัง ยีสต์  ในพืชชั้นสูง เช่น ขิง ข่า กล้วย หน่อไม้ต้นคว่าตายหงายเป็น กล้วยไม้เป็นต้น
  • 12. การแบ่งตัวออกเป็นสอง (Binary Fission)  เกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา และแบคทีเรีย  การสืบพันธุ์วิธีนี้เกิดขึ้นโดยการแบ่งตัวจาก 1 เซลล์เป็น 2 เซลล์ โดยนิวเคลียสของเซลล์จะแบ่งตัวก่อน แล้วไซโทพลาสซึมจะ แบ่งตาม ได้เป็นตัวใหม่ 2 ตัว ซึ่งแต่ละตัวจะมีลักษณะเหมือน ตัวเดิมทุกประการ
  • 15. การเจริญเป็นตัวอ่อนโดยไม่ต้องผสมพันธุ์ (Parthenogenesis)  เป็นการสืบพันธุ์ของแมลงบางชนิด เช่น ตั๊กแตนกิ่งไม้ไรน้า เพลี้ย  โดยตัวเมียสามารถผลิตไข่ที่ฟักเป็นตัวได้โดยไม่ต้องมีการปฏิสนธิ  ในสภาวะปกติไข่ของสัตว์ดังกล่าวจะฟักออกมาเป็นตัวเมียเสมอ  แต่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสมกับการดารงชีวิต เช่น เกิดความแห้งแล้ง หนาวเย็น หรือขาดแคลนอาหาร ตัวเมียก็จะผลิตไข่ที่ฟักออกเป็น ทั้งตัวผู้และตัวเมีย จากนั้นสัตว์ตัวผู้และตัวเมียเหล่านี้จะผสมพันธุ์ กันแล้วตัวเมียจะออกไข่ที่มีความคงทนต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสม ดังกล่าวได้
  • 16.
  • 17.  ในผึ้ง มด ต่อ แตน ก็พบว่ามีการสืบพันธุ์แบบพาร์ธีโนเจเนซิสด้วย เช่นกัน โดยไข่ไม่ต้องมีการปฏิสนธิก็สามารถฟักออกมาเป็นตัวได้ ซึ่งจะฟักออกมาเป็นตัวผู้เสมอ
  • 18. การงอกใหม่ (Regeneration)  พบในสัตว์ชั้นต่า เช่น ปลาดาว พลานาเรีย ไส้เดือนดิน ปลิง ดอกไม้ทะเล (ซีแอนนีโมนี) ไฮดรา  การงอกใหม่เป็นการสร้างส่วนของร่างกายที่ขาดหายไป โดยสัตว์ เหล่านี้ถ้าร่างกายถูกตัดออกเป็นส่วนๆ แต่ละส่วนจะสามารถงอก เป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ดังนั้นการงอกใหม่นี้จึงทาให้มีจานวน สิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นจากจานวนเดิม  นอกจากนี้ยังรวมถึง การงอกของอวัยวะขึ้นมาทดแทนอวัยวะที่ขาด หายไปด้วย เช่น จิ้งจก เมื่อหางหลุด ก็สามารถงอกหางใหม่มา ทดแทนได้
  • 21. การสร้างสปอร์ (Spore Formation)  เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการแบ่งนิวเคลียสหลายๆ ครั้ง ต่อจากนั้น ไซโทพลาสซึมจะแบ่งตาม แล้วจะมีการสร้างเยื่อกั้นเป็นส่วนๆ แต่ ละส่วนจะมีนิวเคลียส 1 อัน เรียกว่า สปอร์ (Spore)  สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์แบบนี้ เช่น พลาสโมเดียม ซึ่งเป็นสัตว์ที่ทาให้ เกิดโรคไข้มาลาเรีย ในพืชพบในพวกมอสและเฟิร์น  การสร้างสปอร์ของรานั้น เริ่มจากสายราสร้างผนังเซลล์และภายใน มีการแบ่งเซลล์แบบ mitosis จานวนมาก ทาให้ได้เซลล์เล็กๆ มากมาย เรียกว่า สปอร์ และเมื่อสปอร์แก่ตัวเต็มที่จะปลิวไปตามลม
  • 22.
  • 23.
