SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
เรื่อง ระบบน้้าเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
คุณครูฐิตารีย์ ส้าเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
ส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
 สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับระบบน้้าเหลือง ระบบภูมิคุ้มกัน รวมทั้งปัจจัยที่
มีผลต่อการท้างานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
จุดประสงค์การเรียนรู้
 เป็นระบบท่อปลายตันแทรกในเนื้อเยื่อ
 น้าของเหลวส่วนเกินกลับคืนระบบเลือด
 ล้าเลียงสารโดยเฉพาะไขมันเข้าหัวใจ
 ก้าจัดสิ่งแปลกปลอมโดย WBC
 ทิศทางเข้าสู่หัวใจ
 ไม่มีอวัยวะสูบฉีด แต่อาศัย
 การบีบตัวของ lymphatic duct
 การหดตัวของกล้ามเนื้อลายโดยรอบ
 ลิ้น
 แรงดึงดูดจากการหายใจเข้า
ระบบน้้าเหลือง
(LYMPHATIC SYSTEM)
น้้าเหลือง (Lymph)
ท่อน้้าเหลือง (Lymph vessel)
ต่อมน้้าเหลือง (Lymph node)
ต่อมทอนซิล (Tonsil gland)
ต่อมไทมัส (Thymus gland)
ม้าม (spleen)
ระบบน้้าเหลือง (LYMPHATIC SYSTEM)
 ของเหลวระหว่างเซลล์หรือรอบๆ
เนื้อเยื่อ
 ซึมผ่านผนังหลอดเลือดฝอย ออกมา
อยู่ระหว่างเซลล์
 ประกอบด้วย เอนไซม์ ฮอร์โมน
กลูโคส ก๊าซ เซลล์เม็ดเลือดขาว ชนิด
Lymphocyte และ monocyte
โปรตีนชนิดโกลบูลิน
 หน้าที่ ล้าเลียงอาหารประเภทไขมัน
ก้าจัดสิ่งแปลกปลอม เป็นตัวกลาง
แลกเปลี่ยนสารระหว่างเซลล์กับหลอด
เลือดฝอย
น้้าเหลือง (LYMPH )
 มีลิ้น
 ปลายสุดเป็น lymphatic
capillary ตันแทรกตามเนื้อเยื่อ
และใน villus ของผนังทางเดิน
อาหาร
 ล้าเลียง lymph (คล้ายกับเลือด
ต่างตรงที่ไม่มี RBC, platelet,
โปรตีนขนาดใหญ่)
 ล้าเลียง lymph เข้าสู่
subclavian vain  superior
vena cava
ท่อน้้าเหลือง/หลอดน้้าเหลือง (LYMPH VESSEL)
ท่อน้้าเหลือง (LYMPH VESSEL)
ท่อน้้าเหลือง (LYMPH VESSEL)
 ก้อนขนาดเล็ก รูปร่างคล้ายถั่ว
 พบกระจายทั่วไปตามทางเดินน้้าเหลือง
 สร้างน้้าเหลือง กรองน้้าเหลือง ดับจับ Ag ที่ปนมากับน้้าเหลือง
ต่อมน้้าเหลือง (LYMPH NODE)
 กลุ่มของต่อมน้้าเหลือง
 3 คู่: คอหอย โคนลิ้น และเพดานปาก
 Lymphocyte ท้าลายจุลินทรีย์ที่ผ่านมา
ในอากาศ
 ติดเชื้อจะบวมแดง เรียกว่า ต่อมทอนซิล
อักเสบ
ต่อมทอนซิล (TONSIL GLAND)
 อยู่ที่ทรวงอก รอบหลอดเลือดใหญ่ของหัวใจ
 สร้าง Thymosin กระตุ้นการสร้างและการเจริญเติบโตของ lymphocyte ชนิด T-cell
 ตัดออกเมื่อเป็นตัวอ่อน ท้าให้สัตว์มีภูมิต้านทานต่้า อ่อนแอ และตาย
 ต่อต้านเชื้อโรค สารแปลกปลอม และอวัยวะที่ปลูกถ่ายจากผู้อื่น
ต่อมไทมัส (THYMUS GLAND)
 ต่อมน้้าเหลืองที่ใหญ่ที่สุด
 ผลิตเซลล์เม็ดเลือดในระยะเอ็มบริโอ
 หลังคลอด: สร้าง Antibody
 ท้าลาย RBC และ Platelet ที่หมดอายุ
 ดักจับ Ag ในกระแสเลือดที่ผ่านมาทาง
splenic artery
 สร้าง Ab เข้าสู่กระแสเลือดโดย B-cell
 ผลิตเซลล์เม็ดเลือดเมื่อเกิดมะเร็งเม็ดเลือด
ม้าม (SPLEEN)
