SlideShare a Scribd company logo
1 of 153
Download to read offline
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิตหนวยของสงมชวตหนวยของสงมชวต
1
เซลล์เซลล์ ((cellcell))เซลลเซลล ((cellcell))
คือ หน่วยที่เล็กที่สุดุ
ของสิ่งมีชีวิต
2
GENERAL BODY ORGANIZATION IN ANIMALSGENERAL BODY ORGANIZATION IN ANIMALS
-สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) มีการจัดเรียงตัวของหน่วยต่าง ๆ
เป็นลําดับขั้นดังนี้เปนลาดบขนดงน
-เซลล์เป็นหน่วยย่อยที่เล็ก
ที่สด
เซลล์
ทสุด
-ในแต่ละลําดับขั้นจะมีการ
ํ ่ ั ่ ป็
เนื้อเยื่อ
ทํางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ อวัยวะ
ระบบอวัยวะ
สิ่งมีชีวิตหนึ่งหน่วย
3
Robert HookeRobert HookeRobert HookeRobert Hooke
• เป็นคนแรกที่เห็นเซลล์จาก
การใช้กล้องจุลทรรศน์
ชนิดเลนส์ประกอบ ที่ชนดเลนสประกอบ ท
ประดิษฐ์ขึ้นเอง
• ศึกษาไม้คอร์กภาพที่เห็น
ป็ ้ ี่ ี่เป็นห้องสีเหลียมกลวงๆ
คล้ายรังผึ้ง ได้ตั้งชื่อสิ่งที่
มองเห็นว่า เซลลูเล
(cellulae) เป็นเซลล์ที่
4
(cellulae) เปนเซลลท
ตายแล้ว
Anton van LeewenhoekAnton van LeewenhoekAnton van LeewenhoekAnton van Leewenhoek
• มองเป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิต
เป็นคนแรก โดยเรียกสิ่ง
ที่เห็นว่าทเหนวา
animalicules ซึ่ง
์ ็หมายถึง สัตว์ตัวเล็กๆ
5
Matthias Jakop SchleidenMatthias Jakop Schleiden และและ TheodorTheodorMatthias Jakop SchleidenMatthias Jakop Schleiden และและ TheodorTheodor
SchwannSchwann
• เสนอทฤษฏีเซลล์(cell theory) ว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย
้ ้ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ และเซลล์คือหน่วยพื้นฐานของ
สิ่งมีชีวิตทกชนิดสงมชวตทุกชนด
6Matthias Jakop Schleiden Theodor Schwann
ปัจจุบันยังครอบคลุมถึงใจความสําคัญปัจจุบันยังครอบคลุมถึงใจความสําคัญ 33 ประการประการ
1. สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอาจมีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ และ
ภายในเซลล์มีสารพันธุกรรมและมีกระบวนการเมทาบอลิ
ซึมซม
2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการ
จัดระบบการทํางาภายในเซลล์และโครงสร้างเซลล์
3 ์ ่ ี ํ ิ ์ ิ่ โ ่ ์3. เซลล์ต่างๆมีกําเนิดมาจากเซลล์เริมแรกโดยการแบ่งเซลล์
ของเซลล์เดิม
7
์การศึกษาเซลล์
ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ ทําให้สามารถเห็น
ี โ ้ ์รายละเอียดโครงสร้างของเซลล์
ศึ ้ ิ ี ชิ้ ส่ ซ ์โ ี่ศกษาดวยวธแยกชนสวนของเซลลโดยการเหวยง
ด้วยความเร็วที่ต่างๆกัน organelles ที่แยก
ออกมาสามารถนําไปศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของ
มันมน
8
กล้องจลทรรศน์กล้องจลทรรศน์กลองจุลทรรศนกลองจุลทรรศน
EyepieceEyepiece
ArmArmRevolving nosepieceRevolving nosepiece
ObjectiveObjective Mechanical stageMechanical stage
StageStage Fine adjustmentFine adjustment
CondenserCondenser
Course adjustmentCourse adjustment
BaseBase IlluminatorIlluminator
9
Different Types of Light Microscope: A ComparisonDifferent Types of Light Microscope: A Comparison
Brightfield
Phase contrast
(unstained
specimen)
Phase-contrast
Brightfield
( t i d
Differential-
interference-(stained
specimen)
interference-
contrast
(Nomarski)(Nomarski)
ConfocalFluorescene Confocal
10Human Cheek Epithelial Cells
Electron micrographsElectron micrographs
Transmission electron
micrographs (TEM)
Scanning electron
micrographs (SEM)
11
CellCell FractionationFractionation
วิธีการแยกชิ้นส่วนของเซลล์ทําได้โดยการเหวี่ยงด้วยความเร็วที่
ต่างๆกัน organelles ที่แยกออกมาสามารถนําไปศึกษาโครงสร้างตางๆกน organelles ทแยกออกมาสามารถนาไปศกษาโครงสราง
และหน้าที่ของมัน
12
The size range ofThe size range ofgg
cellscells
ชนิดของเซลล์ เส้นผ่าศนย์กลางเสนผาศูนยกลาง
Myoplasmas 0.1 - 1.0 ไมครอน
แบคทีเรีย
ส่วนใหญ่ของ
1.0 - 10.0 ไมครอน
10 0 100 0สวนใหญของ
eukaryotic cell
10.0 - 100.0
ไมครอน
13
Prokaryotic and Eukaryotic cellProkaryotic and Eukaryotic cell
สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์ เซลล์แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1. prokaryotic cell
2. eukaryotic cell
ีโ ้ ่ ั ั้ ี้มีโครงสร้างแตกต่างกัน ดังนี
14
Prokaryotic cellProkaryotic cell
(pro=before; karyon=kernel)(pro=before; karyon=kernel)
พบเฉพาะใน Kingdom Monera
ไม่มีนิวเคลียสแท้จริง(มีโครโมโซมเพียงเส้นเดียว เป็น
วงแหวน) ไม่มีเยื่อห้มนิวเคลียสวงแหวน), ไมมเยอหุมนวเคลยส
สารพันธกรรมอย่ในบริเวณที่เรียกว่า nucleoidสารพนธุกรรมอยูในบรเวณทเรยกวา nucleoid
ไม่มี organelles ที่มีเยื่อห้ม มีเฉพาะ ribosomeไมม organelles ทมเยอหุม มเฉพาะ ribosome
ชนิด 70s
15
ได้แก่ bacteria,blue green algae
A prokaryotic cellA prokaryotic cellA prokaryotic cellA prokaryotic cell
16
Eukaryotic cellEukaryotic cellyy
(eu=true; karyon=kernel)
พบใน Kingdoms Protista, Fungi, Plante และ
AnimaliaAnimalia
มีนิวเคลียสที่แท้จริง, หุ้มด้วยเยื่อหุ้มนิวเคลียส, ุ ุ
สารพันธุกรรมอยู่ในนิวเคลียส
ภายใน cytoplasm ประกอบด้วย cytosol และมี
organelles ี่ ี ื่ ้organelles ทมเยอหุม
Cytoplasm =Cytoplasm = บริเวณภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นส่วนของนิวเคลียสบริเวณภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นส่วนของนิวเคลียส
17
y py p
Cytosol =Cytosol = สารกิ่งของเหลงภายในสารกิ่งของเหลงภายใน cytoplasmcytoplasm
การบ้าน ให้นักเรียนค้นคว้าข้อแตกต่างระหว่างการบ้าน ให้นักเรียนค้นคว้าข้อแตกต่างระหว่าง 22 กลุ่มนี้กลุ่มนี้
โครงสร้าง Prokaryotic cell Eukaryotic celly y
11.
2.
3.
4.
18
Geometric relationshipsGeometric relationships
explain why most cell are
microscopicmicroscopic
19
ขนาดของเซลล์มีข้อจํากัดโดยขนาดของเซลลมขอจากดโดย
เซลล์ที่มีขนาดเล็กจะต้องมีขนาดที่สามารถบรรจ DNA ไรโบเซลลทมขนาดเลกจะตองมขนาดทสามารถบรรจุ DNA ไรโบ
โซม เอนไซม์ และองค์ประกอบภายในเซลล์ที่สําคัญเพียงพอที่จะ
ิซึ ื่ ํ ่ ซ ์ไ ้ควบคุมเมตาบอรซมเพอการดารงอยูของเซลลได
เซลล์ที่มีขนาดใหญ่จะต้องมีพื้นผิวเซลล์เพียงพอสําหรับการเซลลทมขนาดใหญจะตองมพนผวเซลลเพยงพอสาหรบการ
แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจน สารอาหาร และของเสียภายในเซลล์
แม้ว่าเซลล์ขนาดใหญ่มีพื้นที่ผิวมากกว่าเซลล์ขนาดเล็กก็จริง แต่แมวาเซลลขนาดใหญมพนทผวมากกวาเซลลขนาดเลกกจรง แต
เซลล์ขนาดใหญ่ก็มีอัตราส่วนของพื้นที่ผิวต่อปริมาตรน้อยกว่าเซลล์
็ ่ ์ ้ ้ ่ขนาดเล็กที่มีรูปร่างเซลล์เหมือนกัน ดังนั้นอัตราส่วนของพื้นที่ผิว
เซลล์ต่อปริมาตรจะเป็นตัวกําหนดขนาดของเซลล์
20
เซลล์มีส่วนประกอบอย่างไรเซลล์มีส่วนประกอบอย่างไรเซลลมสวนประกอบอยางไรเซลลมสวนประกอบอยางไร
A B
21
A B
animal cellanimal cellanimal cellanimal cell
22
plant cellplant cellplant cellplant cell
23
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีองค์ประกอบภายในเซลล์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีองค์ประกอบภายในเซลล์
แตกต่างกันอย่างไรแตกต่างกันอย่างไร ??
24
เยื่อห้มเซลล์เยื่อห้มเซลล์ (Cell membrane)(Cell membrane)เยอหุมเซลลเยอหุมเซลล (Cell membrane)(Cell membrane)
• Plasma membrane
• Cytoplasmic membrane
ทําหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่านทาหนาทเปนเยอเลอกผาน
- Semipermeable membranep
- Differentially membrane
S l i l bl b- Selectively permeable membrane
25
The plasma membraneThe plasma membranepp
26
ความสําคัญของการแบ่งส่วนย่อยภายในไซโตพลาสซึม
ภายในไซโตพลาสซึมของ eukaryotic cell มีความ
ซับซ้อนในเรื่องโครงสร้างเพื่อให้อัตราส่วนของพื้นที่ผิวต่อซบซอนในเรองโครงสรางเพอใหอตราสวนของพนทผวตอ
ปริมาตรพอเหมาะต่อความต้องการในการทํางานของเซลล์
โดยมีเยื่อภายในเซลล์ (internal membrane) ซึ่งมี
บทบาทสําคัญ คือบทบาทสาคญ คอ
27
แบ่งไซโตพลาสซึมเป็นส่วนย่อยๆ (compartment)ๆ ( p )
ภายในส่วนย่อยๆแต่ละส่วนมีของเหลวหรือโปรตีนที่
เฉพาะเจาะจงต่อปฏิกิริยาชีวเคมีที่แตกต่างกัน
ี ํ ั ่ ิ ิ ึ ์ ี่ ื่ ีมีบทบาทสําคัญต่อการเกิดเมตาบอริซึมของเซลล์ เพราะทีเยือมี
เอนไซม์หลายชนิดเป็นส่วนประกอบอยู่
ภายในส่วนย่อยมีสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันซึ่งมีความ
่ ิ ึเฉพาะเจาะจงต่อกระบวนการเมตาบอริซึม
กระบวนการเมตาบอริซึมแต่ละอย่างสามารถดําเนินไปได้กระบวนการเมตาบอรซมแตละอยางสามารถดาเนนไปได
พร้อมๆกันภายในเซลล์เดียวกัน โดยไม่เกิดการรบกวนซึ่งกันและ
ั
28
กัน
หน้าที่ของหน้าที่ของ cell membranecell membraneหนาทของหนาทของ cell membranecell membrane
• ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร อาจเปลี่ยนรูปร่างเป็นไมโครวิลไลุ ู
และเยื่อไมอีลิน
29
นิวเคลียส (nucleus)
เป็นออร์แกเนลล์ขนาดใหญ่ที่มีเยื่อห้มนิวเคลียส
นวเคลยส (nucleus)
เปนออรแกเนลลขนาดใหญทมเยอหุมนวเคลยส
แยกออกจากไซโตพลาสซึมในเซลล์พวกยูคาริโอต ภายใน
่ ่บรรจุยีนซึ่งควบคุมการทํางานของเซลล์ มีขนาดโดยเฉลี่ย
ประมาณ 5 ไมครอนประมาณ 5 ไมครอน
30
The nucleusThe nucleusThe nucleusThe nucleus
and theand the
envelopeenvelope
31
Nuclear envelope มีลักษณะดังนี้Nuclear envelope มลกษณะดงน
เป็นเยื่อ 2 ชั้น มีช่องว่างตรงกลางกว้างประมาณ 20-40 nm
มีรู (nuclear pores) แทรกอยู่ทั่วไป เป็นทางให้สารต่างๆ
โดยเฉพาะ rRNA, mRNA และ nucleoprotein ผ่านเข้า
ออกได้
ผิวด้านในของเยื่อหุ้มนิวเคลียสมีชั้นบางๆของโปรตีนยึดติดอยู่
้ ้ความสําคัญของชั้นนี้ยังไม่ทราบแน่ชัด อาจช่วยรักษารูปทรงของ
นิวเคลียส
ภายในนิวเคลียสบรรจุสารพันธุกรรมที่อยู่ในรูปของโมเลกุล
่ ็ 32
DNA ที่จับกับโมเลกุลของโปรตีน เป็นโครโมโซม
NucleolusNucleolus
มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กในนิวเคลียส ใน
NucleolusNucleolus
มลกษณะเปนเมดกลมขนาดเลกในนวเคลยส ใน
หนึ่งเซลล์อาจมีหนึ่งหรือสองเม็ด มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่
มีการแบ่งตัว ประกอบด้วย nucleolar organizers
และ ribosome ที่กําลังสร้างขึ้น nucleolus ทําและ ribosome ทกาลงสรางขน nucleolus ทา
หน้าที่สร้าง ribosome
33
นิวเคลียสทําหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีนในไซโตพลาสซึมนิวเคลียสทําหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีนในไซโตพลาสซึม
Messenger RNA (mRNA) transcribed in the nucleus
from DNA instructions
⇓⇓
Passes through nuclear pores into cytoplasmg p y p
⇓
Attaches to ribosomes where the genetic message
is translated into primary structureis translated into primary structure
34
chromatinchromatinchromatinchromatin
• ประกอบด้วยโปรตีน กับ
DNA
35
RibosomesRibosomesRibosomesRibosomes
เป็น organelles ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ทําหน้าที่สร้างโปรตีน มี 2 ส่วนย่อย
้ ใ ์ ี่ ี ้ โป ี ่(subunit) สร้างจาก nucleolus ในเซลล์ทีมีการสร้างโปรตีนสูงจะพบว่า
มี nucleolus และ ribosome เป็นจํานวนมาก ตัวอย่างเช่นในเซลล์ตับ
36
ของคนมี ribosome จํานวนมากและมี nucleolus ที่เด่นชัดมาก
Rib ี 2 ิ ืRibosome มี 2 ชนิดคือ
1 free ribosomes ทําหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน1. free ribosomes ทาหนาทสรางโปรตนทใชใน
cytosol เช่น เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับเมตาบอริซึมใน
t lcytoplasm
2 bound ribosomes เป็น ribosome ที่เกาะอย่2. bound ribosomes เปน ribosome ทเกาะอยู
ด้านผิวนอกของ ER ทําหน้าที่สร้างโปรตีนที่จะถูกส่งต่อไปรวมกับ
organelles ื่ โป ี ี่ ่ ไปใ ้ ์ ใorganelles อืนๆ และโปรตีนทีจะถูกสงออกไปใชนอกเซลล ใน
เซลล์ที่สร้างโปรตีน เช่น เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมอื่นที่สร้างนํ้าย่อย
จะมี bound ribosomes เป็นจํานวนมาก
37
The Endomembrane systemThe Endomembrane system
ประกอบด้วย
1. Nuclear envelop
2. Endoplasmic reticulum
3. Golgi apparatus
4. Lysosomes
5 V l5. Vacuoles
6 Plasma membrane
38
6. Plasma membrane
Endoplasmic reticulum (ER)
(Endoplasmic = อยู่ในไซโตพลาสซึม,
reticulum = ร่างแห)
เป็น organelles ที่มีเยื่อหุ้ม มี
ลักษณะเป็นท่อแบนหรือกลม กระจายอยู่ใน
cytosol ช่องภายในท่อเรียกว่า cisternal
space ซึ่งท่อนี้มีการเชื่อมติดต่อกับช่องว่าง
ที่อย่ระหว่างเยื่อห้มนิวเคลียสชั้นนอกและทอยูระหวางเยอหุมนวเคลยสชนนอกและ
ชั้นในด้วย
39
ER มี 2 ชนิด คือER ม 2 ชนด คอ
1. Rough endoplasmic reticulum (RER)g p ( )
มีไรโบโซมเกาะติดอยู่ที่เยื่อหุ้มด้านนอกทําให้มองเห็นขรุขระ ทํา
้ ี่ ้ โ ี ี่ ไ ์ ( dหน้าทีสร้างโปรตีนทีส่งออกไปนอกเซลล์ (secondary
protein) โดยไรโบโซมที่เกาะอยู่นี้สร้างโปรตีน แล้วผ่านเยื่อของ
ER เข้าไปใน cisternal space แล้วหลุดออกไปจาก ER
เป็น transport vesicle ส่งออกไปใช้ภายนอกเซลล์โดยตรงเปน transport vesicle สงออกไปใชภายนอกเซลลโดยตรง
หรือนําไปเชื่อมกับเยื่อของ Golgi complex เพื่อเพิ่ม
คาร์โบไฮเดรตแก่โปรตีนที่สร้างขึ้นกลายเป็น glycoproteinคารโบไฮเดรตแกโปรตนทสรางขนกลายเปน glycoprotein
ก่อนส่งออกไปใช้ภายนอกเซลล์
40
Rough endoplasmic reticulum (RER)Rough endoplasmic reticulum (RER)
41
2 S th d l i ti l (SER)2. Smooth endoplasmic reticulum (SER)
•ไม่มีไรโบโซมมาเกาะที่เยื่อห้มด้านนอก จึงมองเห็นเป็นผิวไมมไรโบโซมมาเกาะทเยอหุมดานนอก จงมองเหนเปนผว
เรียบๆ ท่อของ SER เชื่อมติดต่อกับ RER ได้
•SER ไม่เกี่ยวกับการสร้างโปรตีน ส่วนใหญ่มีความสําคัญ
