SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
  ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
ความสาคัญของการสืบพันธุ์

       1. การสืบพันธุ์ เป็นกระบวนการที่สาคัญที่สุดในการสร้างหน่วยสิ่งมีชีวต
                                                                          ิ
       ขึ้นมาใหม่ เพื่อทดแทนหน่วยสิ่งมีชีวิตเดิมที่ตายหรือดับสูญไป ทาให้
       สิ่งมีชีวิตดารงพันธุ์สบต่อเนื่องกันไปเป็นระยะเวลาอันยาวนาน
                             ื
        2. การสืบพันธุ์โดยเฉพาะแบบอาศัยเพศ ทาให้เกิดความแตกต่างแปร
      ผันของลักษณะภายในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน(Variation) ซึ่งเป็นกลไกสาคัญ
      ยิ่งในกระบวนการปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและก่อให้เกิด
      วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต


ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ความสาคัญของการสืบพันธุ์

          Design     3. นักชีววิทยาบางท่านมีความเห็นว่า การสืบพันธุ์น่าจะเป็น
                                   Plan
                     คุณสมบัติสาคัญที่สุดในการใช้เป็นหลักตัดสินว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
                     เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่ เช่น ไวรัส ถ้าอยู่นอกเซลล์ของผู้ถูกอาศัย
                     จะเป็นผลึกไม่มีกิจกรรมใดๆ แต่ถ้าเข้าไปอยู่ภายในเซลล์ของผู้ถูก
                     อาศัย จะสามารถเพิ่มจานวนขึ้นได้ จึงจัดไวรัสเป็นสิ่งมีชีวิต
                     เนื่องจากสามารถทวีจานวน หรือ สืบพันธุ์ได้


ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal reproduction)

      • แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction)
        การสร้างรุ่นลูกทีมพนธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ (ไม่มการ
                         ่ี ั                              ี
        รวมกันของเซลล์สบพันธุ์ (gamete)
                          ื

      • แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction)
        การสร้างรุ่นลูกโดยกระบวนการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์ (male
        gamete: sperm + female gamete: egg) ทาให้รนลูกมี ุ่
        ความแปรผันทางพันธุกรรม
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

         การแตกหน่อ (budding)

      สิ่งมีชีวิตตัวใหม่งอกออกมาจากตัวเดิม
        แล้วหลุดออกมาเป็นสิ่งมีชีวตตัวใหม่
                                  ิ
      เช่น ยีสต์




                                               การสืบพันธุ์แบบ budding ในยีสต์
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การแบ่งตัว (binary fission)

    สิ่งมีชีวิตตัวหนึ่งแบ่งเป็นสิ่งมีชีวิตสองตัว
    เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา




                        Animation แสดงการสืบพันธุ์ตัวแบบ Binary Fission
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การสืบพันธุ์คล้ายการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ

    เช่น พารามมีเซียม เซลล์มี 2 นิวเคลียส
    คือ ไมโครนิวเคลียส (Micronucleus)
    และแมโครนิวเคลียส (Macronucleus)
    พารามิเซียม 2 เซลล์จะจับคู่กัน
    (Conjugation) เพื่อแลกเปลี่ยนสาร
    พันธุกรรม จากนั้นจึงแยกกัน และแบ่ง
    เซลล์เพิ่มจานวนตามปกติ
                                                  การสืบพันธุ์ของพารามีเซียม


ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร   Conjugation ของ พารามีเซียม
การสืบพันธุ์ของสัตว์

     การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ

     การงอกใหม่ (regeneration)
     ส่วนที่หลุดไปจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งพัฒนาไป
     เป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ โดยเซลล์ในส่วนที่
     หลุดไปนั้นเกิดรีเจนเนอเรชัน  ่
     (regeneration) กลับเป็นเนือเยื่อเจริญได้
                                     ้
     อีก ตัวอย่างเช่น ดาวทะเล พลานาเรีย

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การงอกใหม่ (regeneration)ของพลานาเรีย
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การแตกหน่อ (budding)

     สิ่งมีชีวิตตัวใหม่งอกออกมาจากตัวเดิม แล้วหลุดออกมาเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ เช่น
     ไฮดรา ฟองน้า




ครูฉวีวรรณ นาคบุตร                        การ budding ของ ไฮดรา
Parthenogenesis
       Parthenogenesis พบในผึ้ง มด ต่อ แตน โดยไข่ (n) ที่ไม่ได้รับการ
       ผสมจะเจริญกลายเป็นตัวผู้




ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
เพศผู้ (Drone) เกิดจากไข่ที่ไม่ได้รับการผสม (n)
                เพศเมีย (ผึ้งงาน และ นางพญา) เกิดจากไข่ที่ได้รับการผสม (2n)




                        Queen , Worker (female) , Drone (male)
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
Sporulation




  Sporulation หรือ การสร้างสปอร์ คือการแบ่งนิวเคลียสหลายครั้ง แล้วจึง
  แบ่ง cytoplasm ได้เซลล์ลูกมากมาย โดยมีผนังแข็งมาหุ้มเซลล์ สปอร์จะใช้
  ในการกระจายพันธุ์ เช่น ฟังไจ
                                                         ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
Fragmentation
     Fragmentation เกิดตัวใหม่โดยการหลุดออกเป็นท่อนๆ เช่น สาหร่ายที่
     เป็นสาย พยาธิตัวตืด




ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ

      เกิดจาก การปฏิสนธิ (Fertilization) ของเซลล์สืบพันธุเ์ พศผู้หรืออสุจิ กับ
      เซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือเซลล์ไข่ อาจจะเกิดภายในหรือภายนอกร่างกายของ
      สัตว์เพศเมียก็ได้ โดยเซลล์ไข่ที่ได้รับการผสมแล้วเรียกว่า ไซโกต (zygote)
      จะเจริญเติบโตเป็นเอ็มบริโอ (Embryo) และตัวเต็มวัยที่สามารถสืบพันธุ์
      เพิ่มจานวนประชากรต่อไปได้




ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ตัวอย่าง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
    Hermaphroditism : สิ่งมีชีวิตนั้นมี 2 เพศในตัวเดียว
   ไส้เดือน มีส่วน Clitellum ซึ่งเป็นบริเวณปล้องที่มีต่อมสร้างสารเมือกที่เป็น
   เปลือกหุ้มเซลล์ไข่




ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
แมลง
     เป็นสัตว์แยกเพศ
     ปฏิสนธิภายใน



                              Accessory
                              gland                                                           Ovary
                                          Ejaculatory
                        Testis            duct
                                                                                              Oviduct
                                                                                            Spermatheca

                  Vas                          Penis                                          Vagina
                  deferens
                    Seminal                                               Accessory
                    vesicle                                               gland
Male honeybee (drone)                                   Female honeybee (queen)

                                                                                      ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์
             Human Reproductive system
                      Male reproductive system
                     Female reproductive system


ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การสืบพันธุ์ของคน
    ระบบสืบพันธุเ์ พศชาย (Male Reproductive System)

  ระบบสืบพันธุเ์ พศชาย เป็นระบบ
  ที่ทาหน้าที่ในการสร้างเซลล์
  สืบพันธุ์ คือ sperm และทา
  หน้าที่ในการนาส่ง sperm เข้าไป
  ในอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงเพื่อผสม
  กับเซลล์ไข่ต่อไป นอกจากนี้ยังทา
  หน้าที่สร้าง hormone เพศชายอีก
  ด้วย
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย ประกอบด้วย

       ถุงอัณฑะ (scrotal sac หรือ scrotum)
       ถุงอัณฑะเป็นส่วนผิวหนังที่มีลกษณะเป็นถุงยื่นออกมาจากส่วนล่างของผนัง
                                    ั
       หน้าท้อง ภายในถุงอัณฑะแต่ละข้างประกอบด้วย อัณฑะ epididymis และ
       ปลายด้านล่างของ spermatid cord ผิวหนังของถุงอัณฑะบางและเป็น
       รอยย่น (rugose) เนื่องจากในชั้นผิวหนังของถุงอัณฑะมีกล้ามเนื้อเรียบ
       เรียกว่า dartos muscle ซึ่งถูกเลี้ยงโดยระบบประสาทอัตโนมัติ
       sympathetic กล้ามเนื้อ dartos จะทาหน้าที่ปรับอุณหภูมิของอัณฑะให้
       คงที่ ซึ่งจาเป็นต่อการสร้างและการพัฒนาของ sperm ที่ต้องการอุณหภูมิที่
       ต่ากว่าอุณหภูมิของร่างกายประมาณ 3-5 องศาเซลเซียส
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
อัณฑะ(testis)
       อัณฑะ เป็นอวัยวะที่เคลื่อนไหวได้อยู่ในถุง
       อัณฑะ ถ้าหากอัณฑะยังไม่สามารถเคลื่อนลง
       มาอยู่ในถุงอัณฑะ เรียกสภาพนี้ว่า
       cryptochidism ซึ่งจะมีผลทาให้ไม่สามารถ
       สร้าง sperm ได้
       อัณฑะ เป็นต่อมเพศชองชายทาหน้าที่ผลิตตัวอสุจิ (Sperm) และสร้าง
       ฮอร์โมนเพศชาย อัณฑะมี 2 ข้าง ภายในประกอบด้วยหลอดสร้างตัว
       อสุจิ (Seminiferous tubules) มีลักษณะเป็นท่อเล็ก ๆ ขดเรียงกันอยู่
       มากมาย ทาหน้าที่สร้างตัวอสุจิ นอกจากนีภายในอัณฑะยังมีเซลล์ทา
                                              ้
       หน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศชายเพื่อควบคุมลักษณะต่าง ๆ ของเพศชาย เช่น
       เสียงห้าว มีหนวดเครา เป็นต้น
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
หลอดเก็บอสุจิ (Epididymis) เป็นที่พักของอสุจิที่
     สร้างจากหลอดสร้างอสุจิ หลอดเก็บอสุจิจะอยู่ด้านบน
     ของอัณฑะต่อเชื่อมกับหลอดนาอสุจิ อสุจิจะพักอยู่ใน
     เอพิดไดมิส ได้นานถึง 6 สัปดาห์ จนกระทั่งแข็งแรง
          ิ
     และพร้อมที่จะผสมกับไข่ได้ต่อไป


                                       ท่อนาอสุจิ (Vas deferens) อยู่ต่อจาก
                                       หลอดเก็บอสุจิ ทาหน้าที่ลาเลียงอสุจิไป
                                       เก็บไว้ที่ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ


ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (Seminal vesicle) เป็นท่อ2ท่อขดไปมา อยู่ต่อ
      จากหลอดนาอสุจิ ทาหน้าที่สร้างสารอาหารสาหรับเลี้ยงอสุจิ ได้แก่
      น้าตาลฟรักโทส วิตามินซี โปรตีนโกลบูลิน และสร้างของเหลวเพื่อทาให้
      เกิดสภาพที่เหมาะสมกับตัวอสุจิ รวมเรียกว่า เซมินัลฟลูอิด (seminal
      fluid)




ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ต่อมลูกหมาก (Prostate gland) อยู่บริเวณตอนต้นของท่อปัสสาวะ ทา
      หน้าที่สร้างสารที่เป็นเบสอ่อน ๆ เข้าไปในท่อปัสสาวะปนกับน้าเลี้ยงตัว
      อสุจิเพื่อลดความเป็นกรด เพื่อให้เกิดสภาพที่เหมาะสมสาหรับตัวอสุจิ



                                      ต่อมคาวเปอร์ (Cowper’s gland) มี 2
                                      ต่อม ขนาดเท่าเม็ดถั่ว อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก
                                      ทาหน้าที่สร้างน้าเมือกหล่อลื่นในท่อ
                                      ปัสสาวะ เพื่อให้ตัวอสุจิเคลื่อนตัวได้สะดวก
                                      และเร็วขึ้น
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การสร้างตัวอสุจิและการหลั่งน้าอสุจิ