 น้้าเหลืองจากอวัยวะต่างๆ ถูกดูดซึม
เข้าสู่หลอดน้้าเหลืองฝอย ซึ่งแทรกตัว
อยู่ในอวัยวะ
 ผนังของหลอดน้้าเหลืองฝอยเป็นเยื่อ
บุผิว
 เมื่อหลอดน้้าเหลืองฝอยทั่วร่างกายมา
รวมกันจะเป็นหลอดน้้าเหลืองใหญ่ มี
ทั้งด้านซ้ายและด้านขวาแล้วล้าเลียง
น้้าเหลืองกลับสู่เส้นเลือดด้าใหญ่กลับ
สู่หัวใจ
 น้้าเหลืองจะปนไปกับเลือด ไปสู่
อวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
การล้าเลียงน้้าเหลือง
 ตัวกลางในการแลกเปลี่ยนสารและแก๊ส
ระหว่างเซลล์กับเส้นเลือดฝอย
 ช่วยท้าลายแบคทีเรียและสิ่งแปลกปลอม
เข้าสู่ร่างกาย
 ช่วยในการล้าเลียงไขมันจากผนังล้าไส้เข้าสู่
กระแสเลือด
 ช่วยในการน้าสารโปรตีนและสารอื่นๆ ที่
หลุดออกมาจากเส้นเลือดฝอยกลับเข้าสู่
ระบบหมุนเวียนเลือด
 ช่วยสร้างเม็ดเลือดขาวชนิด Lymphocyte
และ monocyte
 ช่วยกรองน้้าเหลือง ท้าลายเชื้อโรค และ
ท้าลายเม็ดเลือดที่หมดอายุ
หน้าที่ของระบบน้้าเหลือง
ระบบภูมิคุ้มกัน (IMMUNE SYSTEM)
 กระบวนการต่อต้านเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย
 ภูมิคุ้มกันของร่างกายมี 2 แบบ คือ ภูมิคุ้มกันก่อเอง (active immunization)
และภูมิคุ้มกันรับมา (passive immunization)
 กลไกการสร้างภูมิคุ้มกันมี 2 แบบ คือ แบบไม่จ้าเพาะ (non-specific defense)
และแบบจ้าเพาะ (specific defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (IMMUNE SYSTEM)
 ร่างกายถูกกระตุ้นจาก antigen
 วัคซีนจากจุลินทรีย์ที่ตายแล้ว เช่นวัคซีนป้องกัน
โรคไอกรน ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค
 วัคซีนจากจุลินทรีย์ที่ถูกท้าให้อ่อนก้าลังลง เช่น
วัคซีนป้องกันโรควัณโรค โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน
คางทูม
 ทอกซอยด์: สารพิษที่ท้าให้หมดสภาพ เช่น โรค
คอตีบ บาดทะยัก
 ข้อดี: เกิดภูมิคุ้มกันอยู่นาน ไม่เกิดการแพ้
 ข้อเสีย: ตอบสนองช้า (ใช้เวลา 4-7 วัน)
ภูมิคุ้มกันก่อเอง (ACTIVE IMMUNIZATION)
 ภูมิคุ้มกันแบบจ้าเพาะ
 รับ antibody เข้าร่างกาย
 เตรียมโดย ฉีดเชื้อโรคที่อ่อนก้าลังเข้าร่างกาย
สัตว์ เพื่อให้สัตว์สร้าง antibody แล้วน้าเลือด
เฉพาะส่วน serum ซึ่งมี antibody มาฉีดให้
ผู้ป่วย
 ต่อต้านเชื้อโรคได้ทันท่วงที
 เช่น ซีรุ่มแก้พิษงู ซีรุ่มคอตีบ ซีรุ่มแก้พิษสุนัขบ้า
 น้้านมน้้าเหลือง ภูมิคุ้มกันจากแม่สู่ลูกโดยผ่าน
ทางรก
 ข้อดี: ตอบสนองทันที
 ข้อเสีย: อาจท้าให้แพ้ อยู่ได้ไม่นาน
ภูมิคุ้มกันรับมา (PASSIVE IMMUNIZATION)
เปรียบเทียบภูมิคุ้มกันก่อเองและภูมิคุ้มกันรับมา
ข้อเปรียบเทียบ ภูมิคุ้มกันก่อเอง ภูมิคุ้มกันรับมา
ความหมาย
การกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดี
โดยการใช้เชื้อโรคที่อ่อนแอลง หรือถูก
กระตุ้นจากสิ่งแวดล้อมโดยตรง
การให้แอนติบอดีกับร่างกาย
โดยตรง ให้เกิดภูมิคุ้มกันทันที
ตัวอย่างภูมิคุ้มกัน
วัคซีนไอกรน ไทฟอยด์ หัด อหิวาตกโรค
วัณโรค โปลิโอ
ทอกซอยด์ของโรคคอตีบและบาดทะยัก
ซีรุ่มแก้พิษงู พิษสุนัขบ้า