เกี่ยวกับการสร้างฮอร์โมนชนิดสเตอรอยด์ และไขมันเกยวกบการสรางฮอรโมนชนดสเตอรอยด และไขมน
•ลดความเป็นพิษของสารพิษ
•ในเซลล์กล้ามเนื้อ SER ทําหน้าที่ควบคุมการเก็บและปล่อย
่ ่ ้แคลเซี่ยมเพื่อควบคุมการทํางานของเซลล์กล้ามเนื้อ เป็นต้น
42
(SER)(SER)
43
The Golgi apparatusThe Golgi apparatusThe Golgi apparatusThe Golgi apparatus
44
Golgi complexGolgi complexGolgi complexGolgi complex
มีลักษณะเป็นถงแบนหลายถงเรียงซ้อนกัน เรียกว่าุ ุ
Golgi cisternar บริเวณตรงกลางเป็นท่อแคบและปลายสอง
ข้างโป่งออก และมีกล่มของถงกลม (vesicles) อย่รอบๆขางโปงออก และมกลุมของถุงกลม (vesicles) อยูรอบๆ
Golgi complex มีโครงสร้างที่เป็น 2 หน้า คือ cis face
t f ี่ ํ ้ ี่ ั ่ i f ป็ ่และ trans face ทีทําหน้าทีรับและส่ง cis face เป็นส่วนของ
ถุงแบนที่นูนอยู่ใกล้กับ ER transport vesicles ที่ถูกสร้าง
มาจาก RER เคลื่อนที่เข้ามารวมกับ Golgi complex
ทางด้าน cis face ส่วน trans face เป็นด้านที่เว้าของถุงุ
แบน เป็นด้านที่สร้าง vesicles และหลุดออกไป
45
หน้าที่ของ Golgi complex คือg p
เสริมสร้างคาร์โบไฮเดรดให้กับโปรตีนที่สร้างมาจาก RER ให้
เป็น glycoprotein เพื่อส่งออกไปภายนอกเซลล์
็ ิ่ ี่ ์ ้ ึ้ โ ็ ไ ้ ใเก็บสะสมและกระจายสิงทีเซลล์สร้างขึน โดยเก็บไว้ภายใน
secondary granules เพื่อส่งออกนอกเซลล์ โดยกระบวนการ
exocytosis
้ i l ึ่ h d l tiสร้าง primary lysosomes ซึงบรรจุ hydrolytic
enzymes นํ้าย่อยเหล่านี้มักเป็นพวก glycoprotein โดยมี
การเติมคาร์โบไฮเดรตที่ Golgi complex
ี่ ั ้ ั ้ ์ ( b fl )
46
เกียวกับการสร้างผนังหุ้มเซลล์ (membrane flow)
47
LysosomesLysosomesLysosomesLysosomes
(a) Lysosomes in a white blood cell(a) Lysosomes in a white blood cell
48
(b) A Lysosome in action( ) y
Peroxisome
f
Mitochondrion
ffragment fragment
LysosomeLysosome
49
LysosomesLysosomes
เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มรูปกลมขนาดเล็ก ภายในบรรจุุ ู ุ
hydrolytic enzyme หรือ lysosomal enzyme
ช ิ ี่ ํ ้ ี่ ่ โ ใ ่ ไ ้ ่หลายชนดททําหนาทยอยโมเลกุลขนาดใหญ ไดแก
polysaccharides, fats และ nucleic acids
เอ็นไซม์ต่างๆเหล่านี้ ทํางานดีที่สุดที่ pH 5
lysosomal membrane ทําหน้าที่รักษาสภาพแวดล้อม
ภายในให้เหมาะแก่การทํางานของเอ็นไซม์ โดยการปั้ม H+ภายในใหเหมาะแกการทางานของเอนไซม โดยการปม H
จาก cytossol เข้าไปภายใน
50
ถ้า lysosome ฉีกขาดจะไม่สามารถทํางานได้ดี หรือถา lysosome ฉกขาดจะไมสามารถทางานไดด หรอ
เอ็นไซม์อาจออกมาทําอันตรายให้แก่เซลล์ได้
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า การแบ่งไซโตพลาสซึมเป็น
่ ่ ้ b ี ํ ั ่ส่วนย่อยๆด้วย membrane มีความสําคัญต่อการ
ทํางานของเซลล์มาก
Hydrolytic enzyme และ lysosomal
membrane สร้างมาจาก RER และส่งต่อไปยัง
Golgi complex แล้วแยกออกไปทางด้าน transGolgi complex แลวแยกออกไปทางดาน trans
face ของ Golgi complex เป็น lysosome
51
The formation and functions of lysosomesThe formation and functions of lysosomes
52
หน้าที่ของ lysosomeหนาทของ lysosome
เป็นแหล่งย่อยภายในเซลล์ (intracellular digestion)เปนแหลงยอยภายในเซลล (intracellular digestion)
ตย. เช่น
• อมีบากินอาหารโดยวิธี phagocytosis เกิดเป็น
food vacuole ซึ่งจะรวมกับ lysosome เอ็นไซม์ในfood vacuole ซงจะรวมกบ lysosome เอนไซมใน
cytosome จะทําหน้าที่ย่อยอาหารนั้น
• เซลล์ของคน เช่น macrophage ก็สามารถทําลายสิ่ง
แปลกปลอมที่เข้ามาในเซลล์ด้วยวิธี phagocytosisแปลกปลอมทเขามาในเซลลดวยวธ phagocytosis
และถูกย่อยโดย lysosome ได้เช่นกัน
53
เกี่ยวข้องกับการย่อย organelles ในไซโตพลาสซึมเพื่อนํา
สารต่างๆกลับมาใช้สร้าง organelles ใหม่อีกสารตางๆกลบมาใชสราง organelles ใหมอก
(autophagy)
Lysosome สร้างเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิด
metamorphosis ของการพัฒนาของตัวอ่อนในพวกสัตว์metamorphosis ของการพฒนาของตวออนในพวกสตว
สะเทินนํ้าสะเทินบก
มีบทบาทสําคัญต่อเมตาบอริซึมต่างๆในร่างกายเป็นอย่างมาก
ถ้าหากมีความผิดปกติในการทํางานของเอ็นไซม์ในไลโซโซม จะถาหากมความผดปกตในการทางานของเอนไซมในไลโซโซม จ
ทําให้เกิดโรคต่างๆได้
54
Vacuoles
เป็น organelles ที่มีลักษณะเป็นเยื่อหุ้ม แต่มีg ุ
ขนาดใหญ่กว่า vesicles มีแบบต่างๆได้แก่
1. food vacuole
2. contractile vacuole
3. central vacuole
55
food vacuolefood vacuolefood vacuolefood vacuole
56
contractile vacuolecontractile vacuole
57
central vacuolecentral vacuole
58
The plant cell vacuoleThe plant cell vacuoleThe plant cell vacuoleThe plant cell vacuole
59
Relationships among organelles of the
endomembrane systemy
60
Membranous organelles อื่นๆ
1 Energy transcucers ได้แก่1. Energy transcucers ไดแก
MitochondriaMitochondria
Chl l tChloroplast
2 P i ( i b di )2. Peroxisomes (microbodies)
61
The mitochondrion, site of cellular respirationThe mitochondrion, site of cellular respiration
62
MitochondriaMitochondria
พบใน eukaryotic cell เกือบทุกชนิด ในเซลล์บางชนิดอย่างมีเพียง
หนึ่งอันที่มีขนาดใหญ่ หรือในเซลล์บางชนิดอาจมี mitochondria เป็น
จํานวนร้อยหรือพันทั้งนี้ขึ้นกับกิจกรรมของเซลล์นั้นๆ
Mitochondria มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น มีลักษณะเป็นสองวงซ้อนกัน แต่ละชั้น
ของ phospholipid bilayer จะมีลักษณะเฉพาะตัวที่เกิดจากโมเลกลของ phospholipid bilayer จะมลกษณะเฉพาะตวทเกดจากโมเลกุล
ของโปรตีนที่ฝังตัวบนเยื่อแต่ละชั้น
เยื่อหุ้มชั้นนอกเรียบ ส่วนเยื่อชั้นในจะมีการโป่งยื่นเข้าข้างในเรียกว่า
cristae เยื่อหุ้มทั้งสองชั้นแบ่ง mitochondria เป็นช่องภายใน 2 ส่วน
้ ้ได้แก่ ช่องที่อยู่ระหว่างเยื่อชั้นนอกและเยื่อชั้นใน (intermembrane
space) และช่องที่ถูกล้อมรอบอยู่ภายในเยื่อชั้นใน (mitochodrial
63
matrix)
ในช่องทั้งสองมีเอ็นไซม์ต่างชนิดกัน ที่เกี่ยวข้องกับในชองทงสองมเอนไซมตางชนดกน ทเกยวของกบ
กระบวนการหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration)
ั้ ัแต่ละขันตอนกัน
•ที่บริเวณ cristae ของเยื่อห้มชั้นในมีเอ็นไซม์ที่•ทบรเวณ cristae ของเยอหุมชนในมเอนไซมท
เกี่ยวข้องกับ electron transport chain และ
ั ์ ATPการสังเคราะห์ ATP
•ใน matrix บรรจเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ Kreb’s•ใน matrix บรรจุเอนไซมทเกยวของกบ Kreb s
cycle และ Beta oxidation ของกรดไขมัน เป็น
้ต้น
64
The chloroplast, site of photosynthesisThe chloroplast, site of photosynthesisp f p yp f p y
65
ChloroplastChloroplast
Chloroplast เป็น plastids ชนิดหนึ่งของเซลล์พืชChloroplast เปน plastids ชนดหนงของเซลลพช
ที่มีรงควัตถุสีเขียว ที่เรียกว่า chlorophyll ซึ่งประกอบด้วย
็ ไ ์ โ ี่ ใ ้ ิ ั ์เอ็นไซม์และโมเลกุลของสารทีทําให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง
Chloroplast มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น หุ้มล้อมรอบของเหลวที่
ใ h l k id ่ ้เรียกว่า stroma ภายในมีถุงแบน thylakoids ซึงซ้อนกัน
เป็นตั้งเรียกว่า granum
66
PeroxisomesPeroxisomesPeroxisomesPeroxisomes
67
Peroxisomes (microbodies)Peroxisomes (microbodies)Peroxisomes (microbodies)Peroxisomes (microbodies)
เป็น organelles ที่พบในเซลล์ยูคาริโอตเกือบทุกชนิด มีลักษณะเป็น
ถุงที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว ภายในมี granular core ซึ่งเป็นที่รวมของ
เอ็นไซม์ย้อมติดสีเข้ม
เอ็นไซม์ชนิดต่างๆทําหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหรือทําลาย
hydrogen peroxide (H O ) เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดสารพิษขึ้นhydrogen peroxide (H2O2) เพอปองกนไมใหเกดสารพษขน
ภายในเซลล์
RH2 + O2
Oxidase R + H2O2
2H O catalase 2H O + O2H2O2
catalase 2H2O + O2
ในเซลล์ตับพบมี peroxisomes ขนาดใหญ่ จึงเข้าใจว่าอาจมีหน้า
68
เกี่ยวข้องกับการทําลายพิษของสารต่างๆหลายชนิด เช่น alcohol
The cytoskeletonThe cytoskeleton
เป็นโครงสร้างภายในเซลล์ ประกอบด้วยเส้นใย
โป ี ี่ป ั ป็ ่ ั ่ ใโปรตีนทีประสานกนเปนรางแห แทรกตวอยูภายใน
cytoplasm ทําหน้าที่เป็นโครงร่างภายในเพื่อรักษาy p
รูปทรงหรือเปลี่ยนรูปทรง และทําให้เกิดการเคลื่อนไหว
ภายใน cytoplasm และการเคลื่อนที่ของเซลล์บางภายใน cytoplasm และการเคลอนทของเซลลบาง
ชนิด
The cytoskeletonThe cytoskeleton
Motor molecules and the cytoskeleton
Cytoskeleton ทํางานร่วมกับ motor proteins ทํา
ใ ้ ิ ื่ ี่ ใ ์ ่ ื่ ี่ให้เกิดการเคลือนทีภายในเซลล์ เช่น การเคลือนทีของ
flagellum หรือ cilia รวมทั้งการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ
M t l l ํ i l ื llMotor molecules นํา vesicles หรือ organelles
ไปยังตําแหน่งเป้ าหมาย โดยผ่านไปตาม cytosleleton
Cytoskeleton ประกอบด้วยเส้นใยโปรตีน 3 ชนิดได้แก่
Microfilaments I t di t
Cytoskeleton ประกอบดวยเสนใยโปรตน 3 ชนดไดแก
Microtubules
Microfilaments
(Actin Filaments)
Intermediate
Filaments
The cytoskeleton: a cell's scaffoldy
74
Structure of Microtubules
โครงสร้าง : เป็นท่อตรงและกลวงประกอบด้วย
tubulin protein
้ ่ ์ 25ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง : 25 nm
์ป t b li β t b liองค์ประกอบ : α-tubulin และ β-tubulin
Function of Microtubules
รักษารปทรงและพยงเซลล์
Function of Microtubules
ู ุ
เป็นเส้นทางเคลื่อนที่ให้กับ organelles อื่นเปนเสนทางเคลอนทใหกบ organelles อน
เกี่ยวข้องกับการแยกของโครโมโซมขณะที่มีการเกยวของกบการแยกของโครโมโซมขณะทมการ
แบ่งเซลล์
่Microtubules ถูกสร้างมาจาก centrosome ซึ่ง
อย่ใกล้ nucleusอยูใกล nucleus
ในเซลล์สัตว์ บริเวณ centrosome มี centriolesce oso e ce o es
อยู่ 1 คู่
Centrosome containing a pair of centriolesg p
Centrosome and centrioles
ในเซลล์หลายชนิดมีการสร้าง microtubules จากบริเวณ
่centrosome ที่อยู่ใกล้ๆกับนิวเคลียส
ใ ิ t ์ ั ์ ี t i l ่ในบริเวณ centrosome ของเซลล์สตว์มี centrioles อยู่
1 คู่ แต่ละ centriole ประกอบด้วย microtubules
จํานวน 3 ท่อ จํานวน 9 ชุด เรียงตัวเป็นวงกลม
ใ ี่ ์ ่ ั ี ิ่ centrioles ป็ 2ในขณะทีเซลลแบงตวจะมีการเพิม centrioles เปน 2 ชุด
แม้ว่า centrioles จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างแมวา centrioles จะมสวนเกยวของกบการสราง
microtubules แต่ก็ไม่เป็นสิ่งจําเป็นสําหรับพวกยูคาริโอตทุก
ช ิ ใ ืชไ ่ ี centriolesชนด ในพชไมม centrioles
Microtubules เป็นแกนของ flagellum และ ciliaMicrotubules เปนแกนของ flagellum และ cilia
A comparison of the beating of flagella and cilia
Ultrastructure of a eukaryotic
flagellum or cilium
โครงสร้างของ flagellum หรือ cilia ที่ศึกษาภายใต้กล้อง EM
(a) ภาพตัดตามยาว
(b) ภาพตัดตามขวาง แสดงให้เห็นโครงสร้างภายใน ประกอบด้วยแกนของ
microtubules อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ที่ยื่นยาวตามขึ้นไป เรียงกันเป็น
pattern "9+2" คือ แกนกลางประกอบด้วย microtubules 2 ท่อ
(doublets) จํานวน 9 ชุดเรียงตัวรอบเป็นวงกลม และตรงกลางมี
microtubules อีก 2 ท่อ แต่ละท่อคู่ของรอบนอกมีแขน 1 คู่ (dynein)
ยื่นยาวออกไปสัมผัสกับท่อคู่ที่อยู่ใกล้เคียง และมี radial spoke ยื่นเข้าไป
ติดต่อกับท่อคู่ตรงกลาง
( c) แสดง basal body ซึ่งอย่ที่ฐานของ flagellum หรือ cilia มี( c) แสดง basal body ซงอยูทฐานของ flagellum หรอ cilia ม
โครงสร้างเหมือนกับ centriole ประกอบด้วย microtubules 3 ท่อเรียง
กันเป็นวงกลมกนเปนวงกลม
How dynein” walking” moves cilia and
flagella
่ d i ใ ้การเคลือนตัวของ dynein ทําให้
เกิดการเคลื่อนไหวของ
fl ll ื iliflagellum หรือ cilia การ
เคลื่อนตัวของ dynein arm ที่
ั i b lเกาะกับท่อคู่ของ microtubules
หนึ่ง ไปเกาะที่อีกท่อคู่หนึ่ง โดยการ
ป ่ ั ั ไป ี้ ี ํเกาะและปล่อยสลับกันไปนีมีผลทํา
ให้ flagellum หรือ cilia เบน
โ ้ ื่ ี่ไปไ ้ ํโค้งเคลือนทีไปได้ การทํางานของ
dynein ใช้พลังงานจาก ATP
Structure of Microfilaments
โครงสร้าง : เป็นเส้นใยทึบ 2 สายพันกัน
Structure of Microfilaments
:
เป็นเกลียว
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง : 7 nm
องค์ประกอบ : Actin
F nction of MicrofilamentsFunction of Microfilaments
รักษารปทรงของเซลล์และการเคลื่อนไหวภายในเซลล์รกษารูปทรงของเซลลและการเคลอนไหวภายในเซลล
การหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อการหดตวของเซลลกลามเนอ
ทําให้เกิดการคอดตัวเป็นร่อง ขณะที่มีการแบ่งเซลล์สัตว์ทาใหเกดการคอดตวเปนรอง ขณะทมการแบงเซลลสตว
A structure role of microfilaments
Microvilli
Microvilli ที่เซลล์
ลําไส้คงรปอย่ได้Microvilli ลาไสคงรูปอยูได
เนื่องจากมี
microfilaments
Mi fil t
microfilaments
เป็นแกน ชึ่งเชื่อมต่อกับ
intermediate
Microfilaments
(Actin filaments)
filaments
Intermediate
filamentsfilaments
Microfilaments and motility
ในเซลล์กล้ามเนื้อ actin filaments เรียงกันอย่างเป็นระเบียบ
ทําหน้าที่เกี่ยวข้องกับการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อทาหนาทเกยวของกบการหดตวของเซลลกลามเนอ
ในเซลล์อมีบา การยื่น pseudopodium ออกไปเกิดจากการp p
ยืดและหดตัวของ actin filaments
ในเซลล์พืช การทํางานร่วมกันของ actin และ
myosin ทําให้เกิดการไหลภายใน cytoplasm
Structure of Intermediate Filaments
โครงสร้าง : ประกอบด้วยมัดของหน่วยย่อย
โปรตีนที่พันกันเป็นเกลียว
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง : 6-12 nm
องค์ประกอบ : โปรตีนหลายชนิด แล้วแต่ชนิด