    เริมจากหลอดสร้างตัวอสุจิซึ่งอยู่ภายในอัณฑะสร้างตัวอสุจิออกมา ถูกนาไป
       ่
    พักไว้ที่หลอดเก็บตัวอสุจิ จนตัวอสุจิแข็งแรงพร้อมที่จะปฏิสนธิ แล้วถูก
    ลาเลียงไปตามหลอดนาตัวอสุจิเพื่อนาไปเก็บไว้ที่ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ เมื่อ
    ถูกกระตุ้นให้หลั่งน้าอสุจิ น้าอสุจิจะถูกขับออกมาทางท่อปัสสาวะและออกจาก
    ร่างกายตรงปลายสุดของอวัยวะเพศชาย ซึ่งต่อมลูกหมากจะหลั่งสารเข้าผสม
    กับน้าเลี้ยงตัวอสุจิเพื่อปรับสภาพให้เหมาะสมกับตัวอสุจิ และต่อมคาวเปอร์
    จะสร้างเมือกหล่อลื่นในท่อปัสสาวะเพื่อให้ตัวอสุจิเคลื่อนตัวได้เร็วขึ้น



ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
โดยทั่วไปเพศชายจะเริ่มสร้างตัวอสุจิเมื่ออายุประมาณ 12-13 ปี และ
         สร้างไปจนตลอดชีวิต การหลั่งน้าอสุจิออกมาแต่ละครั้งจะมีของเหลว
         ออกมาเฉลี่ยประมาณ 3-4 ลูกบาศก์เซนติเมตร และมีตัวอสุจิเฉลี่ย
         ประมาณ 350-500 ล้านตัว ซึ่งปริมาณน้าอสุจิและตัวอสุจิอาจ
         แตกต่างไปตามความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย เชื้อชาติ และ
         สภาพแวดล้อม

                 สาหรับชายที่เป็นหมันจะมีตัวอสุจิน้อยกว่า 30-50 ล้านตัวต่อ
                 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร หรือมีตัวอสุจิที่ผิดปรกติมากกว่าร้อยละ 25
                 ตัวอสุจิเมื่อออกจากร่างกายจะมีชีวิตอยู่ได้ประมาณ 2-3 ชั่วโมง
                 แต่ถ้าอยู่ในมดลูกของเพศหญิงจะอยู่ได้ประมาณ 24-48 ชั่วโมง
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
penis
          เป็นอวัยวะที่ทาหน้าที่เป็นทางผ่านของน้าปัสสาวะและน้าอสุจิ
          ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่แข็งตัวได้ (erectile tissue) ซึ่งมีลักษณะ
          เป็นแท่งทรงกระบอก 3 แท่ง ภายในมีลักษณะคล้ายฟองน้า จะมี
          ต่อมเหงื่อ และต่อมไขมันมาก เมื่อมีการหลั่งสารออกจากต่อมพร้อม
          กับเซลล์ที่หลุดลอกออกจากผิวหนังมารวมตัวกันจะเป็นก้อนสีขาวขุ่น
          เรียกว่า smegma ถ้าหากทาความสะอาดบริเวณนี้ไม่ดีจะก่อให้เกิดการ
          ติดเชื้อได้ ดังนันการผ่าตัดเอา prepuce ออกซึ่งเรียกว่าการทา
                           ้
          circumcision จะทาให้สามารถทาความสะอาดบริเวณนี้ได้งาย         ่


ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย (Spermatogenesis)

      อวัยวะที่ทาหน้าที่สร้างอสุจิ คือ อัณฑะ (testis) โดยภายในอัณฑะจะ
     ประกอบด้วย หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubules) จานวน
     มากมาย โดยระหว่างการเกิดอวัยวะสืบพันธุ์จะมีกลุมเซลล์ ชื่อ ไพรมอร์
                                                     ่
     เดียล เจอร์มเซลล์ (primordial germ cell) เป็นกลุ่มเซลล์เริ่มแรก ที่
     เคลื่อนเข้ามาอยู่ในหลอดสร้างอสุจิของอัณฑะ มีการแบ่งตัว
     แบบ mitosis หลายครั้งได้เซลล์ที่เรียกว่า สเปอร์มาโทโกเนีย
     (spermatogonia) มากมาย


ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
spermatogonia จะมีการจาลองโครโมโซมอีกเท่าตัว พร้อมที่จะ
       แบ่งตัวแบบ meiosis เรียกเซลล์นี้ว่า สเปอร์มาโทไซต์ระยะแรก
       (primary spermatocyte) ซึ่งจะแบ่งตัวแบบ meiosis ขั้น
       ที่ 1 ได้ สเปอร์มาโทไซต์ระยะที่ 2 (secondary spermatocyte)
       และแบ่งตัวแบบ meiosis ขั้นที่ 2 ต่อไป จะได้ สเปอร์มาติด
       (spermatid) ซึ่งจะเจริญต่อไปเป็นตัวอสุจิโดยการสลัด cytoplasm ทิ้ง

                ที่ส่วนหัวของสเปิร์มจะมี acrosome ซึ่งเปลี่ยนแปลงมา
                จาก Golgi bodies จึงมีเอนไซม์อยู่ด้วย (hyaluronidase)
                ที่ส่วน Middle pieceจะมี centriole2 อัน และ
                มี mitochondria เรียงตัวเป็นเกลียวรอบ ๆ หลอด
                microtubules เพื่อสร้างพลังงานให้แก่เซลล์อสุจิ
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ลักษณะโครงสร้าง sperm

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
กระบวนการสร้างเซลล์สบพันธุ์เพศชาย
                              ื

    • ..การสื บพันธ์ุ0043-swf_spermatogenesi.swf




ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (Female Reproductive System)

       ระบบสืบพันธุเ์ พศหญิงเป็นระบบที่ทาหน้าที่คล้ายกับระบบสืบพันธุ์เพศชาย
       ซึ่งนอกจาก สร้างเซลล์สืบพันธุ์คือเซลล์ไข่ และสร้าง hormone เพศหญิง
       แล้ว ยังทาหน้าที่ดูแลฟูมพักให้ เซลล์ไข่ที่ผสมติดให้พัฒนากลายเป็นตัวอ่อน
       จนคลอดออกมา




ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
โครงสร้างระบบสืบพันธุ์เพศหญิง




                       รังไข่
            ท่อนาไข่
              มดลูก                          ลาไส้ใหญ่

     กระเพาะปัสสาวะ
                                           ทวารหนัก
                                ช่องคลอด

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
รังไข่ ทาหน้าที่ผลิตไข่และฮอร์โมนเพศหญิง
      ซึ่งจะกาหนดลักษณะต่างๆในเพศหญิง เช่น
      ตะโพกผาย เสียงแหลม สาหรับรังไข่จะมี
      2 อัน ซึ่งจะอยู่คนละข้างของมดลูกจะมี
      ลักษณะคล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์
      ยาวประมาณ 2-3 cm. หนา 1 cm.