ภูมิคุ้มกันที่ทารกได้จากนมแม่
ข้อดี อยู่ได้นาน ตอบสนองได้ไวและทันที
ข้อเสีย ตอบสนองได้ช้า
อยู่ได้ไม่นาน และอาจเกิดการ
แพ้ซีรัมจากสัตว์ได้
กลไกการต่อต้านสิ่งแปลกปลอมแบบไม่
จ้าเพาะเจาะจง (Nonspecific
defense mechanism)
 กลไกการต่อต้านสิ่งแปลกปลอมแบบ
จ้าเพาะเจาะจง (Specific defense
mechanism (immune response
or immune system)
กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน
 Nonspecific defense mechanism
 First line defense
Skin
Mucous membrane
Secretion of skin
 Second line defense
Phagocytic white blood cell
The inflammatory response
Antimicrobial proteins
กลไกการต่อต้านสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จ้าเพาะเจาะจง
 สร้างจากส่วนของร่างกาย
 ผิวหนัง: Keratin ป้องกันการเข้าและ
ออกของสิ่งต่างๆ
 เหงือ: เป็นกรด ยับยั้งการเจริญของ
จุลินทรีย์
 จมูกและหู: เมือก
 ตา: น้้าตา
 ปาก: lysosome ท้าลายจุลินทรีย์หรือ
เชื้อโรค
FIRST LINE DEFENSE
 กระเพาะอาหาร: กรดไฮโดรคลอริก
เอนไซม์ท้าลายจุลินทรีย์
 ช่องคลอด: เมือก cilia ดักจับสิ่ง
แปลกปลอม และพัดออกนอกร่างกาย
 Phagocytic white blood cell
 The inflammatory response
 Antimicrobial proteins
 Natural killer cell
SECOND LINE DEFENSE
1. Monocyte (5% ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด) ออกจากกระแสเลือด แล้วเคลื่อนเข้าสู่
เนื้อเยื่อ และพัฒนาเป็นเซลล์ macrophage มีช่วงชีวิตค่อนข้างยาว
2. Neutrophil (60-70% ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด) มีชีวิต 2-3 วัน สลายไปเมื่อท้าลาย
สิ่งแปลกปลอม
3. Eosinophil (1.5% ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด) ท้าหน้าที่ท้าลายพยาธิขนาดใหญ่
4. Natural Killer cell ท้าลาย virus-infected body cell โดยจับที่เยื่อเซลล์และท้าให้
เซลล์แตก
PHAGOCYTIC WHITE BLOOD CELL
 การท้าลายเชื้อโรคและเศษเซลล์ ซ่อมแซมบริเวณบาดแผล
 เกิดบาดแผล basophil ในเลือดและ mast cell ที่เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน หลั่ง histamine
และ prostaglandin ท้าให้หลอดเลือดขยายตัว เลือดไหลมากขึ้น เม็ดเลือดขาว และสาร
ที่ท้าให้เลือดแข็งตัวเคลื่อนที่มายังบาดแผลได้มากและเร็ว
 Neutrophil เปลี่ยนเป็น macrophage ท้าหน้าที่ phagocytosis เชื้อโรคและเศษเซลล์
 เลือดแข็งตัว ปากแผลปิด
 อาการอักเสบ ประกอบด้วยผื่นแดง ร้อน บวม เนื่องจากของเหลวออกจากหลอดเลือด
และเจ็บปวด
THE INFLAMMATORY RESPONSE (ตอบสนองโดยการอักเสบ)
 โปรตีนในเลือดที่ท้าลายเชื้อจุลินทรีย์ได้
ได้แก่ lysozyme, complement
system, interferon
 complement system : กลุ่มของโปรตีน
ในเลือด จับที่ผิวของ antigen ท้าให้ผิว
เซลล์ของ antigen เสียสภาพและตาย
 Interferon: หลั่งออกมาจากเซลล์ที่ติดเชื้อ
ไวรัส ป้องกันการรุกรานไปยังเซลล์อื่นที่เป็น
เซลล์ปกติ