ของเซลล์ ตย เช่น keratinของเซลล ตย. เชน keratin
Function of Intermediate Filaments
ทําให้ organelles อยู่ประจําที่g ู
รักษาโครงสร้างของเซลล์ Microvilli
Microfilaments
(Actin filaments)
Intermediate
filaments
Plant cell wallsPlant cell walls
cell wall เป็นผนังเซลล์ของพืชที่อยู่ภายนอกของเยื่อหุ้ม
์ ีโ ็ ั ้ ll l ั ั ใเซลล์ มีโครงร่างเป็นผนังหนาประกอบด้วย cellulose ฝังตัวอยู่ใน
โปรตีนและ polysaccharides
เซลล์พืชติดต่อกับเซลล์ที่อย่ข้างเคียงโดยทางเซลลพชตดตอกบเซลลทอยูขางเคยงโดยทาง
ช่อง plasmodesmata
Extracellular matrix (ECM)
เซลล์สัตว์ไม่มี cell wall แต่มีสารที่ถกเซลลสตวไมม cell wall แตมสารทถูก
สร้างออกมาอยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า
extracellular matrix
Extracellular matrix (ECM) of an animal cell
FibronectinFibronectin
องค์ประกอบและโครงสร้างของ ECM จะแตกต่างกันใน
่ ้เซลล์แต่ละชนิด เซลล์ในตัวอย่างที่แสดงนี้ ECM ประกอบด้วย
สารพวก glycoprotein 3 ชนิด ได้แก่g y p
1. collagen fiber ที่ฝังตัวอยู่ในร่างแหของ
่proteoglycans ซึ่งประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต 95 %
2 fibronectin ป็ glycoprotein ี่ ่ ั2. fibronectin เปน glycoprotein ทเกาะอยูกบ
receptor protein ที่อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ (integrin)
3. integrin จะเชื่อมโยงระหว่าง ECM กับ
microfilament ใ cytoplasm ซึ่ ี สํ ัmicrofilament ใน cytoplasm ซงมบทบาทสาคญ
เกี่ยวข้องกับการนําสัญญาณการถูกกระตุ้นระหว่างสิ่งแวดล้อม
์ไภายนอกกับภายในเซลล์ได้
Intercellular junctions in animal tissues
มี 3 ชนิด คือ
1. Tight junctions
2. Desmosomes
3. Gap junctionsp j
Intercellular junctions in animal tissues
Cellular junction ในเซลล์สัตว์Cellular junction ในเซลลสตว
(a) tight junction พบอยู่ใต้ผิวเซลล์ด้านที่เป็นอิสระ เยื่อหุ้ม( ) g j ู ุ
เซลล์ของเซลล์ที่อยู่ติดกัน มีการเชื่อมติดกัน แต่ไม่เชื่อมกันตลอด มี
ส่วนที่ไม่เชื่อมกัน เกิดช่องเป็นระยะๆสวนทไมเชอมกน เกดชองเปนระยะๆ
(b) desmosome พบในเซลล์เนื้อเยื่อทุกชนิด เยื่อหุ้มเซลล์ของ( ) ุ ุ
เซลล์ที่อยู่ติดกันไม่เชื่อมติดกัน และบริเวณนี้มี filament มาเกาะ
อย่ด้านในของเซลล์ทั้งสองอยูดานในของเซลลทงสอง
(c) gap junction ช่องว่างระหว่างเซลล์แคบกว่าที่อื่น หรือ( ) g p j
เกือบไม่มีเลย โดยมีความกว้างประมาณ 20 Ao บริเวณนี้เป็นที่ให้
โมเลกลของสารต่างๆที่มีขนาดเล็กผ่านไปมาได้โมเลกุลของสารตางๆทมขนาดเลกผานไปมาได
เซลล์เป็นหน่วยของสิ่งมีชีวิตที่มี organelles
ต่างๆทํางานร่วมกัน
ตัวอย่างเช่น เซลล์ macrophage ยื่น pseudopodiap g p p
ออกไปจับแบคทีเรีย โดยการยืดและหดของ actin filament
่Food vacuoles ถูกย่อยโดย lysosome ซึ่ง lysosome
สร้างมาจาก ER และ Golgi
เอ็นไซม์ของ lysosomes และโปรตีนของ cytoskeleton
้ ้ ่ ibถูกสร้างขึนที ribosomes
โปรตีนถกแปรรหัสมาจาก mRNA ที่ถอดรหัสมาจาก DNAโปรตนถูกแปรรหสมาจาก mRNA ทถอดรหสมาจาก DNA
ในนิวเคลียส
กระบวนการทั้งหมดเหล่านี้ต้องการพลังงานในรูปของ ATP
ซึ่งส่วนใหญ่สร้างมาจาก mitochondriaซงสวนใหญสรางมาจาก mitochondria
การลําเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ุ
(Traffic Across Membranes)
เยื่อห้มเซลล์มีสมบัติที่ยอมให้สารบางอย่างผ่านเข้าไปใน
( )
เยอหุมเซลลมสมบตทยอมใหสารบางอยางผานเขาไปใน
เซลล์ได้ง่ายกว่าสารบางอย่างชนิดอื่น เรียกว่า
้ ่ ์selective permeability ดังนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จะ
ควบคมชนิดและอัตราการลําเลียงโมเลกลของสารผ่านเข้าุ ุ
และออกจากเซลล์
์การลําเลียงสารผ่านเซลล์
1 P i t t1. Passive transport
2 Active transport2. Active transport
Diffusion and Passive transport
(diff i ) ึ ื่ ี่การแพร่ (diffusion) หมายถึง การเคลือนที
ของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารุ
มากกว่าไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อยกว่า
่ ่ใ (d iจนกว่าจะอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic
equilibrium) เมื่ออยู่ในสภาพสมดุลแล้ว โมเลกุลq ) ู ุ ุ
ของสารยังคงเคลื่อนอยู่แต่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากัน
ทั้งสองบริเวณทงสองบรเวณ
่ ์การแพร่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
เรียกว่า passive transport เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงานที่เรยกวา passive transport เซลลไมตองใชพลงงานท
จะทําให้เกิดการแพร่ขึ้น และเยื่อหุ้มเซลล์มีสมบัติ
l ti bl ั ั้ ั ่selective permeable ดังนันอัตราการแพร่ของสาร
ชนิดต่างๆจะไม่เท่ากันๆ
นํ้าจะสามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้อย่างอิสระซึ่งุ
มีความสําคัญมากสําหรับการดํารงอยู่ของเซลล์
การแพร่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ุ ุ
( ) โ ื่ ี่ ิ ี่ ี ้ ้ ่ ไป ั(a) โมเลกุลของสารเคลือนทีจากบริเวณทีมีความเข้มข้นมากกว่าไปยัง
บริเวณที่มีความเข้มข้นน้อยกว่า จนกระทั่งอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic
ilib i ) ื่ ่ใ ้ โ ัequilibrium) เมืออยู่ในสภาพสมดุลแล้วโมเลกุลของสารยังคง
เคลื่อนที่อยู่แต่อัตราการเคลื่อนที่ของสารจากทั้งสองด้านของเยื่อหุ้มเซลล์
่ ัเท่ากัน
(b) ในกรณีนี้ แสดงสารละลายของสี 2 ชนิด ที่อยู่คนละด้าน
่ ่ ่ของเยื่อหุ้มเซลล์ โมเลกุลของสารสีเขียวจะเคลื่อนที่ไปยัง
ด้านซ้าย ทั้งๆที่ตอนเริ่มต้นความเข้มข้นของสารในด้านซ้ายสูงู
กว่า
ตัวอย่างการแพร่ในสิ่งมีชีวิตตวอยางการแพรในสงมชวต
ได้แก่ การหายใจของสัตว์ ขณะหายใจเข้าก๊าซ
ออกซิเจนจากอากาศที่ผ่านเข้าไปในถุงลมในปอดมีความ
้ ้ ่ ใ ้ ื ฝ ิ ึ ่เขมขนสูงกวาในเสนเลือดฝอย ออกซิเจนจึงแพรจากถุง
ลมเข้าไปในเส้นเลือดฝอย และในขณะเดียวกัน
คาร์บอนไดออกไซด์จะแพร่จากเส้นเลือดเข้าสู่ถุงลม
Osmosis
Osmosis หมายถึงการแพร่ของโมเลกลของนํ้าจากบริเวณที่มีOsmosis หมายถงการแพรของโมเลกุลของนาจากบรเวณทม
โมเลกุลของนํ้าหนาแน่นมากกว่าหรือสารละลายที่เจือจางกว่า (hypoosmotic
solution)ไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของนํ้าน้อยกว่าหรือสารละลายที่เข้มข้นกว่า) ุ
(hyperosmotic solution) โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
The water balance of living cells
ิ ื่ ี่ โ ํ้ ่ ์ ั ์ ึ่ ไ ่ ี ัลูกศรแสดงทิศทางการเคลือนทีของโมเลกุลของนําผ่านเซลล์สัตว์ซึงไม่มีผนัง
เซลล์ และเซลล์พืชซึ่งมีผนังเซลล์
The contractile vacuole of Paramesium : an
evolutionary adaptation for osmoregulation
Filli lFilling vacuole
Contracting vacuoleContracting vacuole
Facilitated diffusion
T t t i ่ ใ ํ โ ่ ื่ ้Transport proteins ช่วยในการนําโมเลกุลของสารผ่านเยือหุ้ม
เซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความ
้ ้ ่ ้ f i i iff iเข้มข้นตํากว่า เรียกกระบวนการนี้ว่า facilitated diffusion โดย
เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงาน
Acti e transportActive transport
บางครั้งเซลล์ต้องการลําเลียงสารจากที่มีความบางครงเซลลตองการลาเลยงสารจากทมความ
เข้มข้นตํ่าไปยังที่มีความเข้มข้นสูงกว่า กระบวนการนี้
เรียกว่า active transport ซึ่งต้องการพลังงานคือ
ATPATP
ตัวอย่างเช่น เซลล์ขับ NA+ ออกนอกเซลล์และนําตวอยางเชน เซลลขบ NA ออกนอกเซลลและนา
K+ เข้าไปในเซลล์ ซึ่งเรียกว่า Sodium-potassium
pump
The sodium-potassium pump
S di t iSodium-potassium pump
กระบวนการเริ่มต้นจาก Na+ จับกับโปรตีนซึ่งเป็นกระบวนการเรมตนจาก Na จบกบโปรตนซงเปน
transport protein แล้ว ATP ให้พลังงานแก่
โปรตีนทําให้โปรตีนเปลี่ยนรูปร่างและปล่อย Na+ ผ่าน
เยื่อห้มเซลล์ออกไป ขณะเดียวกัน K+ เข้าจับกับโปรตีนเยอหุมเซลลออกไป ขณะเดยวกน K เขาจบกบโปรตน
ทําให้โปรตีนเปลี่ยนแปลงรูปร่างอีกครั้งหนึ่ง ทําให้ K+ ถูก
้ ไ ใ ์ ้ โปล่อยเข้าไปในเซลล์ แล้วโปรตีนกลับมีรูปร่างเหมือนเดิม
อีกพร้อมที่จะเริ่มต้นกระบวนการใหม่ต่อไป
Diffusion
Passive
transport
Facilitated
transport
p
ActiveActive
transport
Exocytosis and endocytosis
transport large moleculestransport large molecules
สารที่มีโมเลกลขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน และสารทมโมเลกุลขนาดใหญ เชน โปรตน และ
คาร์โบไฮเครต ผ่านออกนอกเซลล์ด้วยกระบวนการ
exocytosis และเข้าไปในเซลล์ด้วยกระบวนการ
endocytosisendocytosis
Endocytosis มี 3 แบบ ได้แก่
1. Phagocytosis
2. Pinocytosis
3. Receptor-mediated endocytosis
Phagocytosis
Phagocytosis เป็นการนําสารที่เป็นของแข็งเข้าเซลล์ โดยเซลล์ยื่นPhagocytosis เปนการนาสารทเปนของแขงเขาเซลล โดยเซลลยน
ส่วน cytoplasm ไปโอบล้อมสารของแข็งนั้น แล้วเข้าไปในเซลล์ เป็น
food vacuole แล้ว food vacuole นั้นจะไปรวมกับfood vacuole แลว food vacuole นนจะไปรวมกบ
lysosome ซึ่งภายในมี hydrolytic enzymes ที่จะย่อยสลาย
สารนั้นต่อไป อมีบากินแบคทีเรียด้วยวิธีนี้สารนนตอไป อมบากนแบคทเรยดวยวธน
Pinocytosisy
Pinocytosis เป็นการนําสารที่เป็นของเหลวเข้าเซลล์ โดยเยื่อPinocytosis เปนการนาสารทเปนของเหลวเขาเซลล โดยเยอ
หุ้มเซลล์เว้าเข้าไปเพื่อนําสารเข้าไป กลายเป็นถุงเล็กๆอยู่ใน
cytoplasmcytoplasm
Receptor-mediated endocytosis
็Receptor-mediated endocytosis เป็นการนําสารเฉพาะ
บางชนิดเข้าไปในเซลล์ โดยที่ผิวเซลล์มี receptor เฉพาะสําหรับสาร
บางอย่างเข้ามาจับ แล้วถูกนําเข้าไปในเซลล์เป็นถุงเล็กๆ เมื่อผ่านการ
ย่อยแล้ว receptor สามารถถูกนํามาใช้ใหม่ได้อีกp ู
การรักษาดลยภาพในสิ่งมีชีวิตการรักษาดลยภาพในสิ่งมีชีวิตการรกษาดุลยภาพในสงมชวตการรกษาดุลยภาพในสงมชวต
1. นํ้า
2. แร่ธาตุ
3 ป3. ความเป็นกรดเบส
4 อณหภมิ4. อุณหภูม
123
3. CONTROLLING THE INTERNAL ENVIRONEMENT
-สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในสภาวะแวดล้อมที่แปรผันอย่างมาก จะสามารถมีชีวิตอยูู่
รอดได้ ก็ต่อเมื่อมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมนั้น ๆ
-การปรับตัวเพื่อรักษาสภาวะธํารงดุลภายในร่างกาย หรือ homeostasis (Gr.ุ
same standing)
-สัตว์สามารถรักษาสภาวะภายในร่างกายไว้ได้ แม้ว่าสภาพแวดล้อมภายนอกสตวสามารถรกษาสภาวะภายในรางกายไวได แมวาสภาพแวดลอมภายนอก
จะมีการเปลี่ยนแปลงไปมากจนอาจเป็นอันตรายต่อเซลล์ได้ เช่น การรักษา
สภาวะแวดล้อมภายในร่างกายเปลี่ยนแปลงไปในช่วงแคบ ๆ ถึงแม้ว่าสภาวะสภาวะแวดลอมภายในรางกายเปลยนแปลงไปในชวงแคบ ๆ ถงแมวาสภาวะ
แวดล้อมภายนอกจะแปรผันอย่างมาก เช่นการรักษาอุณหภูมิภายในร่างกาย
คนให้มีค่าอย่ที่ประมาณ 37 oCคนใหมคาอยูทประมาณ 37 C
124
รูปร่างและหน้าที่ที่เหมาะสมต่อสภาวะแวดล้อม
(Form and function suit the environment)
-สัตว์สามารถรักษาสภาวะแวดล้อมภายในร่างกายให้คงที่ไว้ได้ แม้ว่าสภาวะ-สตวสามารถรกษาสภาวะแวดลอมภายในรางกายใหคงทไวได แมวาสภาวะ
แวดล้อมภายนอกจะแปรผันมาก เนื่องจากสัตว์มีการปรับตัวเพื่อให้ได้รูปร่างที่
สัมพันธ์กับการทํางาน (หน้าที่) ที่เหมาะสมต่อสภาวะแวดล้อมที่สัตว์อาศัยอย่สมพนธกบการทางาน (หนาท) ทเหมาะสมตอสภาวะแวดลอมทสตวอาศยอยู
-การเกิดวิวัฒนาการ (evolution) และการคัดเลือกตามธรรมชาติ (natural selection)
ํ ใ ้ ั ์ ี่ ี ป ่ ี่ ใ ้ ั้ ่จะทําให้สัตว์ทีมีรูปร่างเหมาะสมทีสุดในสภาวะแวดล้อมนัน ๆ สามารถอยู่รอด
สืบพันธุ์และถ่ายทอดยีนดังกล่าว ไปสู่รุ่นลูกหลานได้
่:รูปร่าง (form) – หน้าที่ (function)
:กายวิภาคศาสตร์ (anatomy) – สรีรวิทยา (physiology)
125
หากินกลางคืน (nocturnal monkey) หากินกลางวัน (diurnal monkey)
อาศัยในเขตร้อน อาศัยในเขตหนาวอาศยในเขตรอน อาศยในเขตหนาว
126
• สัตว์เลือดอ่น (Homeothermic animal)• สตวเลอดอุน (Homeothermic animal)
• สัตว์เลือดเย็น (Poikilothermic animal)
127
รูปร่างและหน้าที่ที่เหมาะสมต่อสภาวะแวดล้อม
(Form and function suit the environment)
ปลาวาฬสีนํ้าเงินมีการพัฒนาอวัยวะภายในช่องปาก(sieve or baleen plate) ให้-ปลาวาฬสนาเงนมการพฒนาอวยวะภายในชองปาก(sieve or baleen plate) ให
เหมาะต่อการดักจับ เคย(krill) ซึ่งเป็นสัตว์ขนาดเล็กที่มีเป็นจํานวนมากในทะเล
เป็นอาหาร มีรจมก(nostril) อย่ด้านบน จึงทําให้หายใจได้ในขณะดํานํ้าเปนอาหาร มรูจมูก(nostril) อยูดานบน จงทาใหหายใจไดในขณะดานา
128
-ในบทนี้จะเรียนเกี่ยวกับการรักษาสมดุลของอุณหภูมิ, สารละลายและนํ้า, และ
การกําจัดของเสียพวกไนโตรเจนดังนี้
1.Thermoregulation การรักษาสมดุลของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ั ํ้ ใ ่2. Osmoregulation การรักษาสมดุลของสารละลายและนําในร่างกาย
3. Excretion การกําจัดของเสียพวกไนโตรเจน (nitrogen-containing waste) ออก
่นอกรางกาย
129
ผิวหนังและthermoregulation
-ไขมัน (adipose) และขนทํา( p )
หน้าที่เป็นฉนวนป้ องกันการ
สูญเสียความร้อนออกนอกูญ
ร่างกาย
-การหด-ขยายตัวของเส้นเลือด
ที่ผิวหนัง
-การตั้งชัน(erection)และการอัด( )
ตัวกันแน่น(compaction)ของขน
-การเกิด evaporation โดยการp
หลั่งเหงื่อ จากต่อมเหงื่อ
130
Water Balance and Waste Disposal: Osmoregulation
-osmosis การเคลื่อนของนํ้าผ่าน
้semipermeable membrane โดยขึ้นกับ
ความเข้มข้นของ osmolyte (ion, small organic
่ ่ ้ ้molecules, protein) ที่อยู่ระหว่างเยื่อกั้นทั้ง
สองด้าน
-นกทะเลหลายชนิดมีอวัยวะในการกําจัด
เกลือที่หัว เรียก nasal gland NaClตํ่า
-Countercurrent ของทิศทางการไหลของ
เลือดและการเคลื่อนของ NaCl ในท่อ salt-
NaClสง
excreting gland
-ในปลาฉลามมีอวัยวะพิเศษสําหรับกําจัด
เกลือ เรียก rectal gland
NaClสูง
131
เกลอ เรยก rectal gland
การกําจัดของเสียพวกไนโตรเจน (Excretion of nitrogen-containing waste) ที่ได้
โป ี ิ ิ ิ ีใ ป ่ ั ี้จากการสลายโปรตีนและกรดนิวคลิอิกมีในรูปแบบต่าง ๆ ดังนี
1. แอมโมเนีย (Ammonia )