              ท่อนาไข่ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปีกมดลูก เป็นทางเชื่อมต่อระหว่างรังไข่ทั้งสองข้าง
              กับมดลูก ทาหน้าที่เป็นทางผ่านของไข่ที่ออกจากรังไข่เข้าสู่มดลูกและเป็นบริเวณ
              ที่อสุจิจะเข้าปฏิสนธิกับไข่ ท่อนาไข่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 มิลลิเมตร
              และยาวประมาณ 6 - 7 เซนติเมตร
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
มดลูก มีรูปร่างคล้ายผลชมพู่หัวกลับลง กว้าง
        ประมาณ 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ 6 - 8
        เซนติเมตร หนาประมาณ 2 เซนติเมตร อยู่ใน
        บริเวณอุ้งกระดูกเชิงกรานระหว่างกระเพาะ
        ปัสสาวะกับทวารหนัก ทาหน้าที่เป็นที่ฝังตัวของ
        ไข่ที่ได้รับการผสมแล้วและเป็นที่เจริญเติบโตของ
        ทารกในครรภ์
                                          กระเพาะปัสสาวะ                        ทวารหนัก

                                          ช่องคลอด อยู่ต่อจากมดลูกลงมา ทาหน้าที่เป็น
                                         ทางผ่านของตัวอสุจิเข้าสู่มดลูกและเป็นทางออก
                                         ของทารกเมื่อครบกาหนดคลอด

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การสร้างเซลล์สืบพันธุของเพศหญิง (Oogenesis)
                          ์



       FSH จากต่อมใต้สมอง




ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
FSH



            Graafian follicle
          สร้าง
                            LH
           estrogen

  ลักษณะที่2ของเพศหญิง                               สร้าง
                                                             โพรเจสเทอโรน
                                                                        ผล
                                                                 มดลูกหนาตัว
                                                                 ยับยั้งการตกไข่
                                 การเปลี่ยนแปลงภายในรังไข่
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
เด็กหญิงแรกเกิดมีเซลล์ไข่อยู่แล้วในระยะ primary oocyte (ขั้น prophase1)
   - เซลล์ไข่ที่ตกจากรังไข่ของเพศหญิงอยู่ในระยะ secondary oocyte
       (ขั้นmetaphase 2)
   -1 Oogonium แบ่งเซลล์จะได้เซลล์ไข่เพียง 1 เซลล์
                                         อีก 3 เซลล์ (Polar bodies)ฝ่อสลายไป




ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การปฏิสนธิ
          การตั้งครรภ์



ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพของไข่ก่อนจะถูกผสม ไข่จะถูกปก    ภาพของ sperm จานวนหนึ่ง
  คลุมไว้ด้วย zona pellicuda ซึ่งทา   กาลังแข่งกันก่อให้เกิดการปฏิสนธิ
  หน้าปกป้องและดัก sperm


ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
อสุจิกาลังเจาะเข้าไปในเซลล์ไข่   อสุจิล้อมรอบเซลล์ไข่



ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

   (1) สเปิร์มผ่านเข้าไปในชั้นของ
   follicle cells และรวมกับ
   receptor molecules ที่อยู่ที่ชั้น
   zona pellucida

   (2) acrosomal reaction
   เกิดขึ้นโดยสเปิร์มปล่อยเอนไซม์ย่อย
   ชั้น zona pellucida

                       (3) ทาให้สเปิร์มสามารถเข้าไปถึง plasma membrane ของไข่ได้
                       และ membrane proteins ของสเปิร์มรวมกับ receptor ที่
                       plasma membrane ของไข่
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม


                                                        (4) plasma membrane ของ
                                                        สเปิร์มและไข่เชื่อมติดกัน ดังนั้น
                                                        นิวเคลียสของสเปิร์มเข้าไปใน
                                                        ไซโตพลาสซึมของไข่


                     (5) เกิด cortical reaction โดยเอนไซม์ที่ปล่อยออกมาจาก
                     cortical granules ทาให้ชั้น zona pellucida มีลักษณะแข็ง ทา
                     หน้าที่ป้องกันไม่ให้สเปิร์มตัวอื่นเข้าไปในไข่อีก (การทีสเปิร์มเข้าไปใน
                                                                            ่
                     ไข่หลายตัว เรียกว่า polyspermy)
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ทีมา Frederich H. Martini. Edwin F. Bartholomew. Essentials
                       ่
                     of anatomy and physiology. U.S.A., Prentice-Hall , Inc. 1997.
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพของไข่ที่ได้รับการผสม กลายเป็นตัว   ภาพตัวอ่อนอายุ 6 วัน
        อ่อนได้ 5 วัน และยังมี sperm ที่        ในมดลูกของเพศหญิง
        หลงเหลือว่ายอยู่รอบๆ ส่วนสีเขียวใน
        ภาพคือส่วนหางของ sperm

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การตั้งครรภ์




ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การปฏิสนธิ (Fertilization) คือ การที่อสุจิของเพศชายเกิดการผสมกับไข่
     ของเพศหญิง เกิดเป็นไข่ที่ถูกผสมและมีจานวนโครโมโซม 2n ( 46 แท่ง)
     การปฏิสนธิมักเกิดขึ้นที่บริเวณของท่อนาไข่บริเวณ Ampula ระยะเวลาที่ไข่
     ผสมกับ Sperm นั้นสั้นมาก เกิดขึ้นภายใน 6-8 ชั่วโมง หลังจากไข่ตก และ
     เมื่อเกิดการปฏิสนธิแล้วไข่ที่ถูกผสมจะ เรียกว่า Fertilized ovum ต่อมาจะมี
     การเคลื่อนที่พร้อมกับการแบ่งตัวแบบ Mitosis ไปพร้อมๆ กัน จนกลายเป็น
     Blastocyte เพื่อเตรียมฝังตัวที่ผนังมดลูก
                 ในวันที่ 7 หลังการปฏิสนธิ Blastocyte จะเริ่มฝังตัวในผนัง
     มดลูก และจะฝังตัวเรียบร้อยในวันที่ 14 ประมาณ วันที่ 16 จะเกิด
     Primitive streak มี 3 ชั้น ซึ่งจะเจริญเป็นทารกต่อไป