ANTIMICROBIAL PROTEINS (โปรตีนต้านจุลชีพ)
 Lymphocyte ชนิดหนึ่ง
 ถูกสร้างในไขกระดูกและเจริญในกระแสเลือด
 ก้าจัดเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัสหรือเซลล์มะเร็งในร่างกาย
NATURAL KILLER CELL
 Specific defense
mechanism (immune
response or immune
system)
 Humoral immune
response (การก้าจัดสิ่ง
แปลกปลอมโดยการหลั่ง
แอนติบอดี)
 Cell-mediated
immune response
(การก้าจัดสิ่งแปลกปลอม
โดยใช้เซลล์เป็นตัวกลาง)
กลไกการต่อต้านสิ่งแปลกปลอมแบบจ้าเพาะเจาะจง
 เกี่ยวข้องกับเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด lymphocyte ของเซลล์บี (B-cell) และเซลล์ที
(T-cell หรือ CD4+)
SPECIFIC DEFENSE MECHANISM
 Lymphocytes แบ่งได้ 2 ชนิด คือ B
lymphocyte และ T lymphocyte
 เจริญจากเซลล์ตั้งต้นชนิดเดียวกัน คือ
Pluripotent stem cell ใน bone marrow
 เซลล์ที่ยังเจริญต่อใน bone marrow สุดท้ายได้
B lymphocyte
 ถ้า lymphocyte stem cell เคลื่อนไปและเกิด
maturation ที่ต่อมไทมัส (thymus gland) จะ
ได้ T cell
 lymphocytes ทั้งสองชนิดจะเคลื่อนไปอยู่ที่
lymphoid tissue เช่น tonsil, lymph node,
spleen
เซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน
LYMPHOCYTES
1. Ag จับกับ Ag receptor บน B cell หนึ่งๆ
2. B cell ที่มี receptor ที่จ้าเพาะต่อ Ag
นั้นจะเพิ่มจ้านวนได้เป็น clone
3. บางเซลล์พัฒนาไปเป็น short-lived
plasma cell และหลั่ง Ab
4. บางเซลล์พัฒนาไปเป็น long-lived memory cell ที่จะท้าให้เกิดการตอบสนอง
อย่างรวดเร็วเมื่อร่างกายได้รับ Ag เดิม
 T หรือ B cell แต่ละเซลล์จ้าเพาะต่อ Ag แต่ละตัว
 การเพิ่มจ้านวนของ Lymphocytes หลังเผชิญกับ Ag ครั้งแรก ใช้เวลา 10-17 วัน เรียก
การตอบสนองระยะแรกว่า primary immune response ได้เซลล์ 2 ชนิดคือ plasma
cell (B cell) & effector T cell (T cell) และ long-lived memory cells
 ร่างกายเผชิญกับ Ag เดิมอีก จะเกิดการตอบสนองเรียก secondary immune
response ใช้เวลาตอบสนองสั้นลง 2-7 วัน
IMMUNOLOGICAL MEMORY
 Antigen เข้าสู่ร่างกายและถูกท้าลาย
โดย phagocytosis
 ชิ้นส่วนของ antigen (Ag) ที่ถูก
phagocyte ท้าลายกระตุ้นให้ B-cell
เพิ่มจ้านวน
 B-cell เปลี่ยนไปท้าหน้าที่สร้าง
antibody (Ab) ที่จ้าเพาะต่อ
antigen เรียกว่า plasma cell และ
memory cell
memory cell: จดจ้า antigen
ถ้ามี antigen เดิมเข้ามาใน
ร่างกายอีกครั้ง memory cell จะ
แบ่งเซลล์เป็น plasma cell
ท้าลายเชื้อโรคนั้น
plasma cell: สร้าง antibody ที่
จ้าเพาะต่อ antigen
HUMORAL IMMUNE RESPONSE
 Epitope or antigenic determinant เป็นส่วนของ Ag ที่ Ab เข้าไปจับ (Ab จะใช้
ส่วน antigen binding site ในการจับ)
 แบคทีเรียตัวหนึ่ง ๆ อาจมี epitope ส้าหรับจับกับ Ab ได้ถึง 4 ล้านโมเลกุล
โครงสร้างและหน้าที่ของ ANTIBODY
 Ab เป็นโปรตีนชนิด immunoglobulin (Ig)
 โมเลกุลรูปตัว Y