ป็ ี่ ํ้ ไ ้ ี ่ ป็ ิ ่ ั ์ ้ ีป ิ ้-เป็นสารทีละลายนําได้ดี แต่เป็นพิษต่อสัตว์ แม้จะมีปริมาณน้อย
-การขับของเสียพวกไนโตรเจนในรูปแบบนี้จึงมักพบในสัตว์นํ้า เพราะแอมโนเนีย
่ ่ ื่ ์ ่ ํ้ ไ ้ ีสามารถแพร่ผ่านเยือเซลล์สู่นําได้ดี
-ในปลานํ้าจืด มักมีการขับแอมโมเนียในรูปของ NH4
+ผ่านทางเหงือก โดย
ป ี่ ั ํ ้ ่ ์แลกเปลียนกับการนํา Na+ เข้าสู่เซลล์
2. ยูเรีย (Urea) NH2-CO-NH2
ใ ั ์ ี้ ้ ั ์ ิ ํ้ ิ ั ็ ั ป ่-พบในสัตว์เลียงลูกด้วยนม, สัตว์สะเทินนําสะเทินบกตัวเต็มวัย, ปลาทะเล, เต่า
-ยูเรียสร้างที่ตับโดยการรวมกันของแอมโมเนียและคาร์บอนไดออกไซด์ จึงทําให้
ั ์ ิ้ ป ื ั ใ ั ์สัตว์สินเปลืองพลังงานในการสังเคราะห์
-มีความเป็นพิษน้อยกว่าแอมโมเนีย 100,000 เท่า สัตว์จึงเก็บไว้ในร่างกายที่ความ
้ ้ ไ ้
132
เข้มข้นสูงได้
3. กรดยูริก (Uric acid)ู ( )
-พบในหอยทากบก, แมลง,
นก, สัตว์เลื้อยคลานหลาย
ชนิด
-กรดยูริกไม่ค่อยละลายนํ้าู
จึงมีการขับออกจาก
ร่างกายในรูป semisolidู
จึงประหยัดการขับนํ้าออก
-แต่การสังเคราะห์กรดยูริกู
จะสิ้นเปลืองพลังงาน
(ATP) มาก
133
Osmoregulation ในปลานํ้าจืดและปลานํ้าเค็ม
ปัญหา ปัญหาญ
-ได้รับเกลือเข้าสู่ร่างกายจํานวนมาก
-สูญเสียนํ้าออกจากร่างกายจํานวนมาก
้ปั
ญ
-ได้รับนํ้าเข้าสู่ร่างกายจํานวนมาก
-สูญเสียเกลือแร่ออกจากร่างกาย
การแก้ปัญหาการแกปญหา
-กําจัดเกลือออกจากเหงือกโดยวิธี
active transport
การแกปญหา
-ขับปัสสาวะปริมาณมาก และเจือจาง
-รับเกลือจากอาหารและactive uptake
134
p
-รับนํ้าจากอาหารและนํ้าทะเล ขับ
ปัสสาวะปริมาณตํ่า
p
ผ่านเหงือก
ั ี่ใ ้ใ ํ ั ี ่ ั ์ ิ ่ ี ั ี้อวัยวะทีใช้ในการกําจัดของเสียออกจากร่างกายสัตว์ชนิดต่าง ๆ มีดังนี
1. Protonephridia พบในหนอนตัวแบน, rotifers, annelids บางพวก, ตัวอ่อน mollusk,
lancelet (invertebrate chordate)
2. Metanephridia พบใน annelids ส่วนมาก รวมทั้งไส้เดือนดิน
ใ3. Malpighian tubules พบในแมลง
4. Kidney พบในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
135
Protonephridia: Flame-bulb systems
-Protonephridia หน้าที่หลักคือ osmoregulation
ป็ ่ ี่ ี ใ ป็ ่ ป-เป็นท่อทีมีการแตกแขนงภายใน เป็นท่อปลาย
ปิดที่ปิดด้วยเซลล์ๆเดียว ซึ่งภายในมีลักษณะ
ี่ ี ่ ใflame bulb ทีมี cilia อยู่ภายใน
-การพัดโบกของ cilia จะช่วยให้นํ้าและ
่สารละลายจาก interstitial fluid ผ่าน
interdigitating membrane เข้าสู่ภายในท่อ
่ ั ืสารละลายส่วนมากจะถูกดูดกลับคืน (reabsorb)
-มีการขับของเสียออกจากร่างกายทาง
nephridiopores
136
Metanephridia
ไ-ในแต่ละ segment ของไส้เดือนมี metanephridia
1 คู่ ไปเปิดที่ segment ถัดไปทางด้านหน้า
็ ่-ปลายเปิดมีลักษณะเป็นกรวยที่มี cilia ล้อมเรียก
nephrostome ที่ทําหน้าที่รวบรวมของเหลวจาก
้ ็ ไ ้ ่coelom นําเข้าสู่ collecting tubule และเก็บไว้ที
bladder ก่อนขับออกจากร่างกายทาง
nephridiopore
-ก่อนขับปัสสาวะ ส่วนใหญ่จะมีการดูดกลับของเกลือ และสารที่มักขับออกคือ
nitrogenous waste
-เนื่องจากไส้เดือนมักอาศัยในดินที่มีความชื้นสูงจึงมีการแพร่ของนํ้าเข้าสู่ร่างกายมาก
137
(osmosis) ดังนั้นปัสสาวะที่ขับออกจึงเจือจาง (มีนํ้ามาก)
Malpighian tubules
-Malpighian tubule ทําหน้าที่กําจัด
nitrogenous waste และ osmoregulationnitrogenous waste และ osmoregulation
-เป็นท่อปลายปิดที่ยื่นออกมาจาก midgut
-ทําหน้าที่ขนส่งนํ้า เกลือแร่ nitrogenousทาหนาทขนสงนา, เกลอแร, nitrogenous
waste จาก hemolymph เข้าสู่ภายในท่อ
-เกลือแร่และนํ้าส่วนใหญ่จะถกดดกลับที่เกลอแรและนาสวนใหญจะถูกดูดกลบท
rectum ขณะที่ nitrogenous waste (ในรูป
ของกรดยริก) จะถกขับออกไปพร้อมกับของกรดยูรก) จะถูกขบออกไปพรอมกบ
อุจจาระ
138
Kidney
มีกล้ามเนื้อหู
รูดระหว่าง
urethraและ
bladder พบเฉพาะสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนม
และนก
ในคน
80%เป็น cortical nephron
20% เป็น juxtamedullaryและนก 20% เปน juxtamedullary
nephron
Capillary ที่ไตมีรูพรุน
ประกอบด้วยเซลล์ เรียก
d t
139
Nephron(หน่วยไต) เป็นหน่วยทํางานที่เล็กที่สุดของไต
podocyte
ในการผลิตและกําจัดปัสสสาวะออกนอกร่างกายมีในการผลตและกาจดปสสสาวะออกนอกรางกายม
ขั้นตอนดังนี้
1 Filtration (การกรอง) เป็นการนําของเหลว เช่น1.Filtration (การกรอง) เปนการนาของเหลว เชน
จากเลือด, coelomic fluid, hemolymph ผ่านเข้าสู่
ท่อ(ท่อไต) โดยแรงดันเลือด (hydrostaticทอ(ทอไต) โดยแรงดนเลอด (hydrostatic
pressure) โดยสารโมเลกุลใหญ่เช่นเม็ดเลือดและ
โปรตีนจะไม่ถกกรองออกมา สารที่ได้เรียก Filtrateโปรตนจะไมถูกกรองออกมา สารทไดเรยก Filtrate
2.Reabsorption (การดูดกลับ) สารที่มีประโยชน์
เช่น กลโคส เกลือ กรดอะมิโน จะถกดดเชน กลูโคส, เกลอ, กรดอะมโน จะถูกดูด
กลับคืนสู่ระบบไหลเวียนเลือดโดย active transport
3 Secretion (การหลั่งสาร) สารพิษและอิออน3.Secretion (การหลงสาร) สารพษและอออน
ส่วนเกินจะถูกขับออก โดย active transport
4 Excretion (การขับออก)
140
4.Excretion (การขบออก)
Nephron and Collecting Duct
่ ไ ่การเคลือน filtrate ผ่านท่อไตหลังจากทีมีการกรองผ่าน glomerulus
1.การเคลื่อนผ่าน proximal tubule
secretion & reabsorption-secretion & reabsorption
-หลั่ง H+, NH3 (เพื่อปรับไม่ให้ filtrate เป็นกรดมากไป)
-ดูดกลับ HCO3
-(90%), NaCl, นํ้า, K+ และู 3
สารอาหาร (กลูโคส, กรดอะมิโน)
2.Descending limb of the loop of Henle
permeable ต่อนํ้า impermeable ต่อเกลือ-permeable ตอนา, impermeable ตอเกลอ
และสารโมเลกุลเล็ก
3.Ascending limb of the loop of Henle
้-permeable ต่อเกลือ impermeable ต่อนํ้า
-มี 2 ส่วน คือ thin segment(PT) & thick
segment(AT)segment(AT)
4.Distal tubule
-secretion (K+)& reabsorption (NaCl & HCO3
-)
141
5.Collecting duct
-ดูดกลับ NaCl, ยูเรีย, นํ้า
Active transport (AT)
Passive transport (PT)
4. IMMUNE SYSTEM
ร่างกายเรามีกลไกป้ องกันการรุกลํ้าทําลายจากสิ่งแปลกปลอม 2 แบบ คือ
1 Nonspecific defense mechanisms กลไกการทําลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จําเพาะ1. Nonspecific defense mechanisms กลไกการทาลายสงแปลกปลอมแบบไมจาเพาะ
1.1 First line of defense เป็นกลไกการป้ องกันที่อยู่ภายนอกร่างกาย เช่น ผิวหนัง
และmucous membrane ที่ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ท่อปัสสาวะและสืบพันธ์และmucous membrane ททางเดนอาหาร ทางเดนหายใจ ทอปสสาวะและสบพนธุ
1.2 Second line of defense เป็นกลไกการป้ องกันที่อยู่ภายในร่างกาย เมื่อสิ่ง
แปลกปลอมสามารถแทรกเข้าส่ภายในร่างกายได้ เช่น การเกิด phagocytosis โดยแปลกปลอมสามารถแทรกเขาสูภายในรางกายได เชน การเกด phagocytosis โดย
เม็ดเลือดขาว, การผลิต antimicrobial protein, inflammatory response
2 Specific defense mechanisms or third line of defense กลไกการทําลายสิ่ง2. Specific defense mechanisms or third line of defense กลไกการทาลายสง
แปลกปลอมแบบจําเพาะ ได้แก่ การทํางานของ lymphocytes และการผลิตantibody
2 1 Humoral (antibody-mediated) immune response2.1 Humoral (antibody-mediated) immune response
2.2 Cell-mediated immune response
142
The First Line of Defense
-เป็นการป้ องกันการรุกลํ้าจากสิ่งแปลกปลอมโดยผิวหนังและ mucous membrane
และยังมีการหลั่งสารออกมาช่วยทําหน้าที่อีกด้วย เช่น การหลั่งสารจากต่อมเหงื่อ
และต่อมไขมัน ซึ่งปกติมีค่า pH 3-5 ที่มีความเป็นกรดสูงพอในการทําลาย
microorganismg
-การชําระล้างออกโดยนํ้าลาย, นํ้าตา และ mucous (มี lysozyme เป็นส่วนประกอบ)
-Lysozyme สามารถย่อยผนังเซลล์ของแบคทีเรียได้หลายชนิดy y
-Gastric mucous ในกระเพาะมีความเป็นกรดสูง สามารถทําลายแบคทีเรียได้ดี
143
The Second Line of Defense
-เซลล์ที่สามารถทําหน้าที่ phagocytosis ได้มีหลายชนิด ดังนี้
1. Phagocytosis by white blood cell
เซลลทสามารถทาหนาท phagocytosis ไดมหลายชนด ดงน
1. Neutrophils (60-70% ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด) มีช่วงชีวิตประมาณ 2-3 วัน มักจะ
สลายไปเมื่อทําลายสิ่งแปลกปลอมสลายไปเมอทาลายสงแปลกปลอม
2. Monocyte (5% ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด) หลังจาก monocyte หลั่งสู่กระแสเลือด
ได้ 2-3 ชั่วโมง จะเคลื่อนเข้าส่เนื้อเยื่อ และพัฒนาเป็นเซลล์ macrphage (“big-eater”)ได 2 3 ชวโมง จะเคลอนเขาสูเนอเยอ และพฒนาเปนเซลล macrphage ( big eater )
มีช่วงชีวิตค่อนข้างยาว
3. Eosinophil (1.5% ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด) ทําหน้าที่ทําลายพยาธิขนาดใหญ่3. Eosinophil (1.5% ของเมดเลอดขาวทงหมด) ทาหนาททาลายพยาธขนาดใหญ
4. Natural killer (NK) cell ทําหน้าที่ทําลาย virus-infected body cell โดยไปจับที่เยื่อ
เซลล์และทําให้เซลล์แตกเซลลและทาใหเซลลแตก
144
เป็นอวัยวะที่ดักจับสิ่งแปลกปลอม
145
เปนอวยวะทดกจบสงแปลกปลอม
เป็นอวัยวะที่มีการเจริญ/พัฒนาของ leukocyte
The Second Line of Defense
2. Antimicrobial protein
มีโปรตีนหลายชนิดทําหน้าที่ป้ องกัน/ทําลายสิ่งแปลกปลอมที่บกรกร่างกาย ซึ่ง-มโปรตนหลายชนดทาหนาทปองกน/ทาลายสงแปลกปลอมทบุกรุกรางกาย ซง
ทําลายสิ่งแปลกปลอมโดยตรงหรือยับยั้งการสืบพันธุ์ ได้แก่ lysozyme, complement
t i t fsystem, interferons
-complement system ทําหน้าที่ย่อย microbes และเป็น chemokines ต่อ phagocytic
llcells
-interferone เป็นสารที่หลั่งจาก virus-infected cell ภายหลังจากที่เซลล์ (virus-
i f t d ll) แตกออก จากนั้นจะแพร่ไปยังเซลล์ข้างเคียง เพื่อยับยั้งการ i f tinfected cell) แตกออก จากนนจะแพรไปยงเซลลขางเคยง เพอยบยงการ infect
ของ virus ไปยังเซลล์ข้างเคียง จึงสามารถยับยั้งเจริญของ virus ได้ (เนื่องจากไม่มี
host)host)
146
The Second Line of Defense
3. The Inflammatory Response
-บริเวณที่เป็นแผลมีการขยายตัวของเส้นเลือด มีเลือดมาเลี้ยงมาก เกิดการบวมแดง
้ ้-มีการหลั่ง histamine จากเนื้อเยื่อ (นอกจากนี้ยังหลั่งได้จาก basophil &mast cell)
ทําให้permeability ของ capillary เพิ่ม
1.เซลล์บาดแผลหลั่ง
chemical signal เช่น
2.capillary ขยายตัวและ
เพิ่ม permeability
ของเหลวแล bl d
3.chemokines กระตุ้น
ให้ phagocytic cell
เคลื่อนไปยังเนื้อเยื่อที่
4.phagocytic cell กิน
pathogens & เศษเซลล์
หลังจากนั้นบาดแผล
147
histamine, PG ของเหลวและblood
clotting element เคลื่อน
ออกจากเส้นเลือด
เคลอนไปยงเนอเยอท
ถูกทําลาย
หลงจากนนบาดแผล
ปิด
The Third Line of Defense
-Lymphocytes เป็นตัวการสําคัญในการทําลายสิ่งแปลกปลอมแบบจําเพาะ
-Lymphocytes มี 2 ชนิดคือ B lymphocyte (B cell; bursa of Fabricius or bone marrow)&T
lymphocyte (T cell; thymus) ซึ่ง T หรือ B cell แต่ละเซลล์จะจําเพาะกับ Ag แต่ละตัว
โดยมีขั้น ตอนการคัดเลือกเพื่อเพิ่มจํานวน lymphocyte ที่เฉพาะต่อ Ag เรียก Clonal
selection 1.Ag จับกับ Ag receptor บน B cell หนึ่งๆ
2.B cell ที่มี receptor ที่จําเพาะต่อ
้ ่Agนั้นจะเพิ่มจํานวนได้เป็น clone
4.บางเซลล์พัฒนาไปเป็น
3.บางเซลล์พัฒนาไปเป็น
short-lived plasma cell
long-lived memory cell ที่
จะทําให้เกิดการ
่ ็
148
p
และหลั่ง Abตอบสนองอย่างรวดเร็ว
เมื่อร่างกายได้รับ Ag เดิม
Immunological Memory
ใ ิ่ ํ L h t ี่ ั ื ั ชิ ั A ป็ ั้-ในการเพมจานวนของ Lymphocytes ทถูกคดเลอก หลงจากเผชญกบ Ag เปนครง
แรก ใช้เวลานานประมาณ 10-17 วัน เรียกการตอบสนองในระยะแรกนี้ว่า primary
immune response ได้เซลล์ 2 ชนิดคือshort-lived effector cell (plasma cell(จาก Bimmune response ไดเซลล 2 ชนดคอshort lived effector cell (plasma cell(จาก B
cell)&effector T cell(จาก T cell)) และ long-lived memory cells
-ถ้าร่างกายมีการเผชิญกับ Ag เดิมอีก เป็นครั้งที่ 2 จะเกิดการตอบสนองเรียก
่ ้secondary immune response ซึ่งจะใช้เวลาในการตอบสนองสั้นลง เพียง 2-7 วัน
149
Active and Passive Immunity
Active immunity: การที่เราได้รับเชื้อ เข้า
ไป แล้วร่างกายสร้าง Ab มาทําลายไป แลวรางกายสราง Ab มาทาลาย
ขณะเดียวกันก็เก็บ memory cell ไว้ โดย
เชื้อที่ได้รับเข้าไปอาจเป็นเชื้อโรคในเชอทไดรบเขาไปอาจเปนเชอโรคใน
ธรรมชาติ (infection) หรือโดยการฉีดเชื้อ
ที่อ่อนกําลังแต่ยังมี epitope เข้าร่างกายทออนกาลงแตยงม epitope เขารางกาย
(vaccination)
Passive immunity: ร่างกายได้รับ Ab ของPassive immunity: รางกายไดรบ Ab ของ
เชื้อนั้นโดยตรง ซึ่ง Ab ที่ได้จะคงอยู่ใน
ร่างกายเป็นระยะเวลาสั้น ๆ เช่น Ab ต่อรางกายเปนระยะเวลาสน ๆ เชน Ab ตอ
พิษงู, พิษสุนัขบ้า
150
ระบบภูมิคุ้มกันและการเกิดโรค
1. Blood group and blood transfusion
ABO blood group จําแนกตาม Ag ที่อย่บนผิวเม็ดเลือดแดง ซึ่งคนที่มีเลือดหม่ A-ABO blood group จาแนกตาม Ag ทอยูบนผวเมดเลอดแดง ซงคนทมเลอดหมู A
จะมี Ab หมู่ b เป็นต้น
แต่เนื่องจาก blood group antigen เป็น polysachharide จึงทําให้เกิดการตอบสนอง-แตเนองจาก blood group antigen เปน polysachharide จงทาใหเกดการตอบสนอง
ของระบบภูมิคุ้มกันแบบ T-independent response เช่นเมื่อแม่เลือดหมู่ O ตั้งครรภ์
ลกเลือดหม่ A (Ab b)เมื่อคลอดลก เลือดจากลกที่ไหลเข้าส่แม่สามารถกระต้นการลูกเลอดหมู A (Ab-b)เมอคลอดลูก เลอดจากลูกทไหลเขาสูแมสามารถกระตุนการ
สร้าง Ab-b ได้ แต่ลักษณะนี้จะไม่เป็นอันตรายต่อการตั้งครรภ์ลูกคนต่อมา (เลือด
หม่ B) เพราะ Ab ที่สร้างเป็น IgM ที่ไม่สามารถแพร่ผ่านรกได้หมู B) เพราะ Ab ทสรางเปน IgM ทไมสามารถแพรผานรกได
-แต่ในกรณีของหมู่เลือด Rh (แม่ Rh- ลูกRh+) จะเป็นอันตรายต่อการตั้งครรภ์ลูกคน
ต่อมาเพราะ Ab ที่สร้างเป็น IgG ที่สามารถแพร่ผ่านรกได้ตอมาเพราะ Ab ทสรางเปน IgG ทสามารถแพรผานรกได
แม่ A (Ab-b)O
แม่ ลก
151
A (Ab b)O O (Ab-b)
ลูก
B
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต

More Related Content

What's hot

ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมนsukanya petin
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5Wichai Likitponrak
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
กาพเห่เรือ1
กาพเห่เรือ1กาพเห่เรือ1
กาพเห่เรือ1Prasatphinyo Fah
 

What's hot (20)

ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมน
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
กาพเห่เรือ1
กาพเห่เรือ1กาพเห่เรือ1
กาพเห่เรือ1
 

Viewers also liked

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 

Viewers also liked (6)

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 

Similar to หน่วยของสิ่งมีชีวิต

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังสรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังKha Nan
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cellPhattarawan Wai
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 

Similar to หน่วยของสิ่งมีชีวิต (20)

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
4
44
4
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังสรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
monera-new.pptx
monera-new.pptxmonera-new.pptx
monera-new.pptx
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
 
Cell2558
Cell2558Cell2558
Cell2558
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
Cell
CellCell
Cell
 
4
44
4
 

More from โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม

More from โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม (20)

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.
 
เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53
 
เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 

หน่วยของสิ่งมีชีวิต

  • 2. เซลล์เซลล์ ((cellcell))เซลลเซลล ((cellcell)) คือ หน่วยที่เล็กที่สุดุ ของสิ่งมีชีวิต 2
  • 3. GENERAL BODY ORGANIZATION IN ANIMALSGENERAL BODY ORGANIZATION IN ANIMALS -สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) มีการจัดเรียงตัวของหน่วยต่าง ๆ เป็นลําดับขั้นดังนี้เปนลาดบขนดงน -เซลล์เป็นหน่วยย่อยที่เล็ก ที่สด เซลล์ ทสุด -ในแต่ละลําดับขั้นจะมีการ ํ ่ ั ่ ป็ เนื้อเยื่อ ทํางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ อวัยวะ ระบบอวัยวะ สิ่งมีชีวิตหนึ่งหน่วย 3
  • 4. Robert HookeRobert HookeRobert HookeRobert Hooke • เป็นคนแรกที่เห็นเซลล์จาก การใช้กล้องจุลทรรศน์ ชนิดเลนส์ประกอบ ที่ชนดเลนสประกอบ ท ประดิษฐ์ขึ้นเอง • ศึกษาไม้คอร์กภาพที่เห็น ป็ ้ ี่ ี่เป็นห้องสีเหลียมกลวงๆ คล้ายรังผึ้ง ได้ตั้งชื่อสิ่งที่ มองเห็นว่า เซลลูเล (cellulae) เป็นเซลล์ที่ 4 (cellulae) เปนเซลลท ตายแล้ว
  • 5. Anton van LeewenhoekAnton van LeewenhoekAnton van LeewenhoekAnton van Leewenhoek • มองเป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิต เป็นคนแรก โดยเรียกสิ่ง ที่เห็นว่าทเหนวา animalicules ซึ่ง ์ ็หมายถึง สัตว์ตัวเล็กๆ 5
  • 6. Matthias Jakop SchleidenMatthias Jakop Schleiden และและ TheodorTheodorMatthias Jakop SchleidenMatthias Jakop Schleiden และและ TheodorTheodor SchwannSchwann • เสนอทฤษฏีเซลล์(cell theory) ว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ้ ้ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ และเซลล์คือหน่วยพื้นฐานของ สิ่งมีชีวิตทกชนิดสงมชวตทุกชนด 6Matthias Jakop Schleiden Theodor Schwann
  • 7. ปัจจุบันยังครอบคลุมถึงใจความสําคัญปัจจุบันยังครอบคลุมถึงใจความสําคัญ 33 ประการประการ 1. สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอาจมีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ และ ภายในเซลล์มีสารพันธุกรรมและมีกระบวนการเมทาบอลิ ซึมซม 2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการ จัดระบบการทํางาภายในเซลล์และโครงสร้างเซลล์ 3 ์ ่ ี ํ ิ ์ ิ่ โ ่ ์3. เซลล์ต่างๆมีกําเนิดมาจากเซลล์เริมแรกโดยการแบ่งเซลล์ ของเซลล์เดิม 7
  • 8. ์การศึกษาเซลล์ ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ ทําให้สามารถเห็น ี โ ้ ์รายละเอียดโครงสร้างของเซลล์ ศึ ้ ิ ี ชิ้ ส่ ซ ์โ ี่ศกษาดวยวธแยกชนสวนของเซลลโดยการเหวยง ด้วยความเร็วที่ต่างๆกัน organelles ที่แยก ออกมาสามารถนําไปศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของ มันมน 8
  • 9. กล้องจลทรรศน์กล้องจลทรรศน์กลองจุลทรรศนกลองจุลทรรศน EyepieceEyepiece ArmArmRevolving nosepieceRevolving nosepiece ObjectiveObjective Mechanical stageMechanical stage StageStage Fine adjustmentFine adjustment CondenserCondenser Course adjustmentCourse adjustment BaseBase IlluminatorIlluminator 9
  • 10. Different Types of Light Microscope: A ComparisonDifferent Types of Light Microscope: A Comparison Brightfield Phase contrast (unstained specimen) Phase-contrast Brightfield ( t i d Differential- interference-(stained specimen) interference- contrast (Nomarski)(Nomarski) ConfocalFluorescene Confocal 10Human Cheek Epithelial Cells
  • 11. Electron micrographsElectron micrographs Transmission electron micrographs (TEM) Scanning electron micrographs (SEM) 11
  • 12. CellCell FractionationFractionation วิธีการแยกชิ้นส่วนของเซลล์ทําได้โดยการเหวี่ยงด้วยความเร็วที่ ต่างๆกัน organelles ที่แยกออกมาสามารถนําไปศึกษาโครงสร้างตางๆกน organelles ทแยกออกมาสามารถนาไปศกษาโครงสราง และหน้าที่ของมัน 12
  • 13. The size range ofThe size range ofgg cellscells ชนิดของเซลล์ เส้นผ่าศนย์กลางเสนผาศูนยกลาง Myoplasmas 0.1 - 1.0 ไมครอน แบคทีเรีย ส่วนใหญ่ของ 1.0 - 10.0 ไมครอน 10 0 100 0สวนใหญของ eukaryotic cell 10.0 - 100.0 ไมครอน 13
  • 14. Prokaryotic and Eukaryotic cellProkaryotic and Eukaryotic cell สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์ เซลล์แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. prokaryotic cell 2. eukaryotic cell ีโ ้ ่ ั ั้ ี้มีโครงสร้างแตกต่างกัน ดังนี 14
  • 15. Prokaryotic cellProkaryotic cell (pro=before; karyon=kernel)(pro=before; karyon=kernel) พบเฉพาะใน Kingdom Monera ไม่มีนิวเคลียสแท้จริง(มีโครโมโซมเพียงเส้นเดียว เป็น วงแหวน) ไม่มีเยื่อห้มนิวเคลียสวงแหวน), ไมมเยอหุมนวเคลยส สารพันธกรรมอย่ในบริเวณที่เรียกว่า nucleoidสารพนธุกรรมอยูในบรเวณทเรยกวา nucleoid ไม่มี organelles ที่มีเยื่อห้ม มีเฉพาะ ribosomeไมม organelles ทมเยอหุม มเฉพาะ ribosome ชนิด 70s 15 ได้แก่ bacteria,blue green algae
  • 16. A prokaryotic cellA prokaryotic cellA prokaryotic cellA prokaryotic cell 16
  • 17. Eukaryotic cellEukaryotic cellyy (eu=true; karyon=kernel) พบใน Kingdoms Protista, Fungi, Plante และ AnimaliaAnimalia มีนิวเคลียสที่แท้จริง, หุ้มด้วยเยื่อหุ้มนิวเคลียส, ุ ุ สารพันธุกรรมอยู่ในนิวเคลียส ภายใน cytoplasm ประกอบด้วย cytosol และมี organelles ี่ ี ื่ ้organelles ทมเยอหุม Cytoplasm =Cytoplasm = บริเวณภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นส่วนของนิวเคลียสบริเวณภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นส่วนของนิวเคลียส 17 y py p Cytosol =Cytosol = สารกิ่งของเหลงภายในสารกิ่งของเหลงภายใน cytoplasmcytoplasm
  • 19. Geometric relationshipsGeometric relationships explain why most cell are microscopicmicroscopic 19
  • 20. ขนาดของเซลล์มีข้อจํากัดโดยขนาดของเซลลมขอจากดโดย เซลล์ที่มีขนาดเล็กจะต้องมีขนาดที่สามารถบรรจ DNA ไรโบเซลลทมขนาดเลกจะตองมขนาดทสามารถบรรจุ DNA ไรโบ โซม เอนไซม์ และองค์ประกอบภายในเซลล์ที่สําคัญเพียงพอที่จะ ิซึ ื่ ํ ่ ซ ์ไ ้ควบคุมเมตาบอรซมเพอการดารงอยูของเซลลได เซลล์ที่มีขนาดใหญ่จะต้องมีพื้นผิวเซลล์เพียงพอสําหรับการเซลลทมขนาดใหญจะตองมพนผวเซลลเพยงพอสาหรบการ แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจน สารอาหาร และของเสียภายในเซลล์ แม้ว่าเซลล์ขนาดใหญ่มีพื้นที่ผิวมากกว่าเซลล์ขนาดเล็กก็จริง แต่แมวาเซลลขนาดใหญมพนทผวมากกวาเซลลขนาดเลกกจรง แต เซลล์ขนาดใหญ่ก็มีอัตราส่วนของพื้นที่ผิวต่อปริมาตรน้อยกว่าเซลล์ ็ ่ ์ ้ ้ ่ขนาดเล็กที่มีรูปร่างเซลล์เหมือนกัน ดังนั้นอัตราส่วนของพื้นที่ผิว เซลล์ต่อปริมาตรจะเป็นตัวกําหนดขนาดของเซลล์ 20
  • 22. animal cellanimal cellanimal cellanimal cell 22
  • 23. plant cellplant cellplant cellplant cell 23
  • 25. เยื่อห้มเซลล์เยื่อห้มเซลล์ (Cell membrane)(Cell membrane)เยอหุมเซลลเยอหุมเซลล (Cell membrane)(Cell membrane) • Plasma membrane • Cytoplasmic membrane ทําหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่านทาหนาทเปนเยอเลอกผาน - Semipermeable membranep - Differentially membrane S l i l bl b- Selectively permeable membrane 25
  • 26. The plasma membraneThe plasma membranepp 26
  • 27. ความสําคัญของการแบ่งส่วนย่อยภายในไซโตพลาสซึม ภายในไซโตพลาสซึมของ eukaryotic cell มีความ ซับซ้อนในเรื่องโครงสร้างเพื่อให้อัตราส่วนของพื้นที่ผิวต่อซบซอนในเรองโครงสรางเพอใหอตราสวนของพนทผวตอ ปริมาตรพอเหมาะต่อความต้องการในการทํางานของเซลล์ โดยมีเยื่อภายในเซลล์ (internal membrane) ซึ่งมี บทบาทสําคัญ คือบทบาทสาคญ คอ 27
  • 28. แบ่งไซโตพลาสซึมเป็นส่วนย่อยๆ (compartment)ๆ ( p ) ภายในส่วนย่อยๆแต่ละส่วนมีของเหลวหรือโปรตีนที่ เฉพาะเจาะจงต่อปฏิกิริยาชีวเคมีที่แตกต่างกัน ี ํ ั ่ ิ ิ ึ ์ ี่ ื่ ีมีบทบาทสําคัญต่อการเกิดเมตาบอริซึมของเซลล์ เพราะทีเยือมี เอนไซม์หลายชนิดเป็นส่วนประกอบอยู่ ภายในส่วนย่อยมีสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันซึ่งมีความ ่ ิ ึเฉพาะเจาะจงต่อกระบวนการเมตาบอริซึม กระบวนการเมตาบอริซึมแต่ละอย่างสามารถดําเนินไปได้กระบวนการเมตาบอรซมแตละอยางสามารถดาเนนไปได พร้อมๆกันภายในเซลล์เดียวกัน โดยไม่เกิดการรบกวนซึ่งกันและ ั 28 กัน
  • 29. หน้าที่ของหน้าที่ของ cell membranecell membraneหนาทของหนาทของ cell membranecell membrane • ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร อาจเปลี่ยนรูปร่างเป็นไมโครวิลไลุ ู และเยื่อไมอีลิน 29
  • 31. The nucleusThe nucleusThe nucleusThe nucleus and theand the envelopeenvelope 31
  • 32. Nuclear envelope มีลักษณะดังนี้Nuclear envelope มลกษณะดงน เป็นเยื่อ 2 ชั้น มีช่องว่างตรงกลางกว้างประมาณ 20-40 nm มีรู (nuclear pores) แทรกอยู่ทั่วไป เป็นทางให้สารต่างๆ โดยเฉพาะ rRNA, mRNA และ nucleoprotein ผ่านเข้า ออกได้ ผิวด้านในของเยื่อหุ้มนิวเคลียสมีชั้นบางๆของโปรตีนยึดติดอยู่ ้ ้ความสําคัญของชั้นนี้ยังไม่ทราบแน่ชัด อาจช่วยรักษารูปทรงของ นิวเคลียส ภายในนิวเคลียสบรรจุสารพันธุกรรมที่อยู่ในรูปของโมเลกุล ่ ็ 32 DNA ที่จับกับโมเลกุลของโปรตีน เป็นโครโมโซม
  • 33. NucleolusNucleolus มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กในนิวเคลียส ใน NucleolusNucleolus มลกษณะเปนเมดกลมขนาดเลกในนวเคลยส ใน หนึ่งเซลล์อาจมีหนึ่งหรือสองเม็ด มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่ มีการแบ่งตัว ประกอบด้วย nucleolar organizers และ ribosome ที่กําลังสร้างขึ้น nucleolus ทําและ ribosome ทกาลงสรางขน nucleolus ทา หน้าที่สร้าง ribosome 33
  • 34. นิวเคลียสทําหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีนในไซโตพลาสซึมนิวเคลียสทําหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีนในไซโตพลาสซึม Messenger RNA (mRNA) transcribed in the nucleus from DNA instructions ⇓⇓ Passes through nuclear pores into cytoplasmg p y p ⇓ Attaches to ribosomes where the genetic message is translated into primary structureis translated into primary structure 34
  • 36. RibosomesRibosomesRibosomesRibosomes เป็น organelles ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ทําหน้าที่สร้างโปรตีน มี 2 ส่วนย่อย ้ ใ ์ ี่ ี ้ โป ี ่(subunit) สร้างจาก nucleolus ในเซลล์ทีมีการสร้างโปรตีนสูงจะพบว่า มี nucleolus และ ribosome เป็นจํานวนมาก ตัวอย่างเช่นในเซลล์ตับ 36 ของคนมี ribosome จํานวนมากและมี nucleolus ที่เด่นชัดมาก
  • 37. Rib ี 2 ิ ืRibosome มี 2 ชนิดคือ 1 free ribosomes ทําหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน1. free ribosomes ทาหนาทสรางโปรตนทใชใน cytosol เช่น เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับเมตาบอริซึมใน t lcytoplasm 2 bound ribosomes เป็น ribosome ที่เกาะอย่2. bound ribosomes เปน ribosome ทเกาะอยู ด้านผิวนอกของ ER ทําหน้าที่สร้างโปรตีนที่จะถูกส่งต่อไปรวมกับ organelles ื่ โป ี ี่ ่ ไปใ ้ ์ ใorganelles อืนๆ และโปรตีนทีจะถูกสงออกไปใชนอกเซลล ใน เซลล์ที่สร้างโปรตีน เช่น เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมอื่นที่สร้างนํ้าย่อย จะมี bound ribosomes เป็นจํานวนมาก 37
  • 38. The Endomembrane systemThe Endomembrane system ประกอบด้วย 1. Nuclear envelop 2. Endoplasmic reticulum 3. Golgi apparatus 4. Lysosomes 5 V l5. Vacuoles 6 Plasma membrane 38 6. Plasma membrane
  • 39. Endoplasmic reticulum (ER) (Endoplasmic = อยู่ในไซโตพลาสซึม, reticulum = ร่างแห) เป็น organelles ที่มีเยื่อหุ้ม มี ลักษณะเป็นท่อแบนหรือกลม กระจายอยู่ใน cytosol ช่องภายในท่อเรียกว่า cisternal space ซึ่งท่อนี้มีการเชื่อมติดต่อกับช่องว่าง ที่อย่ระหว่างเยื่อห้มนิวเคลียสชั้นนอกและทอยูระหวางเยอหุมนวเคลยสชนนอกและ ชั้นในด้วย 39