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
The End
                      สวัสดี

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร

More Related Content

What's hot

บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Biobiome
 

What's hot (20)

ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 

Similar to การสืบพันธุ์

Developmental biology sp2
Developmental biology sp2Developmental biology sp2
Developmental biology sp2
Wan Ngamwongwan
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
rathachokharaluya
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
Namthip Theangtrong
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
Coverslide Bio
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
Wan Ngamwongwan
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
Wichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
chiralak
 
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
Surasek Tikomrom
 
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชายระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
Tiwapon Wiset
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
nokbiology
 

Similar to การสืบพันธุ์ (20)

Developmental biology sp2
Developmental biology sp2Developmental biology sp2
Developmental biology sp2
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
 
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชายระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 

More from Wan Ngamwongwan

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
Wan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
Wan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
Wan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

การสืบพันธุ์

  • 1. การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
  • 2. ความสาคัญของการสืบพันธุ์ 1. การสืบพันธุ์ เป็นกระบวนการที่สาคัญที่สุดในการสร้างหน่วยสิ่งมีชีวต ิ ขึ้นมาใหม่ เพื่อทดแทนหน่วยสิ่งมีชีวิตเดิมที่ตายหรือดับสูญไป ทาให้ สิ่งมีชีวิตดารงพันธุ์สบต่อเนื่องกันไปเป็นระยะเวลาอันยาวนาน ื 2. การสืบพันธุ์โดยเฉพาะแบบอาศัยเพศ ทาให้เกิดความแตกต่างแปร ผันของลักษณะภายในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน(Variation) ซึ่งเป็นกลไกสาคัญ ยิ่งในกระบวนการปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและก่อให้เกิด วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 3. ความสาคัญของการสืบพันธุ์ Design 3. นักชีววิทยาบางท่านมีความเห็นว่า การสืบพันธุ์น่าจะเป็น Plan คุณสมบัติสาคัญที่สุดในการใช้เป็นหลักตัดสินว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่ เช่น ไวรัส ถ้าอยู่นอกเซลล์ของผู้ถูกอาศัย จะเป็นผลึกไม่มีกิจกรรมใดๆ แต่ถ้าเข้าไปอยู่ภายในเซลล์ของผู้ถูก อาศัย จะสามารถเพิ่มจานวนขึ้นได้ จึงจัดไวรัสเป็นสิ่งมีชีวิต เนื่องจากสามารถทวีจานวน หรือ สืบพันธุ์ได้ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 4. การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal reproduction) • แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) การสร้างรุ่นลูกทีมพนธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ (ไม่มการ ่ี ั ี รวมกันของเซลล์สบพันธุ์ (gamete) ื • แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) การสร้างรุ่นลูกโดยกระบวนการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์ (male gamete: sperm + female gamete: egg) ทาให้รนลูกมี ุ่ ความแปรผันทางพันธุกรรม ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 5. การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การแตกหน่อ (budding) สิ่งมีชีวิตตัวใหม่งอกออกมาจากตัวเดิม แล้วหลุดออกมาเป็นสิ่งมีชีวตตัวใหม่ ิ เช่น ยีสต์ การสืบพันธุ์แบบ budding ในยีสต์ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 6. การแบ่งตัว (binary fission) สิ่งมีชีวิตตัวหนึ่งแบ่งเป็นสิ่งมีชีวิตสองตัว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา Animation แสดงการสืบพันธุ์ตัวแบบ Binary Fission ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 7. การสืบพันธุ์คล้ายการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เช่น พารามมีเซียม เซลล์มี 2 นิวเคลียส คือ ไมโครนิวเคลียส (Micronucleus) และแมโครนิวเคลียส (Macronucleus) พารามิเซียม 2 เซลล์จะจับคู่กัน (Conjugation) เพื่อแลกเปลี่ยนสาร พันธุกรรม จากนั้นจึงแยกกัน และแบ่ง เซลล์เพิ่มจานวนตามปกติ การสืบพันธุ์ของพารามีเซียม ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 8. ครูฉวีวรรณ นาคบุตร Conjugation ของ พารามีเซียม