 ส่วนที่เกาะกับ Ag มี 2 ข้าง แต่ละข้างมี 2 แขน แขนสั้นเรียก light chain แขนยาว
เรียก heavy chain
 C ล้าดับกรดอะมิโนคงที่ ส่วน V ล้าดับกรดอะมิโนแตกต่างตาม Ab แต่ละตัว
 V ให้ epitope ของ Ag มาเกาะ
โครงสร้างและหน้าที่ของ ANTIBODY
 Ig M (pentamer): เป็น Ig ที่พบเป็นชนิดแรกเมื่อ
expose กับ Ag พบครั้งแรกในปลาฉลามและปลา
กระดูกแข็ง ขนาดใหญ่ ไม่สามารถผ่านเข้าไปในรก
ได้
 Ig G (monomer): พบมากในกระแสเลือด ผ่าน
เข้าไปในรกได้ ท้าลายแบกทีเรีย, ไวรัส และ toxin
 Ig A (dimer): พบใน mucous และ colostrum
ป้องกันการจับของไวรัส และแบคทีเรียต่อ
epithelial surface
 Ig D (monomer): พบมากที่ผิวของ B cell คาด
ว่าช่วยกระตุ้นการเปลี่ยนจาก B cell ไปเป็น
plasma cell & memory B cell
 Ig E (monomer): จับอยู่ที่ mast cell &
basophil เมื่อถูกกระตุ้นโดย Ag ท้าให้เกิดการหลั่ง
histamine หรือสารที่ก่อให้เกิดอาการแพ้
Immunoglobulin (Ig)
 Ab จับกับ Ag เป็น ag-ab complex โดยวิธี agglutination แล้วส่งต่อให้ macrophage
ท้าลาย โดยวิธี phagocytosis หรือ เป็น complex โดยวิธี complement fixation แล้ว
ส่งต่อให้ complement pathway เพื่อท้าให้เซลล์แตก (cell lysis)
การก้าจัด ANTIGEN ของ ANTIBODY
T-cell
ภายในต่อมไทมัส lymphocyte stem cell เจริญไปเป็น T-cell 3 ชนิด
1. เซลล์ทีผู้ช่วย (Helper-T-cell / TH): กระตุ้น lymphocyte ชนิด B ให้สร้าง
antibody ที่จ้าเพาะต่อ Antigen และท้าหน้าที่กระตุ้นการท้างานของ T-cell ชนิดอื่น
2. เซลล์ทีท้าลายสิ่งแปลกปลอม (Cytotoxic T-cell / Tc / CD8+ / Killer cell):
ท้าลายเซลล์แปลกปลอม เช่น เซลล์มะเร็ง เซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส และเซลล์อวัยวะที่ได้รับ
การปลูกถ่าย
3. เซลล์ทีกดภูมิคุ้มกัน (Suppressor T-cell /Ts): ควบคุมการตอบสนองทาง
ภูมิคุ้มกันให้อยู่ในสภาวะสมดุล โดยสร้างสารไปกดการท้างานของ B-cell และ T-cell
ชนิด TH และ Tc
CELL-MEDIATED IMMUNE RESPONSE
 1. ร่างกายได้รับการติดเชื้อ และมีแอนติเจนแปลกปลอมเข้ามาในร่างกาย
 2. Helper T cell เข้าจับกับแอนติเจนของสิ่งแปลกปลอมเพื่อระบุชนิดของ
แอนติเจนที่เข้ามาในร่างกาย
 3. Helper T cell กระตุ้น B cell ให้เปลี่ยนเป็น plasma cell เพื่อหลั่ง
แอนติบอดีออกมาก้าจัดสิ่งแปลกปลอม
 4. Helper T cell กระตุ้น cytotoxic T cell ให้หลั่งสาร/เอนไซม์ ย่อยเซลล์ที่
เกิดการติดเชื้อหรือเซลล์ผิดปกติ เพื่อป้องกันการลุกลามไปยังเซลล์อื่นๆ
การท้างานของเซลล์ ที
SPECIFIC DEFENSE MECHANISM
 ความต้านทานตามธรรมชาติของแต่ละ
บุคคล
 สุขภาพทั่วไปของร่างกาย เช่น สภาพ
ร่างกาย ความเหนื่อย ความเครียด
 อายุ และเพศ
 ภาวะทุพโภชนาการหรือการขาด
สารอาหาร เช่นการขาดวิตามินเอและ
วิตามินซี ท้าให้การท้างานของเม็ดเลือด
ขาวลดลง
 อาชีพ การท้างานและชนิดของงานที่ท้า
 ความเป็นอยู่ทางสังคมและเศรษฐกิจ
ปัจจัยที่มีผลต่อการท้างานของระบบภูมิคุ้มกัน