  • 40. ER มี 2 ชนิด คือER ม 2 ชนด คอ 1. Rough endoplasmic reticulum (RER)g p ( ) มีไรโบโซมเกาะติดอยู่ที่เยื่อหุ้มด้านนอกทําให้มองเห็นขรุขระ ทํา ้ ี่ ้ โ ี ี่ ไ ์ ( dหน้าทีสร้างโปรตีนทีส่งออกไปนอกเซลล์ (secondary protein) โดยไรโบโซมที่เกาะอยู่นี้สร้างโปรตีน แล้วผ่านเยื่อของ ER เข้าไปใน cisternal space แล้วหลุดออกไปจาก ER เป็น transport vesicle ส่งออกไปใช้ภายนอกเซลล์โดยตรงเปน transport vesicle สงออกไปใชภายนอกเซลลโดยตรง หรือนําไปเชื่อมกับเยื่อของ Golgi complex เพื่อเพิ่ม คาร์โบไฮเดรตแก่โปรตีนที่สร้างขึ้นกลายเป็น glycoproteinคารโบไฮเดรตแกโปรตนทสรางขนกลายเปน glycoprotein ก่อนส่งออกไปใช้ภายนอกเซลล์ 40
  • 41. Rough endoplasmic reticulum (RER)Rough endoplasmic reticulum (RER) 41
  • 42. 2 S th d l i ti l (SER)2. Smooth endoplasmic reticulum (SER) •ไม่มีไรโบโซมมาเกาะที่เยื่อห้มด้านนอก จึงมองเห็นเป็นผิวไมมไรโบโซมมาเกาะทเยอหุมดานนอก จงมองเหนเปนผว เรียบๆ ท่อของ SER เชื่อมติดต่อกับ RER ได้ •SER ไม่เกี่ยวกับการสร้างโปรตีน ส่วนใหญ่มีความสําคัญ เกี่ยวกับการสร้างฮอร์โมนชนิดสเตอรอยด์ และไขมันเกยวกบการสรางฮอรโมนชนดสเตอรอยด และไขมน •ลดความเป็นพิษของสารพิษ •ในเซลล์กล้ามเนื้อ SER ทําหน้าที่ควบคุมการเก็บและปล่อย ่ ่ ้แคลเซี่ยมเพื่อควบคุมการทํางานของเซลล์กล้ามเนื้อ เป็นต้น 42
  • 44. The Golgi apparatusThe Golgi apparatusThe Golgi apparatusThe Golgi apparatus 44
  • 45. Golgi complexGolgi complexGolgi complexGolgi complex มีลักษณะเป็นถงแบนหลายถงเรียงซ้อนกัน เรียกว่าุ ุ Golgi cisternar บริเวณตรงกลางเป็นท่อแคบและปลายสอง ข้างโป่งออก และมีกล่มของถงกลม (vesicles) อย่รอบๆขางโปงออก และมกลุมของถุงกลม (vesicles) อยูรอบๆ Golgi complex มีโครงสร้างที่เป็น 2 หน้า คือ cis face t f ี่ ํ ้ ี่ ั ่ i f ป็ ่และ trans face ทีทําหน้าทีรับและส่ง cis face เป็นส่วนของ ถุงแบนที่นูนอยู่ใกล้กับ ER transport vesicles ที่ถูกสร้าง มาจาก RER เคลื่อนที่เข้ามารวมกับ Golgi complex ทางด้าน cis face ส่วน trans face เป็นด้านที่เว้าของถุงุ แบน เป็นด้านที่สร้าง vesicles และหลุดออกไป 45
  • 46. หน้าที่ของ Golgi complex คือg p เสริมสร้างคาร์โบไฮเดรดให้กับโปรตีนที่สร้างมาจาก RER ให้ เป็น glycoprotein เพื่อส่งออกไปภายนอกเซลล์ ็ ิ่ ี่ ์ ้ ึ้ โ ็ ไ ้ ใเก็บสะสมและกระจายสิงทีเซลล์สร้างขึน โดยเก็บไว้ภายใน secondary granules เพื่อส่งออกนอกเซลล์ โดยกระบวนการ exocytosis ้ i l ึ่ h d l tiสร้าง primary lysosomes ซึงบรรจุ hydrolytic enzymes นํ้าย่อยเหล่านี้มักเป็นพวก glycoprotein โดยมี การเติมคาร์โบไฮเดรตที่ Golgi complex ี่ ั ้ ั ้ ์ ( b fl ) 46 เกียวกับการสร้างผนังหุ้มเซลล์ (membrane flow)
  • 47. 47
  • 48. LysosomesLysosomesLysosomesLysosomes (a) Lysosomes in a white blood cell(a) Lysosomes in a white blood cell 48
  • 49. (b) A Lysosome in action( ) y Peroxisome f Mitochondrion ffragment fragment LysosomeLysosome 49
  • 50. LysosomesLysosomes เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มรูปกลมขนาดเล็ก ภายในบรรจุุ ู ุ hydrolytic enzyme หรือ lysosomal enzyme ช ิ ี่ ํ ้ ี่ ่ โ ใ ่ ไ ้ ่หลายชนดททําหนาทยอยโมเลกุลขนาดใหญ ไดแก polysaccharides, fats และ nucleic acids เอ็นไซม์ต่างๆเหล่านี้ ทํางานดีที่สุดที่ pH 5 lysosomal membrane ทําหน้าที่รักษาสภาพแวดล้อม ภายในให้เหมาะแก่การทํางานของเอ็นไซม์ โดยการปั้ม H+ภายในใหเหมาะแกการทางานของเอนไซม โดยการปม H จาก cytossol เข้าไปภายใน 50
  • 51. ถ้า lysosome ฉีกขาดจะไม่สามารถทํางานได้ดี หรือถา lysosome ฉกขาดจะไมสามารถทางานไดด หรอ เอ็นไซม์อาจออกมาทําอันตรายให้แก่เซลล์ได้ จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า การแบ่งไซโตพลาสซึมเป็น ่ ่ ้ b ี ํ ั ่ส่วนย่อยๆด้วย membrane มีความสําคัญต่อการ ทํางานของเซลล์มาก Hydrolytic enzyme และ lysosomal membrane สร้างมาจาก RER และส่งต่อไปยัง Golgi complex แล้วแยกออกไปทางด้าน transGolgi complex แลวแยกออกไปทางดาน trans face ของ Golgi complex เป็น lysosome 51
  • 52. The formation and functions of lysosomesThe formation and functions of lysosomes 52
  • 53. หน้าที่ของ lysosomeหนาทของ lysosome เป็นแหล่งย่อยภายในเซลล์ (intracellular digestion)เปนแหลงยอยภายในเซลล (intracellular digestion) ตย. เช่น • อมีบากินอาหารโดยวิธี phagocytosis เกิดเป็น food vacuole ซึ่งจะรวมกับ lysosome เอ็นไซม์ในfood vacuole ซงจะรวมกบ lysosome เอนไซมใน cytosome จะทําหน้าที่ย่อยอาหารนั้น • เซลล์ของคน เช่น macrophage ก็สามารถทําลายสิ่ง แปลกปลอมที่เข้ามาในเซลล์ด้วยวิธี phagocytosisแปลกปลอมทเขามาในเซลลดวยวธ phagocytosis และถูกย่อยโดย lysosome ได้เช่นกัน 53
  • 54. เกี่ยวข้องกับการย่อย organelles ในไซโตพลาสซึมเพื่อนํา สารต่างๆกลับมาใช้สร้าง organelles ใหม่อีกสารตางๆกลบมาใชสราง organelles ใหมอก (autophagy) Lysosome สร้างเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิด metamorphosis ของการพัฒนาของตัวอ่อนในพวกสัตว์metamorphosis ของการพฒนาของตวออนในพวกสตว สะเทินนํ้าสะเทินบก มีบทบาทสําคัญต่อเมตาบอริซึมต่างๆในร่างกายเป็นอย่างมาก ถ้าหากมีความผิดปกติในการทํางานของเอ็นไซม์ในไลโซโซม จะถาหากมความผดปกตในการทางานของเอนไซมในไลโซโซม จ ทําให้เกิดโรคต่างๆได้ 54
  • 55. Vacuoles เป็น organelles ที่มีลักษณะเป็นเยื่อหุ้ม แต่มีg ุ ขนาดใหญ่กว่า vesicles มีแบบต่างๆได้แก่ 1. food vacuole 2. contractile vacuole 3. central vacuole 55
  • 56. food vacuolefood vacuolefood vacuolefood vacuole 56
  • 59. The plant cell vacuoleThe plant cell vacuoleThe plant cell vacuoleThe plant cell vacuole 59
  • 60. Relationships among organelles of the endomembrane systemy 60
  • 61. Membranous organelles อื่นๆ 1 Energy transcucers ได้แก่1. Energy transcucers ไดแก MitochondriaMitochondria Chl l tChloroplast 2 P i ( i b di )2. Peroxisomes (microbodies) 61
  • 62. The mitochondrion, site of cellular respirationThe mitochondrion, site of cellular respiration 62
  • 63. MitochondriaMitochondria พบใน eukaryotic cell เกือบทุกชนิด ในเซลล์บางชนิดอย่างมีเพียง หนึ่งอันที่มีขนาดใหญ่ หรือในเซลล์บางชนิดอาจมี mitochondria เป็น จํานวนร้อยหรือพันทั้งนี้ขึ้นกับกิจกรรมของเซลล์นั้นๆ Mitochondria มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น มีลักษณะเป็นสองวงซ้อนกัน แต่ละชั้น ของ phospholipid bilayer จะมีลักษณะเฉพาะตัวที่เกิดจากโมเลกลของ phospholipid bilayer จะมลกษณะเฉพาะตวทเกดจากโมเลกุล ของโปรตีนที่ฝังตัวบนเยื่อแต่ละชั้น เยื่อหุ้มชั้นนอกเรียบ ส่วนเยื่อชั้นในจะมีการโป่งยื่นเข้าข้างในเรียกว่า cristae เยื่อหุ้มทั้งสองชั้นแบ่ง mitochondria เป็นช่องภายใน 2 ส่วน ้ ้ได้แก่ ช่องที่อยู่ระหว่างเยื่อชั้นนอกและเยื่อชั้นใน (intermembrane space) และช่องที่ถูกล้อมรอบอยู่ภายในเยื่อชั้นใน (mitochodrial 63 matrix)
  • 64. ในช่องทั้งสองมีเอ็นไซม์ต่างชนิดกัน ที่เกี่ยวข้องกับในชองทงสองมเอนไซมตางชนดกน ทเกยวของกบ กระบวนการหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration) ั้ ัแต่ละขันตอนกัน •ที่บริเวณ cristae ของเยื่อห้มชั้นในมีเอ็นไซม์ที่•ทบรเวณ cristae ของเยอหุมชนในมเอนไซมท เกี่ยวข้องกับ electron transport chain และ ั ์ ATPการสังเคราะห์ ATP •ใน matrix บรรจเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ Kreb’s•ใน matrix บรรจุเอนไซมทเกยวของกบ Kreb s cycle และ Beta oxidation ของกรดไขมัน เป็น ้ต้น 64
  • 65. The chloroplast, site of photosynthesisThe chloroplast, site of photosynthesisp f p yp f p y 65
  • 66. ChloroplastChloroplast Chloroplast เป็น plastids ชนิดหนึ่งของเซลล์พืชChloroplast เปน plastids ชนดหนงของเซลลพช ที่มีรงควัตถุสีเขียว ที่เรียกว่า chlorophyll ซึ่งประกอบด้วย ็ ไ ์ โ ี่ ใ ้ ิ ั ์เอ็นไซม์และโมเลกุลของสารทีทําให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง Chloroplast มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น หุ้มล้อมรอบของเหลวที่ ใ h l k id ่ ้เรียกว่า stroma ภายในมีถุงแบน thylakoids ซึงซ้อนกัน เป็นตั้งเรียกว่า granum 66
  • 68. Peroxisomes (microbodies)Peroxisomes (microbodies)Peroxisomes (microbodies)Peroxisomes (microbodies) เป็น organelles ที่พบในเซลล์ยูคาริโอตเกือบทุกชนิด มีลักษณะเป็น ถุงที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว ภายในมี granular core ซึ่งเป็นที่รวมของ เอ็นไซม์ย้อมติดสีเข้ม เอ็นไซม์ชนิดต่างๆทําหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหรือทําลาย hydrogen peroxide (H O ) เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดสารพิษขึ้นhydrogen peroxide (H2O2) เพอปองกนไมใหเกดสารพษขน ภายในเซลล์ RH2 + O2 Oxidase R + H2O2 2H O catalase 2H O + O2H2O2 catalase 2H2O + O2 ในเซลล์ตับพบมี peroxisomes ขนาดใหญ่ จึงเข้าใจว่าอาจมีหน้า 68 เกี่ยวข้องกับการทําลายพิษของสารต่างๆหลายชนิด เช่น alcohol
  • 69. The cytoskeletonThe cytoskeleton เป็นโครงสร้างภายในเซลล์ ประกอบด้วยเส้นใย โป ี ี่ป ั ป็ ่ ั ่ ใโปรตีนทีประสานกนเปนรางแห แทรกตวอยูภายใน cytoplasm ทําหน้าที่เป็นโครงร่างภายในเพื่อรักษาy p รูปทรงหรือเปลี่ยนรูปทรง และทําให้เกิดการเคลื่อนไหว ภายใน cytoplasm และการเคลื่อนที่ของเซลล์บางภายใน cytoplasm และการเคลอนทของเซลลบาง ชนิด
  • 71. Motor molecules and the cytoskeleton Cytoskeleton ทํางานร่วมกับ motor proteins ทํา ใ ้ ิ ื่ ี่ ใ ์ ่ ื่ ี่ให้เกิดการเคลือนทีภายในเซลล์ เช่น การเคลือนทีของ flagellum หรือ cilia รวมทั้งการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ
  • 72. M t l l ํ i l ื llMotor molecules นํา vesicles หรือ organelles ไปยังตําแหน่งเป้ าหมาย โดยผ่านไปตาม cytosleleton
  • 73. Cytoskeleton ประกอบด้วยเส้นใยโปรตีน 3 ชนิดได้แก่ Microfilaments I t di t Cytoskeleton ประกอบดวยเสนใยโปรตน 3 ชนดไดแก Microtubules Microfilaments (Actin Filaments) Intermediate Filaments
  • 74. The cytoskeleton: a cell's scaffoldy 74
  • 75. Structure of Microtubules โครงสร้าง : เป็นท่อตรงและกลวงประกอบด้วย tubulin protein ้ ่ ์ 25ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง : 25 nm ์ป t b li β t b liองค์ประกอบ : α-tubulin และ β-tubulin
  • 76. Function of Microtubules รักษารปทรงและพยงเซลล์ Function of Microtubules ู ุ เป็นเส้นทางเคลื่อนที่ให้กับ organelles อื่นเปนเสนทางเคลอนทใหกบ organelles อน เกี่ยวข้องกับการแยกของโครโมโซมขณะที่มีการเกยวของกบการแยกของโครโมโซมขณะทมการ แบ่งเซลล์
  • 77. ่Microtubules ถูกสร้างมาจาก centrosome ซึ่ง อย่ใกล้ nucleusอยูใกล nucleus ในเซลล์สัตว์ บริเวณ centrosome มี centriolesce oso e ce o es อยู่ 1 คู่
  • 78. Centrosome containing a pair of centriolesg p
  • 79. Centrosome and centrioles ในเซลล์หลายชนิดมีการสร้าง microtubules จากบริเวณ ่centrosome ที่อยู่ใกล้ๆกับนิวเคลียส ใ ิ t ์ ั ์ ี t i l ่ในบริเวณ centrosome ของเซลล์สตว์มี centrioles อยู่ 1 คู่ แต่ละ centriole ประกอบด้วย microtubules จํานวน 3 ท่อ จํานวน 9 ชุด เรียงตัวเป็นวงกลม ใ ี่ ์ ่ ั ี ิ่ centrioles ป็ 2ในขณะทีเซลลแบงตวจะมีการเพิม centrioles เปน 2 ชุด แม้ว่า centrioles จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างแมวา centrioles จะมสวนเกยวของกบการสราง microtubules แต่ก็ไม่เป็นสิ่งจําเป็นสําหรับพวกยูคาริโอตทุก ช ิ ใ ืชไ ่ ี centriolesชนด ในพชไมม centrioles
  • 80. Microtubules เป็นแกนของ flagellum และ ciliaMicrotubules เปนแกนของ flagellum และ cilia
  • 81. A comparison of the beating of flagella and cilia
  • 82. Ultrastructure of a eukaryotic flagellum or cilium
  • 83. โครงสร้างของ flagellum หรือ cilia ที่ศึกษาภายใต้กล้อง EM (a) ภาพตัดตามยาว (b) ภาพตัดตามขวาง แสดงให้เห็นโครงสร้างภายใน ประกอบด้วยแกนของ microtubules อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ที่ยื่นยาวตามขึ้นไป เรียงกันเป็น pattern "9+2" คือ แกนกลางประกอบด้วย microtubules 2 ท่อ (doublets) จํานวน 9 ชุดเรียงตัวรอบเป็นวงกลม และตรงกลางมี microtubules อีก 2 ท่อ แต่ละท่อคู่ของรอบนอกมีแขน 1 คู่ (dynein) ยื่นยาวออกไปสัมผัสกับท่อคู่ที่อยู่ใกล้เคียง และมี radial spoke ยื่นเข้าไป ติดต่อกับท่อคู่ตรงกลาง ( c) แสดง basal body ซึ่งอย่ที่ฐานของ flagellum หรือ cilia มี( c) แสดง basal body ซงอยูทฐานของ flagellum หรอ cilia ม โครงสร้างเหมือนกับ centriole ประกอบด้วย microtubules 3 ท่อเรียง กันเป็นวงกลมกนเปนวงกลม
  • 84. How dynein” walking” moves cilia and flagella ่ d i ใ ้การเคลือนตัวของ dynein ทําให้ เกิดการเคลื่อนไหวของ fl ll ื iliflagellum หรือ cilia การ เคลื่อนตัวของ dynein arm ที่ ั i b lเกาะกับท่อคู่ของ microtubules หนึ่ง ไปเกาะที่อีกท่อคู่หนึ่ง โดยการ ป ่ ั ั ไป ี้ ี ํเกาะและปล่อยสลับกันไปนีมีผลทํา ให้ flagellum หรือ cilia เบน โ ้ ื่ ี่ไปไ ้ ํโค้งเคลือนทีไปได้ การทํางานของ dynein ใช้พลังงานจาก ATP
  • 85. Structure of Microfilaments โครงสร้าง : เป็นเส้นใยทึบ 2 สายพันกัน Structure of Microfilaments : เป็นเกลียว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง : 7 nm องค์ประกอบ : Actin
  • 86. F nction of MicrofilamentsFunction of Microfilaments รักษารปทรงของเซลล์และการเคลื่อนไหวภายในเซลล์รกษารูปทรงของเซลลและการเคลอนไหวภายในเซลล การหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อการหดตวของเซลลกลามเนอ ทําให้เกิดการคอดตัวเป็นร่อง ขณะที่มีการแบ่งเซลล์สัตว์ทาใหเกดการคอดตวเปนรอง ขณะทมการแบงเซลลสตว
  • 87. A structure role of microfilaments Microvilli Microvilli ที่เซลล์ ลําไส้คงรปอย่ได้Microvilli ลาไสคงรูปอยูได เนื่องจากมี microfilaments Mi fil t microfilaments เป็นแกน ชึ่งเชื่อมต่อกับ intermediate Microfilaments (Actin filaments) filaments Intermediate filamentsfilaments