  • 24. การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation)  เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศอีก แบบหนึ่งของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะ พวกที่มีเซลล์ต่อกันเป็นเส้นสายโดย การหักเป็นท่อนๆ แต่ละท่อนที่หลุด ไปก็จะแบ่งตัวแบบ Mitotic cell division ได้เซลล์ใหม่ที่ต่อกันเป็น เส้นสายเจริญต่อไป  พบในพวกหนอนตัวแบน (พยาธิ ตัวตืด) สาหร่ายทะเล ปลาดาว
  • 25.  คือการสืบพันธุ์ที่ต้องมีการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้(สเปิร์ม) และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (ไข่) แล้วเกิดออกมาเป็นไซโกต (zygote) และเจริญมาเป็นเอมบริโอ (embryo) ในเวลาต่อมา  โดยการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์ จะเรียกว่า ปฏิสนธิ (fertilization) การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual Reproduction)
  • 26. Zygote คือ เซลล์ที่เกิดจากการรวมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้กับ เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ซึ่งพร้อมที่จะเจริญต่อไปเป็นเอ็มบริโอ ในสัตว์ ชั้นสูง ไซโกตก็คือ ไข่ที่ได้รับการผสมกับตัวอสุจิแล้ว Embryo คือ ตัวอ่อนหรือต้นอ่อนของสิ่งมีชีวิตในระยะนับต่อจาก ไซโกตไปจนคลอด หรือออกจากไข่ หรือระยะงอกออกจากเมล็ดพืช
  • 27.
  • 28.
  • 29. ไข่ (Egg)  โดยทั่วไปมีลักษณะกลมหรือรี เคลื่อนที่ไม่ได้  ไข่ของสัตว์มักมีอาหารสะสมอยู่เพื่อเลี้ยงตัวอ่อนที่อยู่ภายในไข่ เช่น ไข่แดงของไข่ไก่และไข่เป็ด ไข่แดงซึ่งมีเยื่อหุ้มอยู่เทียบได้กับเซลล์ 1 เซลล์ ส่วนจุดกลมๆ ในไข่แดง คือ นิวเคลียส  เซลล์ไข่ส่วนมากมักจะมีสิ่งห่อหุ้มเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือน จากสิ่งแวดล้อม เช่นไข่กบมีวุ้นหุ้ม ไข่เต่าทะเลมีสิ่งที่มีลักษณะเป็น เยื่อเหนียวหุ้ม ไข่เป็ดและไข่ไก่มีเปลือกแข็งหุ้ม เป็นต้น
  • 30.
  • 31. ตัวอสุจิ (Sperm)  มีขนาดเล็กกว่าไข่มาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นต้องใช้กล้อง จุลทรรศน์ส่องดูจึงจะมองเห็น  ตัวอสุจิมีส่วนประกอบอยู่ 3 ส่วน คือ หัว (head) ลาตัว (body) และ หาง (tail) ส่วนหัวจะมีนิวเคลียสเป็นส่วนประกอบ มีส่วนหางช่วย ในการเคลื่อนที่เพื่อเข้าผสมกับไข่
  • 32. การปฏิสนธิ (Fertilization) การปฏิสนธิ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. การปฏิสนธิภายใน (Internal Fertilization) การที่ตัวอสุจิจากสัตว์เพศผู้เข้าผสมกับไข่ซึ่งยังอยู่ในตัวของสัตว์ เพศเมีย พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน เช่น คน แมว สุนัข ช้าง เป็ด ไก่ นก เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบในพวกแมลง ปลาที่ออกลูกเป็นตัว เช่น ปลา เข็ม ปลาหางนกยูง ปลาฉลาม เป็นต้น
  • 33. การปฏิสนธิ (Fertilization) 2. การปฏิสนธิภายนอก (External Fertilization) การผสมระหว่างไข่และตัวอสุจิภายนอกตัวของสัตว์เพศเมีย โดยที่เพศผู้จะปล่อยเชื้ออสุจิออกมา และเพศเมียจะปล่อยไข่ ออกมาเพื่อผสมกับตัวอสุจิ พบในสัตว์ครึ่งน้าครึ่งบก เช่น กบ คางคก เป็นต้น ปลาต่างๆ ม้าน้า และสัตว์น้าที่ออกลูกเป็นไข่ทุกชนิด
  • 34.