แนวข้อสอบ เรื่องระบบภูมิคุ้มกัน
1. จะไม่พบการก้าจัดสิ่งแปลกปลอมโดยวิธี phagocytosis ในเซลล์เม็ด
เลือดขาวชนิดใด
ก. Lymphocyte
ข. eosinophil
ค. Neutrophil
ง. Monocyte
2. การให้วัคซีนป้องกันโรคบาดทะยักแก่เด็กทารก เนื่องจากวัคซีนกระตุ้นให้
ร่างกายผลิตอะไร
ก. นิวโทรฟิล
ข. พรอสตาแกลนดิน
ค. เซลล์ที ชนิดเซลล์ผู้ช่วย
ง. เซลล์บี ชนิดเซลล์ความจ้า
3. จากการตรวจวินิจฉัยคนไข้รายหนึ่งพบว่า คนไข้สามารถผลิตแอนติบอดี
ต่อต้านการติดเชื้อแบคทีเรียแต่ไม่สามารถผลิตแอนติบอดีต่อต้านการติดเชื้อ
ไวรัสได้ ข้อใดแสดงองค์ประกอบที่ผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของคนไข้รายนี้
ก. เซลล์ ที
ข. เซลล์ บี
ค. แมคโครเฟจ
ง. พลาสมาเซลล์
4. ส่วนประกอบชนิดใดของเลือด มีอายุยาวนานที่สุด
ก. Eosinophil
ข. Basophil
ค. Erythrocyte
ง. Platelet
5. ข้อใดเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันที่แตกต่างจากพวก
ก. อดิศักดิ์ติดเชื้อไข้หวัดจากเพื่อน
ข. เกียรติยศฉีดวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใส
ค. ปิยะนุชได้รับทอกซอยด์เชื้อโรค
ง. ทารกแรกเกิดดื่มน้้านมแม่จนครบสามเดือน
จ. สมคิดหยอดวัคซีนโปลิโอ
6. ข้อใดเป็นการป้องกันหรือท้าลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายเป็นด่าน
แรก
ก. การสร้างแอนติบอดีของเม็ดเลือดขาว
ข. การตักจับท้าลายแบบฟาโกไซโทซิส
ค. การปล่อยสารฮิสตามีนของเซลล์
ง. การหลั่งน้้ามูกและไขมันในข่องหู
จ. การอักเสบของเนื้อเยื่อที่เสียหาย
7. เหตุใดเมื่อร่างกายได้รับเชื้อมาแล้วครั้งหนึ่งจึงสามารถต้านทานเชื้อชนิด
เดียวกันได้ทันทีเมื่อมีการติดเชื้อครั้งที่สอง
ก. ระบบสร้างเมมโมรีเซลล์จดจ้าแอนติเจนตัวเดิม
ข. หัวใจเต้นเร็วขึ้นเพื่อเร่งการท้างานของระบบหายใจและระบบ
ขับถ่าย
ค. ฮิสตามีนถูกส่งเข้าระบบหมุนเวียนมากขึ้นเพื่อท้าลายแอนติเจน
ง. ระบบน้้าเหลืองเร่งการสะสมเม็ดเลือดขาวที่ต่อมน้้าเหลือง
จ. อวัยวะน้้าเหลืองเกิดการพัฒนาอย่างรวดเร็วเพื่อท้าลายเชื้อโรค
8. อวัยวะน้้าเหลืองในข้อใดสัมพันธ์กับระบบหมุนเวียนเลือด
ก. ม้าม
ข. ต่อมไทมัส
ค. ทอนซิล
ง. ต่อมไทมัสและม้าม
จ. ม้าม ต่อมไทมัส และทอนซิล
9. นายทรงยศได้รับสาร ก หลังจากนั้นน้าเลือดมาตรวจ พบว่าจ้านวนของ
เซลล์ ข มีจ้านวนเพิ่มขึ้นกว่าเดิม หนึ่งเดือนต่อมาน้าเลือดไปตรวจอีกครั้ง
พบว่าเซลล์ ข ในร่างกายสามารถผลิตสาร ค ที่ใช้ต่อต้านสาร ก ได้ จาก
ข้อมูลข้างต้นเป็นกระบวนการสร้างภูมิคุ้มกันแบบใด สาร ก และ ค คืออะไร
ตามล้าดับ
ก. แบบก่อเอง แอนติบอดี และแอนติเจน
ข. แบบก่อเอง ทอกซอยด์ และแอนติบอดี
ค. แบบก่อเอง แอนติเจน และทอกซอยด์
ง. แบบรับมา แอนติบอดี และแอนติเจน
จ. แบบรับมา ทอกซอยด์ และแอนติเจน
10. การฉีดเซรุ่มแก้พิษงูใกล้เคียงกับข้อใดมากที่สุด
ก. การดูดน้้านมของทารกจากมารดา
ข. การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่
ค. การโดนสุนัขบ้ากัด
ง. การติดเชื้อ HIV
จ. การติดเชื้อตับอักเสบ