  • 88. Microfilaments and motility ในเซลล์กล้ามเนื้อ actin filaments เรียงกันอย่างเป็นระเบียบ ทําหน้าที่เกี่ยวข้องกับการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อทาหนาทเกยวของกบการหดตวของเซลลกลามเนอ
  • 89. ในเซลล์อมีบา การยื่น pseudopodium ออกไปเกิดจากการp p ยืดและหดตัวของ actin filaments
  • 90. ในเซลล์พืช การทํางานร่วมกันของ actin และ myosin ทําให้เกิดการไหลภายใน cytoplasm
  • 91. Structure of Intermediate Filaments โครงสร้าง : ประกอบด้วยมัดของหน่วยย่อย โปรตีนที่พันกันเป็นเกลียว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง : 6-12 nm องค์ประกอบ : โปรตีนหลายชนิด แล้วแต่ชนิด ของเซลล์ ตย เช่น keratinของเซลล ตย. เชน keratin
  • 92. Function of Intermediate Filaments ทําให้ organelles อยู่ประจําที่g ู รักษาโครงสร้างของเซลล์ Microvilli Microfilaments (Actin filaments) Intermediate filaments
  • 93. Plant cell wallsPlant cell walls cell wall เป็นผนังเซลล์ของพืชที่อยู่ภายนอกของเยื่อหุ้ม ์ ีโ ็ ั ้ ll l ั ั ใเซลล์ มีโครงร่างเป็นผนังหนาประกอบด้วย cellulose ฝังตัวอยู่ใน โปรตีนและ polysaccharides
  • 95. Extracellular matrix (ECM) เซลล์สัตว์ไม่มี cell wall แต่มีสารที่ถกเซลลสตวไมม cell wall แตมสารทถูก สร้างออกมาอยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า extracellular matrix
  • 96. Extracellular matrix (ECM) of an animal cell FibronectinFibronectin
  • 97. องค์ประกอบและโครงสร้างของ ECM จะแตกต่างกันใน ่ ้เซลล์แต่ละชนิด เซลล์ในตัวอย่างที่แสดงนี้ ECM ประกอบด้วย สารพวก glycoprotein 3 ชนิด ได้แก่g y p 1. collagen fiber ที่ฝังตัวอยู่ในร่างแหของ ่proteoglycans ซึ่งประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต 95 % 2 fibronectin ป็ glycoprotein ี่ ่ ั2. fibronectin เปน glycoprotein ทเกาะอยูกบ receptor protein ที่อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ (integrin) 3. integrin จะเชื่อมโยงระหว่าง ECM กับ microfilament ใ cytoplasm ซึ่ ี สํ ัmicrofilament ใน cytoplasm ซงมบทบาทสาคญ เกี่ยวข้องกับการนําสัญญาณการถูกกระตุ้นระหว่างสิ่งแวดล้อม ์ไภายนอกกับภายในเซลล์ได้
  • 98. Intercellular junctions in animal tissues มี 3 ชนิด คือ 1. Tight junctions 2. Desmosomes 3. Gap junctionsp j
  • 99. Intercellular junctions in animal tissues
  • 100. Cellular junction ในเซลล์สัตว์Cellular junction ในเซลลสตว (a) tight junction พบอยู่ใต้ผิวเซลล์ด้านที่เป็นอิสระ เยื่อหุ้ม( ) g j ู ุ เซลล์ของเซลล์ที่อยู่ติดกัน มีการเชื่อมติดกัน แต่ไม่เชื่อมกันตลอด มี ส่วนที่ไม่เชื่อมกัน เกิดช่องเป็นระยะๆสวนทไมเชอมกน เกดชองเปนระยะๆ (b) desmosome พบในเซลล์เนื้อเยื่อทุกชนิด เยื่อหุ้มเซลล์ของ( ) ุ ุ เซลล์ที่อยู่ติดกันไม่เชื่อมติดกัน และบริเวณนี้มี filament มาเกาะ อย่ด้านในของเซลล์ทั้งสองอยูดานในของเซลลทงสอง (c) gap junction ช่องว่างระหว่างเซลล์แคบกว่าที่อื่น หรือ( ) g p j เกือบไม่มีเลย โดยมีความกว้างประมาณ 20 Ao บริเวณนี้เป็นที่ให้ โมเลกลของสารต่างๆที่มีขนาดเล็กผ่านไปมาได้โมเลกุลของสารตางๆทมขนาดเลกผานไปมาได
  • 102. ตัวอย่างเช่น เซลล์ macrophage ยื่น pseudopodiap g p p ออกไปจับแบคทีเรีย โดยการยืดและหดของ actin filament ่Food vacuoles ถูกย่อยโดย lysosome ซึ่ง lysosome สร้างมาจาก ER และ Golgi เอ็นไซม์ของ lysosomes และโปรตีนของ cytoskeleton ้ ้ ่ ibถูกสร้างขึนที ribosomes โปรตีนถกแปรรหัสมาจาก mRNA ที่ถอดรหัสมาจาก DNAโปรตนถูกแปรรหสมาจาก mRNA ทถอดรหสมาจาก DNA ในนิวเคลียส กระบวนการทั้งหมดเหล่านี้ต้องการพลังงานในรูปของ ATP ซึ่งส่วนใหญ่สร้างมาจาก mitochondriaซงสวนใหญสรางมาจาก mitochondria
  • 103. การลําเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ุ (Traffic Across Membranes) เยื่อห้มเซลล์มีสมบัติที่ยอมให้สารบางอย่างผ่านเข้าไปใน ( ) เยอหุมเซลลมสมบตทยอมใหสารบางอยางผานเขาไปใน เซลล์ได้ง่ายกว่าสารบางอย่างชนิดอื่น เรียกว่า ้ ่ ์selective permeability ดังนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จะ ควบคมชนิดและอัตราการลําเลียงโมเลกลของสารผ่านเข้าุ ุ และออกจากเซลล์
  • 104. ์การลําเลียงสารผ่านเซลล์ 1 P i t t1. Passive transport 2 Active transport2. Active transport
  • 105. Diffusion and Passive transport (diff i ) ึ ื่ ี่การแพร่ (diffusion) หมายถึง การเคลือนที ของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารุ มากกว่าไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อยกว่า ่ ่ใ (d iจนกว่าจะอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic equilibrium) เมื่ออยู่ในสภาพสมดุลแล้ว โมเลกุลq ) ู ุ ุ ของสารยังคงเคลื่อนอยู่แต่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากัน ทั้งสองบริเวณทงสองบรเวณ
  • 106. ่ ์การแพร่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า passive transport เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงานที่เรยกวา passive transport เซลลไมตองใชพลงงานท จะทําให้เกิดการแพร่ขึ้น และเยื่อหุ้มเซลล์มีสมบัติ l ti bl ั ั้ ั ่selective permeable ดังนันอัตราการแพร่ของสาร ชนิดต่างๆจะไม่เท่ากันๆ นํ้าจะสามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้อย่างอิสระซึ่งุ มีความสําคัญมากสําหรับการดํารงอยู่ของเซลล์
  • 107. การแพร่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ุ ุ ( ) โ ื่ ี่ ิ ี่ ี ้ ้ ่ ไป ั(a) โมเลกุลของสารเคลือนทีจากบริเวณทีมีความเข้มข้นมากกว่าไปยัง บริเวณที่มีความเข้มข้นน้อยกว่า จนกระทั่งอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic ilib i ) ื่ ่ใ ้ โ ัequilibrium) เมืออยู่ในสภาพสมดุลแล้วโมเลกุลของสารยังคง เคลื่อนที่อยู่แต่อัตราการเคลื่อนที่ของสารจากทั้งสองด้านของเยื่อหุ้มเซลล์ ่ ัเท่ากัน
  • 108. (b) ในกรณีนี้ แสดงสารละลายของสี 2 ชนิด ที่อยู่คนละด้าน ่ ่ ่ของเยื่อหุ้มเซลล์ โมเลกุลของสารสีเขียวจะเคลื่อนที่ไปยัง ด้านซ้าย ทั้งๆที่ตอนเริ่มต้นความเข้มข้นของสารในด้านซ้ายสูงู กว่า
  • 109. ตัวอย่างการแพร่ในสิ่งมีชีวิตตวอยางการแพรในสงมชวต ได้แก่ การหายใจของสัตว์ ขณะหายใจเข้าก๊าซ ออกซิเจนจากอากาศที่ผ่านเข้าไปในถุงลมในปอดมีความ ้ ้ ่ ใ ้ ื ฝ ิ ึ ่เขมขนสูงกวาในเสนเลือดฝอย ออกซิเจนจึงแพรจากถุง ลมเข้าไปในเส้นเลือดฝอย และในขณะเดียวกัน คาร์บอนไดออกไซด์จะแพร่จากเส้นเลือดเข้าสู่ถุงลม
  • 110. Osmosis Osmosis หมายถึงการแพร่ของโมเลกลของนํ้าจากบริเวณที่มีOsmosis หมายถงการแพรของโมเลกุลของนาจากบรเวณทม โมเลกุลของนํ้าหนาแน่นมากกว่าหรือสารละลายที่เจือจางกว่า (hypoosmotic solution)ไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของนํ้าน้อยกว่าหรือสารละลายที่เข้มข้นกว่า) ุ (hyperosmotic solution) โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
  • 111. The water balance of living cells ิ ื่ ี่ โ ํ้ ่ ์ ั ์ ึ่ ไ ่ ี ัลูกศรแสดงทิศทางการเคลือนทีของโมเลกุลของนําผ่านเซลล์สัตว์ซึงไม่มีผนัง เซลล์ และเซลล์พืชซึ่งมีผนังเซลล์
  • 112. The contractile vacuole of Paramesium : an evolutionary adaptation for osmoregulation Filli lFilling vacuole Contracting vacuoleContracting vacuole
  • 113. Facilitated diffusion T t t i ่ ใ ํ โ ่ ื่ ้Transport proteins ช่วยในการนําโมเลกุลของสารผ่านเยือหุ้ม เซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความ ้ ้ ่ ้ f i i iff iเข้มข้นตํากว่า เรียกกระบวนการนี้ว่า facilitated diffusion โดย เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงาน
  • 114. Acti e transportActive transport บางครั้งเซลล์ต้องการลําเลียงสารจากที่มีความบางครงเซลลตองการลาเลยงสารจากทมความ เข้มข้นตํ่าไปยังที่มีความเข้มข้นสูงกว่า กระบวนการนี้ เรียกว่า active transport ซึ่งต้องการพลังงานคือ ATPATP ตัวอย่างเช่น เซลล์ขับ NA+ ออกนอกเซลล์และนําตวอยางเชน เซลลขบ NA ออกนอกเซลลและนา K+ เข้าไปในเซลล์ ซึ่งเรียกว่า Sodium-potassium pump
  • 116. S di t iSodium-potassium pump กระบวนการเริ่มต้นจาก Na+ จับกับโปรตีนซึ่งเป็นกระบวนการเรมตนจาก Na จบกบโปรตนซงเปน transport protein แล้ว ATP ให้พลังงานแก่ โปรตีนทําให้โปรตีนเปลี่ยนรูปร่างและปล่อย Na+ ผ่าน เยื่อห้มเซลล์ออกไป ขณะเดียวกัน K+ เข้าจับกับโปรตีนเยอหุมเซลลออกไป ขณะเดยวกน K เขาจบกบโปรตน ทําให้โปรตีนเปลี่ยนแปลงรูปร่างอีกครั้งหนึ่ง ทําให้ K+ ถูก ้ ไ ใ ์ ้ โปล่อยเข้าไปในเซลล์ แล้วโปรตีนกลับมีรูปร่างเหมือนเดิม อีกพร้อมที่จะเริ่มต้นกระบวนการใหม่ต่อไป
  • 118. Exocytosis and endocytosis transport large moleculestransport large molecules สารที่มีโมเลกลขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน และสารทมโมเลกุลขนาดใหญ เชน โปรตน และ คาร์โบไฮเครต ผ่านออกนอกเซลล์ด้วยกระบวนการ exocytosis และเข้าไปในเซลล์ด้วยกระบวนการ endocytosisendocytosis
  • 119. Endocytosis มี 3 แบบ ได้แก่ 1. Phagocytosis 2. Pinocytosis 3. Receptor-mediated endocytosis
  • 120. Phagocytosis Phagocytosis เป็นการนําสารที่เป็นของแข็งเข้าเซลล์ โดยเซลล์ยื่นPhagocytosis เปนการนาสารทเปนของแขงเขาเซลล โดยเซลลยน ส่วน cytoplasm ไปโอบล้อมสารของแข็งนั้น แล้วเข้าไปในเซลล์ เป็น food vacuole แล้ว food vacuole นั้นจะไปรวมกับfood vacuole แลว food vacuole นนจะไปรวมกบ lysosome ซึ่งภายในมี hydrolytic enzymes ที่จะย่อยสลาย สารนั้นต่อไป อมีบากินแบคทีเรียด้วยวิธีนี้สารนนตอไป อมบากนแบคทเรยดวยวธน
  • 121. Pinocytosisy Pinocytosis เป็นการนําสารที่เป็นของเหลวเข้าเซลล์ โดยเยื่อPinocytosis เปนการนาสารทเปนของเหลวเขาเซลล โดยเยอ หุ้มเซลล์เว้าเข้าไปเพื่อนําสารเข้าไป กลายเป็นถุงเล็กๆอยู่ใน cytoplasmcytoplasm
  • 122. Receptor-mediated endocytosis ็Receptor-mediated endocytosis เป็นการนําสารเฉพาะ บางชนิดเข้าไปในเซลล์ โดยที่ผิวเซลล์มี receptor เฉพาะสําหรับสาร บางอย่างเข้ามาจับ แล้วถูกนําเข้าไปในเซลล์เป็นถุงเล็กๆ เมื่อผ่านการ ย่อยแล้ว receptor สามารถถูกนํามาใช้ใหม่ได้อีกp ู
  • 124. 3. CONTROLLING THE INTERNAL ENVIRONEMENT -สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในสภาวะแวดล้อมที่แปรผันอย่างมาก จะสามารถมีชีวิตอยูู่ รอดได้ ก็ต่อเมื่อมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมนั้น ๆ -การปรับตัวเพื่อรักษาสภาวะธํารงดุลภายในร่างกาย หรือ homeostasis (Gr.ุ same standing) -สัตว์สามารถรักษาสภาวะภายในร่างกายไว้ได้ แม้ว่าสภาพแวดล้อมภายนอกสตวสามารถรกษาสภาวะภายในรางกายไวได แมวาสภาพแวดลอมภายนอก จะมีการเปลี่ยนแปลงไปมากจนอาจเป็นอันตรายต่อเซลล์ได้ เช่น การรักษา สภาวะแวดล้อมภายในร่างกายเปลี่ยนแปลงไปในช่วงแคบ ๆ ถึงแม้ว่าสภาวะสภาวะแวดลอมภายในรางกายเปลยนแปลงไปในชวงแคบ ๆ ถงแมวาสภาวะ แวดล้อมภายนอกจะแปรผันอย่างมาก เช่นการรักษาอุณหภูมิภายในร่างกาย คนให้มีค่าอย่ที่ประมาณ 37 oCคนใหมคาอยูทประมาณ 37 C 124
  • 125. รูปร่างและหน้าที่ที่เหมาะสมต่อสภาวะแวดล้อม (Form and function suit the environment) -สัตว์สามารถรักษาสภาวะแวดล้อมภายในร่างกายให้คงที่ไว้ได้ แม้ว่าสภาวะ-สตวสามารถรกษาสภาวะแวดลอมภายในรางกายใหคงทไวได แมวาสภาวะ แวดล้อมภายนอกจะแปรผันมาก เนื่องจากสัตว์มีการปรับตัวเพื่อให้ได้รูปร่างที่ สัมพันธ์กับการทํางาน (หน้าที่) ที่เหมาะสมต่อสภาวะแวดล้อมที่สัตว์อาศัยอย่สมพนธกบการทางาน (หนาท) ทเหมาะสมตอสภาวะแวดลอมทสตวอาศยอยู -การเกิดวิวัฒนาการ (evolution) และการคัดเลือกตามธรรมชาติ (natural selection) ํ ใ ้ ั ์ ี่ ี ป ่ ี่ ใ ้ ั้ ่จะทําให้สัตว์ทีมีรูปร่างเหมาะสมทีสุดในสภาวะแวดล้อมนัน ๆ สามารถอยู่รอด สืบพันธุ์และถ่ายทอดยีนดังกล่าว ไปสู่รุ่นลูกหลานได้ ่:รูปร่าง (form) – หน้าที่ (function) :กายวิภาคศาสตร์ (anatomy) – สรีรวิทยา (physiology) 125
  • 126. หากินกลางคืน (nocturnal monkey) หากินกลางวัน (diurnal monkey) อาศัยในเขตร้อน อาศัยในเขตหนาวอาศยในเขตรอน อาศยในเขตหนาว 126
  • 127. • สัตว์เลือดอ่น (Homeothermic animal)• สตวเลอดอุน (Homeothermic animal) • สัตว์เลือดเย็น (Poikilothermic animal) 127
  • 128. รูปร่างและหน้าที่ที่เหมาะสมต่อสภาวะแวดล้อม (Form and function suit the environment) ปลาวาฬสีนํ้าเงินมีการพัฒนาอวัยวะภายในช่องปาก(sieve or baleen plate) ให้-ปลาวาฬสนาเงนมการพฒนาอวยวะภายในชองปาก(sieve or baleen plate) ให เหมาะต่อการดักจับ เคย(krill) ซึ่งเป็นสัตว์ขนาดเล็กที่มีเป็นจํานวนมากในทะเล เป็นอาหาร มีรจมก(nostril) อย่ด้านบน จึงทําให้หายใจได้ในขณะดํานํ้าเปนอาหาร มรูจมูก(nostril) อยูดานบน จงทาใหหายใจไดในขณะดานา 128
  • 129. -ในบทนี้จะเรียนเกี่ยวกับการรักษาสมดุลของอุณหภูมิ, สารละลายและนํ้า, และ การกําจัดของเสียพวกไนโตรเจนดังนี้ 1.Thermoregulation การรักษาสมดุลของอุณหภูมิภายในร่างกาย ั ํ้ ใ ่2. Osmoregulation การรักษาสมดุลของสารละลายและนําในร่างกาย 3. Excretion การกําจัดของเสียพวกไนโตรเจน (nitrogen-containing waste) ออก ่นอกรางกาย 129
  • 130. ผิวหนังและthermoregulation -ไขมัน (adipose) และขนทํา( p ) หน้าที่เป็นฉนวนป้ องกันการ สูญเสียความร้อนออกนอกูญ ร่างกาย -การหด-ขยายตัวของเส้นเลือด ที่ผิวหนัง -การตั้งชัน(erection)และการอัด( ) ตัวกันแน่น(compaction)ของขน -การเกิด evaporation โดยการp หลั่งเหงื่อ จากต่อมเหงื่อ 130
  • 131. Water Balance and Waste Disposal: Osmoregulation -osmosis การเคลื่อนของนํ้าผ่าน ้semipermeable membrane โดยขึ้นกับ ความเข้มข้นของ osmolyte (ion, small organic ่ ่ ้ ้molecules, protein) ที่อยู่ระหว่างเยื่อกั้นทั้ง สองด้าน -นกทะเลหลายชนิดมีอวัยวะในการกําจัด เกลือที่หัว เรียก nasal gland NaClตํ่า -Countercurrent ของทิศทางการไหลของ เลือดและการเคลื่อนของ NaCl ในท่อ salt- NaClสง excreting gland -ในปลาฉลามมีอวัยวะพิเศษสําหรับกําจัด เกลือ เรียก rectal gland NaClสูง 131 เกลอ เรยก rectal gland