  • 9. การสืบพันธุ์ของสัตว์ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ การงอกใหม่ (regeneration) ส่วนที่หลุดไปจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งพัฒนาไป เป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ โดยเซลล์ในส่วนที่ หลุดไปนั้นเกิดรีเจนเนอเรชัน ่ (regeneration) กลับเป็นเนือเยื่อเจริญได้ ้ อีก ตัวอย่างเช่น ดาวทะเล พลานาเรีย ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 11. การแตกหน่อ (budding) สิ่งมีชีวิตตัวใหม่งอกออกมาจากตัวเดิม แล้วหลุดออกมาเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ เช่น ไฮดรา ฟองน้า ครูฉวีวรรณ นาคบุตร การ budding ของ ไฮดรา
  • 12. Parthenogenesis Parthenogenesis พบในผึ้ง มด ต่อ แตน โดยไข่ (n) ที่ไม่ได้รับการ ผสมจะเจริญกลายเป็นตัวผู้ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 13. เพศผู้ (Drone) เกิดจากไข่ที่ไม่ได้รับการผสม (n) เพศเมีย (ผึ้งงาน และ นางพญา) เกิดจากไข่ที่ได้รับการผสม (2n) Queen , Worker (female) , Drone (male) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 14. Sporulation Sporulation หรือ การสร้างสปอร์ คือการแบ่งนิวเคลียสหลายครั้ง แล้วจึง แบ่ง cytoplasm ได้เซลล์ลูกมากมาย โดยมีผนังแข็งมาหุ้มเซลล์ สปอร์จะใช้ ในการกระจายพันธุ์ เช่น ฟังไจ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 15. Fragmentation Fragmentation เกิดตัวใหม่โดยการหลุดออกเป็นท่อนๆ เช่น สาหร่ายที่ เป็นสาย พยาธิตัวตืด ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 16. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เกิดจาก การปฏิสนธิ (Fertilization) ของเซลล์สืบพันธุเ์ พศผู้หรืออสุจิ กับ เซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือเซลล์ไข่ อาจจะเกิดภายในหรือภายนอกร่างกายของ สัตว์เพศเมียก็ได้ โดยเซลล์ไข่ที่ได้รับการผสมแล้วเรียกว่า ไซโกต (zygote) จะเจริญเติบโตเป็นเอ็มบริโอ (Embryo) และตัวเต็มวัยที่สามารถสืบพันธุ์ เพิ่มจานวนประชากรต่อไปได้ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 17. ตัวอย่าง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ Hermaphroditism : สิ่งมีชีวิตนั้นมี 2 เพศในตัวเดียว ไส้เดือน มีส่วน Clitellum ซึ่งเป็นบริเวณปล้องที่มีต่อมสร้างสารเมือกที่เป็น เปลือกหุ้มเซลล์ไข่ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 18. แมลง เป็นสัตว์แยกเพศ ปฏิสนธิภายใน Accessory gland Ovary Ejaculatory Testis duct Oviduct Spermatheca Vas Penis Vagina deferens Seminal Accessory vesicle gland Male honeybee (drone) Female honeybee (queen) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 19. ระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์ Human Reproductive system Male reproductive system Female reproductive system ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 20. การสืบพันธุ์ของคน ระบบสืบพันธุเ์ พศชาย (Male Reproductive System) ระบบสืบพันธุเ์ พศชาย เป็นระบบ ที่ทาหน้าที่ในการสร้างเซลล์ สืบพันธุ์ คือ sperm และทา หน้าที่ในการนาส่ง sperm เข้าไป ในอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงเพื่อผสม กับเซลล์ไข่ต่อไป นอกจากนี้ยังทา หน้าที่สร้าง hormone เพศชายอีก ด้วย ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 23. อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย ประกอบด้วย ถุงอัณฑะ (scrotal sac หรือ scrotum) ถุงอัณฑะเป็นส่วนผิวหนังที่มีลกษณะเป็นถุงยื่นออกมาจากส่วนล่างของผนัง ั หน้าท้อง ภายในถุงอัณฑะแต่ละข้างประกอบด้วย อัณฑะ epididymis และ ปลายด้านล่างของ spermatid cord ผิวหนังของถุงอัณฑะบางและเป็น รอยย่น (rugose) เนื่องจากในชั้นผิวหนังของถุงอัณฑะมีกล้ามเนื้อเรียบ เรียกว่า dartos muscle ซึ่งถูกเลี้ยงโดยระบบประสาทอัตโนมัติ sympathetic กล้ามเนื้อ dartos จะทาหน้าที่ปรับอุณหภูมิของอัณฑะให้ คงที่ ซึ่งจาเป็นต่อการสร้างและการพัฒนาของ sperm ที่ต้องการอุณหภูมิที่ ต่ากว่าอุณหภูมิของร่างกายประมาณ 3-5 องศาเซลเซียส ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 24. อัณฑะ(testis) อัณฑะ เป็นอวัยวะที่เคลื่อนไหวได้อยู่ในถุง อัณฑะ ถ้าหากอัณฑะยังไม่สามารถเคลื่อนลง มาอยู่ในถุงอัณฑะ เรียกสภาพนี้ว่า cryptochidism ซึ่งจะมีผลทาให้ไม่สามารถ สร้าง sperm ได้ อัณฑะ เป็นต่อมเพศชองชายทาหน้าที่ผลิตตัวอสุจิ (Sperm) และสร้าง ฮอร์โมนเพศชาย อัณฑะมี 2 ข้าง ภายในประกอบด้วยหลอดสร้างตัว อสุจิ (Seminiferous tubules) มีลักษณะเป็นท่อเล็ก ๆ ขดเรียงกันอยู่ มากมาย ทาหน้าที่สร้างตัวอสุจิ นอกจากนีภายในอัณฑะยังมีเซลล์ทา ้ หน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศชายเพื่อควบคุมลักษณะต่าง ๆ ของเพศชาย เช่น เสียงห้าว มีหนวดเครา เป็นต้น ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 25. หลอดเก็บอสุจิ (Epididymis) เป็นที่พักของอสุจิที่ สร้างจากหลอดสร้างอสุจิ หลอดเก็บอสุจิจะอยู่ด้านบน ของอัณฑะต่อเชื่อมกับหลอดนาอสุจิ อสุจิจะพักอยู่ใน เอพิดไดมิส ได้นานถึง 6 สัปดาห์ จนกระทั่งแข็งแรง ิ และพร้อมที่จะผสมกับไข่ได้ต่อไป ท่อนาอสุจิ (Vas deferens) อยู่ต่อจาก หลอดเก็บอสุจิ ทาหน้าที่ลาเลียงอสุจิไป เก็บไว้ที่ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 26. ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (Seminal vesicle) เป็นท่อ2ท่อขดไปมา อยู่ต่อ จากหลอดนาอสุจิ ทาหน้าที่สร้างสารอาหารสาหรับเลี้ยงอสุจิ ได้แก่ น้าตาลฟรักโทส วิตามินซี โปรตีนโกลบูลิน และสร้างของเหลวเพื่อทาให้ เกิดสภาพที่เหมาะสมกับตัวอสุจิ รวมเรียกว่า เซมินัลฟลูอิด (seminal fluid) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 27. ต่อมลูกหมาก (Prostate gland) อยู่บริเวณตอนต้นของท่อปัสสาวะ ทา หน้าที่สร้างสารที่เป็นเบสอ่อน ๆ เข้าไปในท่อปัสสาวะปนกับน้าเลี้ยงตัว อสุจิเพื่อลดความเป็นกรด เพื่อให้เกิดสภาพที่เหมาะสมสาหรับตัวอสุจิ ต่อมคาวเปอร์ (Cowper’s gland) มี 2 ต่อม ขนาดเท่าเม็ดถั่ว อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก ทาหน้าที่สร้างน้าเมือกหล่อลื่นในท่อ ปัสสาวะ เพื่อให้ตัวอสุจิเคลื่อนตัวได้สะดวก และเร็วขึ้น ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 28. การสร้างตัวอสุจิและการหลั่งน้าอสุจิ เริมจากหลอดสร้างตัวอสุจิซึ่งอยู่ภายในอัณฑะสร้างตัวอสุจิออกมา ถูกนาไป ่ พักไว้ที่หลอดเก็บตัวอสุจิ จนตัวอสุจิแข็งแรงพร้อมที่จะปฏิสนธิ แล้วถูก ลาเลียงไปตามหลอดนาตัวอสุจิเพื่อนาไปเก็บไว้ที่ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ เมื่อ ถูกกระตุ้นให้หลั่งน้าอสุจิ น้าอสุจิจะถูกขับออกมาทางท่อปัสสาวะและออกจาก ร่างกายตรงปลายสุดของอวัยวะเพศชาย ซึ่งต่อมลูกหมากจะหลั่งสารเข้าผสม กับน้าเลี้ยงตัวอสุจิเพื่อปรับสภาพให้เหมาะสมกับตัวอสุจิ และต่อมคาวเปอร์ จะสร้างเมือกหล่อลื่นในท่อปัสสาวะเพื่อให้ตัวอสุจิเคลื่อนตัวได้เร็วขึ้น ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 29. โดยทั่วไปเพศชายจะเริ่มสร้างตัวอสุจิเมื่ออายุประมาณ 12-13 ปี และ สร้างไปจนตลอดชีวิต การหลั่งน้าอสุจิออกมาแต่ละครั้งจะมีของเหลว ออกมาเฉลี่ยประมาณ 3-4 ลูกบาศก์เซนติเมตร และมีตัวอสุจิเฉลี่ย ประมาณ 350-500 ล้านตัว ซึ่งปริมาณน้าอสุจิและตัวอสุจิอาจ แตกต่างไปตามความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย เชื้อชาติ และ สภาพแวดล้อม สาหรับชายที่เป็นหมันจะมีตัวอสุจิน้อยกว่า 30-50 ล้านตัวต่อ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร หรือมีตัวอสุจิที่ผิดปรกติมากกว่าร้อยละ 25 ตัวอสุจิเมื่อออกจากร่างกายจะมีชีวิตอยู่ได้ประมาณ 2-3 ชั่วโมง แต่ถ้าอยู่ในมดลูกของเพศหญิงจะอยู่ได้ประมาณ 24-48 ชั่วโมง ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 30. penis เป็นอวัยวะที่ทาหน้าที่เป็นทางผ่านของน้าปัสสาวะและน้าอสุจิ ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่แข็งตัวได้ (erectile tissue) ซึ่งมีลักษณะ เป็นแท่งทรงกระบอก 3 แท่ง ภายในมีลักษณะคล้ายฟองน้า จะมี ต่อมเหงื่อ และต่อมไขมันมาก เมื่อมีการหลั่งสารออกจากต่อมพร้อม กับเซลล์ที่หลุดลอกออกจากผิวหนังมารวมตัวกันจะเป็นก้อนสีขาวขุ่น เรียกว่า smegma ถ้าหากทาความสะอาดบริเวณนี้ไม่ดีจะก่อให้เกิดการ ติดเชื้อได้ ดังนันการผ่าตัดเอา prepuce ออกซึ่งเรียกว่าการทา ้ circumcision จะทาให้สามารถทาความสะอาดบริเวณนี้ได้งาย ่ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 31. การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย (Spermatogenesis) อวัยวะที่ทาหน้าที่สร้างอสุจิ คือ อัณฑะ (testis) โดยภายในอัณฑะจะ ประกอบด้วย หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubules) จานวน มากมาย โดยระหว่างการเกิดอวัยวะสืบพันธุ์จะมีกลุมเซลล์ ชื่อ ไพรมอร์ ่ เดียล เจอร์มเซลล์ (primordial germ cell) เป็นกลุ่มเซลล์เริ่มแรก ที่ เคลื่อนเข้ามาอยู่ในหลอดสร้างอสุจิของอัณฑะ มีการแบ่งตัว แบบ mitosis หลายครั้งได้เซลล์ที่เรียกว่า สเปอร์มาโทโกเนีย (spermatogonia) มากมาย ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 32. spermatogonia จะมีการจาลองโครโมโซมอีกเท่าตัว พร้อมที่จะ แบ่งตัวแบบ meiosis เรียกเซลล์นี้ว่า สเปอร์มาโทไซต์ระยะแรก (primary spermatocyte) ซึ่งจะแบ่งตัวแบบ meiosis ขั้น ที่ 1 ได้ สเปอร์มาโทไซต์ระยะที่ 2 (secondary spermatocyte) และแบ่งตัวแบบ meiosis ขั้นที่ 2 ต่อไป จะได้ สเปอร์มาติด (spermatid) ซึ่งจะเจริญต่อไปเป็นตัวอสุจิโดยการสลัด cytoplasm ทิ้ง ที่ส่วนหัวของสเปิร์มจะมี acrosome ซึ่งเปลี่ยนแปลงมา จาก Golgi bodies จึงมีเอนไซม์อยู่ด้วย (hyaluronidase) ที่ส่วน Middle pieceจะมี centriole2 อัน และ มี mitochondria เรียงตัวเป็นเกลียวรอบ ๆ หลอด microtubules เพื่อสร้างพลังงานให้แก่เซลล์อสุจิ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 35. กระบวนการสร้างเซลล์สบพันธุ์เพศชาย ื • ..การสื บพันธ์ุ0043-swf_spermatogenesi.swf ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 36. ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (Female Reproductive System) ระบบสืบพันธุเ์ พศหญิงเป็นระบบที่ทาหน้าที่คล้ายกับระบบสืบพันธุ์เพศชาย ซึ่งนอกจาก สร้างเซลล์สืบพันธุ์คือเซลล์ไข่ และสร้าง hormone เพศหญิง แล้ว ยังทาหน้าที่ดูแลฟูมพักให้ เซลล์ไข่ที่ผสมติดให้พัฒนากลายเป็นตัวอ่อน จนคลอดออกมา ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 37. โครงสร้างระบบสืบพันธุ์เพศหญิง รังไข่ ท่อนาไข่ มดลูก ลาไส้ใหญ่ กระเพาะปัสสาวะ ทวารหนัก ช่องคลอด ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 38. รังไข่ ทาหน้าที่ผลิตไข่และฮอร์โมนเพศหญิง ซึ่งจะกาหนดลักษณะต่างๆในเพศหญิง เช่น ตะโพกผาย เสียงแหลม สาหรับรังไข่จะมี 2 อัน ซึ่งจะอยู่คนละข้างของมดลูกจะมี ลักษณะคล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์ ยาวประมาณ 2-3 cm. หนา 1 cm. ท่อนาไข่ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปีกมดลูก เป็นทางเชื่อมต่อระหว่างรังไข่ทั้งสองข้าง กับมดลูก ทาหน้าที่เป็นทางผ่านของไข่ที่ออกจากรังไข่เข้าสู่มดลูกและเป็นบริเวณ ที่อสุจิจะเข้าปฏิสนธิกับไข่ ท่อนาไข่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 6 - 7 เซนติเมตร ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 39. มดลูก มีรูปร่างคล้ายผลชมพู่หัวกลับลง กว้าง ประมาณ 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ 6 - 8 เซนติเมตร หนาประมาณ 2 เซนติเมตร อยู่ใน บริเวณอุ้งกระดูกเชิงกรานระหว่างกระเพาะ ปัสสาวะกับทวารหนัก ทาหน้าที่เป็นที่ฝังตัวของ ไข่ที่ได้รับการผสมแล้วและเป็นที่เจริญเติบโตของ ทารกในครรภ์ กระเพาะปัสสาวะ ทวารหนัก ช่องคลอด อยู่ต่อจากมดลูกลงมา ทาหน้าที่เป็น ทางผ่านของตัวอสุจิเข้าสู่มดลูกและเป็นทางออก ของทารกเมื่อครบกาหนดคลอด ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 40. การสร้างเซลล์สืบพันธุของเพศหญิง (Oogenesis) ์ FSH จากต่อมใต้สมอง ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 41. FSH Graafian follicle สร้าง LH estrogen ลักษณะที่2ของเพศหญิง สร้าง โพรเจสเทอโรน ผล มดลูกหนาตัว ยับยั้งการตกไข่ การเปลี่ยนแปลงภายในรังไข่ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 42. เด็กหญิงแรกเกิดมีเซลล์ไข่อยู่แล้วในระยะ primary oocyte (ขั้น prophase1) - เซลล์ไข่ที่ตกจากรังไข่ของเพศหญิงอยู่ในระยะ secondary oocyte (ขั้นmetaphase 2) -1 Oogonium แบ่งเซลล์จะได้เซลล์ไข่เพียง 1 เซลล์ อีก 3 เซลล์ (Polar bodies)ฝ่อสลายไป ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 45. การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 46. ภาพของไข่ก่อนจะถูกผสม ไข่จะถูกปก ภาพของ sperm จานวนหนึ่ง คลุมไว้ด้วย zona pellicuda ซึ่งทา กาลังแข่งกันก่อให้เกิดการปฏิสนธิ หน้าปกป้องและดัก sperm ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 47. อสุจิกาลังเจาะเข้าไปในเซลล์ไข่ อสุจิล้อมรอบเซลล์ไข่ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 48. กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (1) สเปิร์มผ่านเข้าไปในชั้นของ follicle cells และรวมกับ receptor molecules ที่อยู่ที่ชั้น zona pellucida (2) acrosomal reaction เกิดขึ้นโดยสเปิร์มปล่อยเอนไซม์ย่อย ชั้น zona pellucida (3) ทาให้สเปิร์มสามารถเข้าไปถึง plasma membrane ของไข่ได้ และ membrane proteins ของสเปิร์มรวมกับ receptor ที่ plasma membrane ของไข่ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 49. กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (4) plasma membrane ของ สเปิร์มและไข่เชื่อมติดกัน ดังนั้น นิวเคลียสของสเปิร์มเข้าไปใน ไซโตพลาสซึมของไข่ (5) เกิด cortical reaction โดยเอนไซม์ที่ปล่อยออกมาจาก cortical granules ทาให้ชั้น zona pellucida มีลักษณะแข็ง ทา หน้าที่ป้องกันไม่ให้สเปิร์มตัวอื่นเข้าไปในไข่อีก (การทีสเปิร์มเข้าไปใน ่ ไข่หลายตัว เรียกว่า polyspermy) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 50. ทีมา Frederich H. Martini. Edwin F. Bartholomew. Essentials ่ of anatomy and physiology. U.S.A., Prentice-Hall , Inc. 1997. ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 51. ภาพของไข่ที่ได้รับการผสม กลายเป็นตัว ภาพตัวอ่อนอายุ 6 วัน อ่อนได้ 5 วัน และยังมี sperm ที่ ในมดลูกของเพศหญิง หลงเหลือว่ายอยู่รอบๆ ส่วนสีเขียวใน ภาพคือส่วนหางของ sperm ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 53. การปฏิสนธิ (Fertilization) คือ การที่อสุจิของเพศชายเกิดการผสมกับไข่ ของเพศหญิง เกิดเป็นไข่ที่ถูกผสมและมีจานวนโครโมโซม 2n ( 46 แท่ง) การปฏิสนธิมักเกิดขึ้นที่บริเวณของท่อนาไข่บริเวณ Ampula ระยะเวลาที่ไข่ ผสมกับ Sperm นั้นสั้นมาก เกิดขึ้นภายใน 6-8 ชั่วโมง หลังจากไข่ตก และ เมื่อเกิดการปฏิสนธิแล้วไข่ที่ถูกผสมจะ เรียกว่า Fertilized ovum ต่อมาจะมี การเคลื่อนที่พร้อมกับการแบ่งตัวแบบ Mitosis ไปพร้อมๆ กัน จนกลายเป็น Blastocyte เพื่อเตรียมฝังตัวที่ผนังมดลูก ในวันที่ 7 หลังการปฏิสนธิ Blastocyte จะเริ่มฝังตัวในผนัง มดลูก และจะฝังตัวเรียบร้อยในวันที่ 14 ประมาณ วันที่ 16 จะเกิด Primitive streak มี 3 ชั้น ซึ่งจะเจริญเป็นทารกต่อไป ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 54. The End สวัสดี ครูฉวีวรรณ นาคบุตร