  • 36. ระบบสืบพันธุ์เพศชาย (Male Reproductive System) ระบบสืบพันธุ์เพศชาย เป็นระบบที่ทาหน้าที่ในการ - สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย คือ sperm - นาส่ง sperm เข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงเพื่อผสม กับเซลล์ไข่ต่อไป - สร้าง hormone เพศชาย
  • 37. อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย • อัณฑะ (testis) ทาหน้าที่สร้าง sperm และ hormone เพศชายคือ testosterone อัณฑะมี 2 ลูก อยู่ในถุงหุ้มอัณฑะนอกร่างกาย ถุงนี้ ป้องกันอันตรายและปรับอุณหภูมิให้ต่ากว่าในช่องท้องประมาณ 3C ซึ่งเหมาะกับการสร้างอสุจิ • accessory ducts เป็นท่อนา sperm จากอัณฑะออกไปสู่ภายนอก ประกอบด้วย epididymis, หลอดนาอสุจิ (vas deferens), หลอดฉีด อสุจิ(ejaculatory duct: ทาหน้าที่บีบตัวขับน้าอสุจิเข้าสู่ท่อปัสสาวะ) และท่อปัสสาวะ (Urethra)
  • 38. อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย • accessory glands เป็นต่อมที่สร้างสารอาหารเลี้ยง sperm และช่วย อานวยความสะดวกในการลาเลียง sperm ออกสู่ภายนอกด้วย ได้แก่ - ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (seminal vesicle) ทาหน้าที่สร้างอาหาร สาหรับอสุจิ อาหารประกอบด้วยน้าตาลฟรุกโตสกับโปรตีนโกลบูลิน - ต่อมลูกหมาก (Prostrate Gland) ทาหน้าที่สร้างและหลั่งสารที่ มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อนเพื่อทาลายความเป็นกรดของน้าปัสสาวะ - ต่อมคาวเปอร์ (Cowper's gland) อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก ทาหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นให้ท่อปัสสาวะก่อนที่จะปล่อยน้าอสุจิออกมา สารที่สร้างมีฤทธิ์เป็นด่าง
  • 39. อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย • องคชาตหรือลึงค์ (penis) เป็นอวัยวะช่วยนาอสุจิเข้าสู่ช่องสืบพันธุ์ เพศเมียป้องกันการสูญเสียอสุจิ และช่วยให้มีการผสมพันธุ์ของไข่ ภายในท่อสืบพันธุ์เพศเมีย ภายในประกอบด้วยเนื้อเยื่อคล้ายฟองน้า และท่อปัสสาวะ ทาหน้าที่เป็นท่อนาน้าปัสสาวะและน้าอสุจิออกจาก ร่างกาย
  • 40.
  • 41.
  • 42. ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (Female Reproductive System) ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง เป็นระบบที่ทาหน้าที่ในการ - สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง คือ ไข่ (Egg) - สร้าง hormone เพศหญิง - ทาหน้าที่ดูแลฟูมฟักให้เซลล์ไข่ที่ผสมติดให้พัฒนา กลายเป็นตัวอ่อนจนคลอดออกมา
  • 43. • ช่องคลอด (vagina)เป็นช่องทางผ่านของ sperm ที่จะเข้าไปผสม กับเซลล์ไข่ และเป็นทางออกของเลือดประจาเดือนและทารก • รังไข่ (ovary) ทาหน้าที่สร้างเซลล์ไข่ และ hormone เพศหญิงคือ estrogen และ progesterone มี 2 ข้างของมดลูกโดยมีเยื่อยึดติดกับ มดลูก ในรังไข่มีเซลล์ Primary Oocyte ที่ห่อหุ้มด้วย Follicle Cell เรียกว่า Primary Follicle ซึ่งเมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์จะมีการเจริญ ของ Primary Oocyte 1 ใบ ทุก ๆ เดือนสลับกันระหว่างรังไข่ ซีก ซ้ายกับซีกขวา อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง
  • 44.
  • 45. • ท่อนาไข่ (uterine tube) เป็นท่อที่ทาหน้าที่นาเซลล์ไข่จากรังไข่ ให้ เคลื่อนไปสู่มดลูก • มดลูก (uterus) ทาหน้าที่เป็นที่อยู่อาศัยและนาสารอาหารมาเลี้ยง เซลล์ไข่ที่ผสมติดแล้วจนพัฒนาเป็นตัวอ่อน นอกจากนี้ยังมีรกและ เต้านม ซึ่งไม่ได้จัดเป็นส่วนประกอบของอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง แต่เป็นอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง
  • 46. • เนื้อเยื่อมดลูก แบ่งเป็น 3 ชั้น 1. เนื้อเยื่อชั้นใน (Endometrium) เปลี่ยนแปลงความหนาได้ใน ระยะที่ไข่ถูกผสมแล้วจะเคลื่อนที่มาฝังตัวอยู่ที่ชั้นนี้ 2. เนื้อเยื่อชั้นกลาง (Myometrium) มีความหนาและแข็งแรง สามารถขยายตัวได้ระหว่างที่ตั้งครรภ์ 3. เนื้อเยื่อชั้นนอก (Serous Layer) ทาหน้าที่ปกคลุมด้านนอกสุดทุก ส่วน ยกเว้นปากมดลูก (Cervix) เป็นทางติดต่อกับช่องคลอด (Vagina)