  • 132. การกําจัดของเสียพวกไนโตรเจน (Excretion of nitrogen-containing waste) ที่ได้ โป ี ิ ิ ิ ีใ ป ่ ั ี้จากการสลายโปรตีนและกรดนิวคลิอิกมีในรูปแบบต่าง ๆ ดังนี 1. แอมโมเนีย (Ammonia ) ป็ ี่ ํ้ ไ ้ ี ่ ป็ ิ ่ ั ์ ้ ีป ิ ้-เป็นสารทีละลายนําได้ดี แต่เป็นพิษต่อสัตว์ แม้จะมีปริมาณน้อย -การขับของเสียพวกไนโตรเจนในรูปแบบนี้จึงมักพบในสัตว์นํ้า เพราะแอมโนเนีย ่ ่ ื่ ์ ่ ํ้ ไ ้ ีสามารถแพร่ผ่านเยือเซลล์สู่นําได้ดี -ในปลานํ้าจืด มักมีการขับแอมโมเนียในรูปของ NH4 +ผ่านทางเหงือก โดย ป ี่ ั ํ ้ ่ ์แลกเปลียนกับการนํา Na+ เข้าสู่เซลล์ 2. ยูเรีย (Urea) NH2-CO-NH2 ใ ั ์ ี้ ้ ั ์ ิ ํ้ ิ ั ็ ั ป ่-พบในสัตว์เลียงลูกด้วยนม, สัตว์สะเทินนําสะเทินบกตัวเต็มวัย, ปลาทะเล, เต่า -ยูเรียสร้างที่ตับโดยการรวมกันของแอมโมเนียและคาร์บอนไดออกไซด์ จึงทําให้ ั ์ ิ้ ป ื ั ใ ั ์สัตว์สินเปลืองพลังงานในการสังเคราะห์ -มีความเป็นพิษน้อยกว่าแอมโมเนีย 100,000 เท่า สัตว์จึงเก็บไว้ในร่างกายที่ความ ้ ้ ไ ้ 132 เข้มข้นสูงได้
  • 133. 3. กรดยูริก (Uric acid)ู ( ) -พบในหอยทากบก, แมลง, นก, สัตว์เลื้อยคลานหลาย ชนิด -กรดยูริกไม่ค่อยละลายนํ้าู จึงมีการขับออกจาก ร่างกายในรูป semisolidู จึงประหยัดการขับนํ้าออก -แต่การสังเคราะห์กรดยูริกู จะสิ้นเปลืองพลังงาน (ATP) มาก 133
  • 134. Osmoregulation ในปลานํ้าจืดและปลานํ้าเค็ม ปัญหา ปัญหาญ -ได้รับเกลือเข้าสู่ร่างกายจํานวนมาก -สูญเสียนํ้าออกจากร่างกายจํานวนมาก ้ปั ญ -ได้รับนํ้าเข้าสู่ร่างกายจํานวนมาก -สูญเสียเกลือแร่ออกจากร่างกาย การแก้ปัญหาการแกปญหา -กําจัดเกลือออกจากเหงือกโดยวิธี active transport การแกปญหา -ขับปัสสาวะปริมาณมาก และเจือจาง -รับเกลือจากอาหารและactive uptake 134 p -รับนํ้าจากอาหารและนํ้าทะเล ขับ ปัสสาวะปริมาณตํ่า p ผ่านเหงือก
  • 135. ั ี่ใ ้ใ ํ ั ี ่ ั ์ ิ ่ ี ั ี้อวัยวะทีใช้ในการกําจัดของเสียออกจากร่างกายสัตว์ชนิดต่าง ๆ มีดังนี 1. Protonephridia พบในหนอนตัวแบน, rotifers, annelids บางพวก, ตัวอ่อน mollusk, lancelet (invertebrate chordate) 2. Metanephridia พบใน annelids ส่วนมาก รวมทั้งไส้เดือนดิน ใ3. Malpighian tubules พบในแมลง 4. Kidney พบในสัตว์มีกระดูกสันหลัง 135
  • 136. Protonephridia: Flame-bulb systems -Protonephridia หน้าที่หลักคือ osmoregulation ป็ ่ ี่ ี ใ ป็ ่ ป-เป็นท่อทีมีการแตกแขนงภายใน เป็นท่อปลาย ปิดที่ปิดด้วยเซลล์ๆเดียว ซึ่งภายในมีลักษณะ ี่ ี ่ ใflame bulb ทีมี cilia อยู่ภายใน -การพัดโบกของ cilia จะช่วยให้นํ้าและ ่สารละลายจาก interstitial fluid ผ่าน interdigitating membrane เข้าสู่ภายในท่อ ่ ั ืสารละลายส่วนมากจะถูกดูดกลับคืน (reabsorb) -มีการขับของเสียออกจากร่างกายทาง nephridiopores 136
  • 137. Metanephridia ไ-ในแต่ละ segment ของไส้เดือนมี metanephridia 1 คู่ ไปเปิดที่ segment ถัดไปทางด้านหน้า ็ ่-ปลายเปิดมีลักษณะเป็นกรวยที่มี cilia ล้อมเรียก nephrostome ที่ทําหน้าที่รวบรวมของเหลวจาก ้ ็ ไ ้ ่coelom นําเข้าสู่ collecting tubule และเก็บไว้ที bladder ก่อนขับออกจากร่างกายทาง nephridiopore -ก่อนขับปัสสาวะ ส่วนใหญ่จะมีการดูดกลับของเกลือ และสารที่มักขับออกคือ nitrogenous waste -เนื่องจากไส้เดือนมักอาศัยในดินที่มีความชื้นสูงจึงมีการแพร่ของนํ้าเข้าสู่ร่างกายมาก 137 (osmosis) ดังนั้นปัสสาวะที่ขับออกจึงเจือจาง (มีนํ้ามาก)
  • 138. Malpighian tubules -Malpighian tubule ทําหน้าที่กําจัด nitrogenous waste และ osmoregulationnitrogenous waste และ osmoregulation -เป็นท่อปลายปิดที่ยื่นออกมาจาก midgut -ทําหน้าที่ขนส่งนํ้า เกลือแร่ nitrogenousทาหนาทขนสงนา, เกลอแร, nitrogenous waste จาก hemolymph เข้าสู่ภายในท่อ -เกลือแร่และนํ้าส่วนใหญ่จะถกดดกลับที่เกลอแรและนาสวนใหญจะถูกดูดกลบท rectum ขณะที่ nitrogenous waste (ในรูป ของกรดยริก) จะถกขับออกไปพร้อมกับของกรดยูรก) จะถูกขบออกไปพรอมกบ อุจจาระ 138
  • 139. Kidney มีกล้ามเนื้อหู รูดระหว่าง urethraและ bladder พบเฉพาะสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม และนก ในคน 80%เป็น cortical nephron 20% เป็น juxtamedullaryและนก 20% เปน juxtamedullary nephron Capillary ที่ไตมีรูพรุน ประกอบด้วยเซลล์ เรียก d t 139 Nephron(หน่วยไต) เป็นหน่วยทํางานที่เล็กที่สุดของไต podocyte
  • 140. ในการผลิตและกําจัดปัสสสาวะออกนอกร่างกายมีในการผลตและกาจดปสสสาวะออกนอกรางกายม ขั้นตอนดังนี้ 1 Filtration (การกรอง) เป็นการนําของเหลว เช่น1.Filtration (การกรอง) เปนการนาของเหลว เชน จากเลือด, coelomic fluid, hemolymph ผ่านเข้าสู่ ท่อ(ท่อไต) โดยแรงดันเลือด (hydrostaticทอ(ทอไต) โดยแรงดนเลอด (hydrostatic pressure) โดยสารโมเลกุลใหญ่เช่นเม็ดเลือดและ โปรตีนจะไม่ถกกรองออกมา สารที่ได้เรียก Filtrateโปรตนจะไมถูกกรองออกมา สารทไดเรยก Filtrate 2.Reabsorption (การดูดกลับ) สารที่มีประโยชน์ เช่น กลโคส เกลือ กรดอะมิโน จะถกดดเชน กลูโคส, เกลอ, กรดอะมโน จะถูกดูด กลับคืนสู่ระบบไหลเวียนเลือดโดย active transport 3 Secretion (การหลั่งสาร) สารพิษและอิออน3.Secretion (การหลงสาร) สารพษและอออน ส่วนเกินจะถูกขับออก โดย active transport 4 Excretion (การขับออก) 140 4.Excretion (การขบออก)
  • 141. Nephron and Collecting Duct ่ ไ ่การเคลือน filtrate ผ่านท่อไตหลังจากทีมีการกรองผ่าน glomerulus 1.การเคลื่อนผ่าน proximal tubule secretion & reabsorption-secretion & reabsorption -หลั่ง H+, NH3 (เพื่อปรับไม่ให้ filtrate เป็นกรดมากไป) -ดูดกลับ HCO3 -(90%), NaCl, นํ้า, K+ และู 3 สารอาหาร (กลูโคส, กรดอะมิโน) 2.Descending limb of the loop of Henle permeable ต่อนํ้า impermeable ต่อเกลือ-permeable ตอนา, impermeable ตอเกลอ และสารโมเลกุลเล็ก 3.Ascending limb of the loop of Henle ้-permeable ต่อเกลือ impermeable ต่อนํ้า -มี 2 ส่วน คือ thin segment(PT) & thick segment(AT)segment(AT) 4.Distal tubule -secretion (K+)& reabsorption (NaCl & HCO3 -) 141 5.Collecting duct -ดูดกลับ NaCl, ยูเรีย, นํ้า Active transport (AT) Passive transport (PT)
  • 142. 4. IMMUNE SYSTEM ร่างกายเรามีกลไกป้ องกันการรุกลํ้าทําลายจากสิ่งแปลกปลอม 2 แบบ คือ 1 Nonspecific defense mechanisms กลไกการทําลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จําเพาะ1. Nonspecific defense mechanisms กลไกการทาลายสงแปลกปลอมแบบไมจาเพาะ 1.1 First line of defense เป็นกลไกการป้ องกันที่อยู่ภายนอกร่างกาย เช่น ผิวหนัง และmucous membrane ที่ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ท่อปัสสาวะและสืบพันธ์และmucous membrane ททางเดนอาหาร ทางเดนหายใจ ทอปสสาวะและสบพนธุ 1.2 Second line of defense เป็นกลไกการป้ องกันที่อยู่ภายในร่างกาย เมื่อสิ่ง แปลกปลอมสามารถแทรกเข้าส่ภายในร่างกายได้ เช่น การเกิด phagocytosis โดยแปลกปลอมสามารถแทรกเขาสูภายในรางกายได เชน การเกด phagocytosis โดย เม็ดเลือดขาว, การผลิต antimicrobial protein, inflammatory response 2 Specific defense mechanisms or third line of defense กลไกการทําลายสิ่ง2. Specific defense mechanisms or third line of defense กลไกการทาลายสง แปลกปลอมแบบจําเพาะ ได้แก่ การทํางานของ lymphocytes และการผลิตantibody 2 1 Humoral (antibody-mediated) immune response2.1 Humoral (antibody-mediated) immune response 2.2 Cell-mediated immune response 142
  • 143. The First Line of Defense -เป็นการป้ องกันการรุกลํ้าจากสิ่งแปลกปลอมโดยผิวหนังและ mucous membrane และยังมีการหลั่งสารออกมาช่วยทําหน้าที่อีกด้วย เช่น การหลั่งสารจากต่อมเหงื่อ และต่อมไขมัน ซึ่งปกติมีค่า pH 3-5 ที่มีความเป็นกรดสูงพอในการทําลาย microorganismg -การชําระล้างออกโดยนํ้าลาย, นํ้าตา และ mucous (มี lysozyme เป็นส่วนประกอบ) -Lysozyme สามารถย่อยผนังเซลล์ของแบคทีเรียได้หลายชนิดy y -Gastric mucous ในกระเพาะมีความเป็นกรดสูง สามารถทําลายแบคทีเรียได้ดี 143
  • 144. The Second Line of Defense -เซลล์ที่สามารถทําหน้าที่ phagocytosis ได้มีหลายชนิด ดังนี้ 1. Phagocytosis by white blood cell เซลลทสามารถทาหนาท phagocytosis ไดมหลายชนด ดงน 1. Neutrophils (60-70% ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด) มีช่วงชีวิตประมาณ 2-3 วัน มักจะ สลายไปเมื่อทําลายสิ่งแปลกปลอมสลายไปเมอทาลายสงแปลกปลอม 2. Monocyte (5% ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด) หลังจาก monocyte หลั่งสู่กระแสเลือด ได้ 2-3 ชั่วโมง จะเคลื่อนเข้าส่เนื้อเยื่อ และพัฒนาเป็นเซลล์ macrphage (“big-eater”)ได 2 3 ชวโมง จะเคลอนเขาสูเนอเยอ และพฒนาเปนเซลล macrphage ( big eater ) มีช่วงชีวิตค่อนข้างยาว 3. Eosinophil (1.5% ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด) ทําหน้าที่ทําลายพยาธิขนาดใหญ่3. Eosinophil (1.5% ของเมดเลอดขาวทงหมด) ทาหนาททาลายพยาธขนาดใหญ 4. Natural killer (NK) cell ทําหน้าที่ทําลาย virus-infected body cell โดยไปจับที่เยื่อ เซลล์และทําให้เซลล์แตกเซลลและทาใหเซลลแตก 144
  • 146. The Second Line of Defense 2. Antimicrobial protein มีโปรตีนหลายชนิดทําหน้าที่ป้ องกัน/ทําลายสิ่งแปลกปลอมที่บกรกร่างกาย ซึ่ง-มโปรตนหลายชนดทาหนาทปองกน/ทาลายสงแปลกปลอมทบุกรุกรางกาย ซง ทําลายสิ่งแปลกปลอมโดยตรงหรือยับยั้งการสืบพันธุ์ ได้แก่ lysozyme, complement t i t fsystem, interferons -complement system ทําหน้าที่ย่อย microbes และเป็น chemokines ต่อ phagocytic llcells -interferone เป็นสารที่หลั่งจาก virus-infected cell ภายหลังจากที่เซลล์ (virus- i f t d ll) แตกออก จากนั้นจะแพร่ไปยังเซลล์ข้างเคียง เพื่อยับยั้งการ i f tinfected cell) แตกออก จากนนจะแพรไปยงเซลลขางเคยง เพอยบยงการ infect ของ virus ไปยังเซลล์ข้างเคียง จึงสามารถยับยั้งเจริญของ virus ได้ (เนื่องจากไม่มี host)host) 146
  • 147. The Second Line of Defense 3. The Inflammatory Response -บริเวณที่เป็นแผลมีการขยายตัวของเส้นเลือด มีเลือดมาเลี้ยงมาก เกิดการบวมแดง ้ ้-มีการหลั่ง histamine จากเนื้อเยื่อ (นอกจากนี้ยังหลั่งได้จาก basophil &mast cell) ทําให้permeability ของ capillary เพิ่ม 1.เซลล์บาดแผลหลั่ง chemical signal เช่น 2.capillary ขยายตัวและ เพิ่ม permeability ของเหลวแล bl d 3.chemokines กระตุ้น ให้ phagocytic cell เคลื่อนไปยังเนื้อเยื่อที่ 4.phagocytic cell กิน pathogens & เศษเซลล์ หลังจากนั้นบาดแผล 147 histamine, PG ของเหลวและblood clotting element เคลื่อน ออกจากเส้นเลือด เคลอนไปยงเนอเยอท ถูกทําลาย หลงจากนนบาดแผล ปิด
  • 148. The Third Line of Defense -Lymphocytes เป็นตัวการสําคัญในการทําลายสิ่งแปลกปลอมแบบจําเพาะ -Lymphocytes มี 2 ชนิดคือ B lymphocyte (B cell; bursa of Fabricius or bone marrow)&T lymphocyte (T cell; thymus) ซึ่ง T หรือ B cell แต่ละเซลล์จะจําเพาะกับ Ag แต่ละตัว โดยมีขั้น ตอนการคัดเลือกเพื่อเพิ่มจํานวน lymphocyte ที่เฉพาะต่อ Ag เรียก Clonal selection 1.Ag จับกับ Ag receptor บน B cell หนึ่งๆ 2.B cell ที่มี receptor ที่จําเพาะต่อ ้ ่Agนั้นจะเพิ่มจํานวนได้เป็น clone 4.บางเซลล์พัฒนาไปเป็น 3.บางเซลล์พัฒนาไปเป็น short-lived plasma cell long-lived memory cell ที่ จะทําให้เกิดการ ่ ็ 148 p และหลั่ง Abตอบสนองอย่างรวดเร็ว เมื่อร่างกายได้รับ Ag เดิม
  • 149. Immunological Memory ใ ิ่ ํ L h t ี่ ั ื ั ชิ ั A ป็ ั้-ในการเพมจานวนของ Lymphocytes ทถูกคดเลอก หลงจากเผชญกบ Ag เปนครง แรก ใช้เวลานานประมาณ 10-17 วัน เรียกการตอบสนองในระยะแรกนี้ว่า primary immune response ได้เซลล์ 2 ชนิดคือshort-lived effector cell (plasma cell(จาก Bimmune response ไดเซลล 2 ชนดคอshort lived effector cell (plasma cell(จาก B cell)&effector T cell(จาก T cell)) และ long-lived memory cells -ถ้าร่างกายมีการเผชิญกับ Ag เดิมอีก เป็นครั้งที่ 2 จะเกิดการตอบสนองเรียก ่ ้secondary immune response ซึ่งจะใช้เวลาในการตอบสนองสั้นลง เพียง 2-7 วัน 149
  • 150. Active and Passive Immunity Active immunity: การที่เราได้รับเชื้อ เข้า ไป แล้วร่างกายสร้าง Ab มาทําลายไป แลวรางกายสราง Ab มาทาลาย ขณะเดียวกันก็เก็บ memory cell ไว้ โดย เชื้อที่ได้รับเข้าไปอาจเป็นเชื้อโรคในเชอทไดรบเขาไปอาจเปนเชอโรคใน ธรรมชาติ (infection) หรือโดยการฉีดเชื้อ ที่อ่อนกําลังแต่ยังมี epitope เข้าร่างกายทออนกาลงแตยงม epitope เขารางกาย (vaccination) Passive immunity: ร่างกายได้รับ Ab ของPassive immunity: รางกายไดรบ Ab ของ เชื้อนั้นโดยตรง ซึ่ง Ab ที่ได้จะคงอยู่ใน ร่างกายเป็นระยะเวลาสั้น ๆ เช่น Ab ต่อรางกายเปนระยะเวลาสน ๆ เชน Ab ตอ พิษงู, พิษสุนัขบ้า 150
  • 151. ระบบภูมิคุ้มกันและการเกิดโรค 1. Blood group and blood transfusion ABO blood group จําแนกตาม Ag ที่อย่บนผิวเม็ดเลือดแดง ซึ่งคนที่มีเลือดหม่ A-ABO blood group จาแนกตาม Ag ทอยูบนผวเมดเลอดแดง ซงคนทมเลอดหมู A จะมี Ab หมู่ b เป็นต้น แต่เนื่องจาก blood group antigen เป็น polysachharide จึงทําให้เกิดการตอบสนอง-แตเนองจาก blood group antigen เปน polysachharide จงทาใหเกดการตอบสนอง ของระบบภูมิคุ้มกันแบบ T-independent response เช่นเมื่อแม่เลือดหมู่ O ตั้งครรภ์ ลกเลือดหม่ A (Ab b)เมื่อคลอดลก เลือดจากลกที่ไหลเข้าส่แม่สามารถกระต้นการลูกเลอดหมู A (Ab-b)เมอคลอดลูก เลอดจากลูกทไหลเขาสูแมสามารถกระตุนการ สร้าง Ab-b ได้ แต่ลักษณะนี้จะไม่เป็นอันตรายต่อการตั้งครรภ์ลูกคนต่อมา (เลือด หม่ B) เพราะ Ab ที่สร้างเป็น IgM ที่ไม่สามารถแพร่ผ่านรกได้หมู B) เพราะ Ab ทสรางเปน IgM ทไมสามารถแพรผานรกได -แต่ในกรณีของหมู่เลือด Rh (แม่ Rh- ลูกRh+) จะเป็นอันตรายต่อการตั้งครรภ์ลูกคน ต่อมาเพราะ Ab ที่สร้างเป็น IgG ที่สามารถแพร่ผ่านรกได้ตอมาเพราะ Ab ทสรางเปน IgG ทสามารถแพรผานรกได แม่ A (Ab-b)O แม่ ลก 151 A (Ab b)O O (Ab-b) ลูก B