More Related Content

What's hot

ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)

ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemkasidid20309
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)pitsanu duangkartok
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxBewwyKh1
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันJurarud Porkhum
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนPawat Logessathien
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10Bios Logos
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.comระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.comผู้ชายบ้านๆ รักอิสระ
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
9789740333494
97897403334949789740333494
9789740333494CUPress
 
Testing of Synthetic Blood Group Antigens MUT/Mur Kodecytes with Anti-Mia in ...
Testing of Synthetic Blood Group Antigens MUT/Mur Kodecytes with Anti-Mia in ...Testing of Synthetic Blood Group Antigens MUT/Mur Kodecytes with Anti-Mia in ...
Testing of Synthetic Blood Group Antigens MUT/Mur Kodecytes with Anti-Mia in ...Kallaya Kerdkaewngam
 
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.Jurarud Porkhum
 

Similar to ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560) (20)

ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 
Immune2551
Immune2551Immune2551
Immune2551
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.comระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
 
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่มอีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
 
9789740333494
97897403334949789740333494
9789740333494
 
Testing of Synthetic Blood Group Antigens MUT/Mur Kodecytes with Anti-Mia in ...
Testing of Synthetic Blood Group Antigens MUT/Mur Kodecytes with Anti-Mia in ...Testing of Synthetic Blood Group Antigens MUT/Mur Kodecytes with Anti-Mia in ...
Testing of Synthetic Blood Group Antigens MUT/Mur Kodecytes with Anti-Mia in ...
 
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
 

More from Thitaree Samphao

ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต Thitaree Samphao
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 

More from Thitaree Samphao (6)

ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)