SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เป็นการหาค่ากลางของ 
คะแนนชุดนั้น หรือหาค่าที่เป็นตัวแทนของคะแนนชุดนั้น สถิติที่ 
นิยมใช้วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ได้แก่ 
1. ตัวกลางเลขคณิต (Arithmetic mean) หรือ ค่าเฉลี่ย 
ใช้สัญลักษณ์ X 
วิธีคำานวณ หาค่า X มีดังนี้ 
SX ; ใช้ในกรณีที่ข้อมูล 
สูตรที่ 1 X = N 
ไม่ได้แจกแจงความถี่ 
เมื่อ X แทน ตัวกลางคณิตศาสตร์ 
SX แทนผลบวกของคะแนนทั้งหมด (SX = X1 + X2 
+ X3 + Xn) 
N แทนจำานวนคะแนนทั้งหมด 
ตัวอย่า ง ผลการสอบวิชาหนึ่งของนักเรียน 10 คนได้คะแนน 
ดังนี้ 
5 7 9 12 20 8 3 7 11 15 จงหาค่าตัวกลางเลขคณิต 
ของข้อมูลชุดนี้ 
SX 
X = N 
[5 + 7 + 9 +12 + 20 + 8 + 3 + 7 +11+15] = 
= 9.7 
10 
SX ; ใช้ในกรณีที่ข้อมูลมี 
สูตรที่ 2 X = N 
การแจกแจงความถี่ 
เมื่อ X แทน ตัวกลางเลขคณิต 
åfx แทน ผลบวกของผลคุณระหว่างคะแนนกับ 
ความถี่ของคะแนนตัวนั้น 
N แทน จำานวนคะแนนทั้งหมด (N = åf)
ตัวอย่าง จงหาตัวกลางเลขคณิตของคะแนนจากผลการสอบวิชา 
หนึ่ง ดังนี้ 
คะแนน 
(X) 
2 
4 
2 
3 
2 
2 
2 
1 
2 
0 
1 
9 
1 
8 
1 
7 
1 
6 
1 
5 
1 
4 
ความถี่ 
(f) 
3 3 2 3 6 4 1 2 8 4 4 
SfX 
จากสูตร X = N 
N = åf = 40 
åfx = 740 
X = 740/40 = 18.5 
คะแนน 
(X) 
ค ว า ม 
ถี่ (f) 
fX 
24 
23 
22 
21 
20 
19 
18 
17 
16 
15 
14 
3 
3 
2 
3 
6 
4 
1 
2 
8 
4 
4 
72 
69 
44 
63 
120 
76 
18 
34 
128 
60 
56 
åf 
= 40 
å fx 
=740
การใช้ค่าตัวกลางเลขคณิต 
1. บรรยายลักษณะรวม ๆ ของกลุ่มว่ามีความสามารถทั่ว 
ๆ ไปอยู่ระดับใดของกลุ่ม (Norm) เช่น สูง ปานกลาง หรือตำ่า 
2. นำาไปใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถระหว่างกลุ่ม 
ต่าง ๆ ที่ต้องการ เช่น 
เปรียบเทียบระหว่างห้องเรียน ระหว่างโรงเรียน หรือระหว่าง 
จังหวัด ฯลฯ 
3. ใช้บอกระดับความยากง่ายของข้อสอบทั้งฉบับ 
2. มัธยฐาน (Median) หมายถึงคะแนนตัวที่อยู่ตรงตำ่าแหน่ 
งกึ่งกลางของกลุ่มใช้สัญลักษณ์ Med หรือ Mdn เป็นค่าสถิติอีก 
ตัวหนึ่งที่บอกสภาพโดยส่วนรวมของกลุ่ม นิยมใช้กับข้อมูล หรือ 
คะแนนที่มีกระจายกว้าง และช่วงที่ห่างกันมาก ๆ วิธีคำานวณหาค่า 
มัธยฐานมีดังนี้ 
กรณีที่ 1 ข้อมูลไม่ได้แจกแจงความถี่ หรือข้อมูลมีจำานวน 
น้อย มีวิธีทำาดังนี้ 
1. เรียงคะแนนจากน้อยไปมาก 
2. หาคะแนนที่อยู่ตำาแหน่งตรงกลาง 2 
(N +1) ซึ่งก็คือ 
ค่ามัธยฐาน 
ตัวอย่าง คะแนนชุดหนึ่งมี 7 ตัวดังนี้ 14 13 18 16 15 19 20 
เรียงคะแนน 13 14 15 16 18 19 20 
หาตำาแหน่งมัธยฐาน = (N +1)/2 = (7+1)/2 = 4 
ตำาแหน่งที่ 4 ตรงกับคะแนน 16 
ค่ามัธยฐาน เท่ากับคะแนน 16
ตัวอย่าง คะแนนชุดหนึ่งมี 6 ตัวดังนี้8 2 4 9 3 5 
เรียงคะแนน 2 3 4 5 8 9 
หาตำาแหน่งมัธยฐาน = (N +1)/2 = (6+1)/2 = 3.5 
ตำาแหน่งที่ 3.5 เป็นค่าเฉลี่ยของคะแนนตำาแหน่งที่ 3 กับ 4 
ค่ามัธยฐาน = (4+5)/2 = 4.5 
กรณีที่ 2 ถ้าข้อมูลอยู่ในรุปการแจกแจงความถี่ คำานวณต่า 
มัธยฐานได้จากสูตร 
Mdn = 
L +i[(N / 2 - f )] 
o C 
m 
f 
เมื่อ Mdnแทน ค่ามัธยฐาน 
LO แทน ขีดจำากัดล่างที่แท้จริงของชั้นมัธยฐาน 
N แทน จำานวนข้อมูลทั้งหมด 
I แทน อัตรภาคชั้น 
fC แทน ความถี่สะสมของชั้นที่ตำากว่าชั้นมัธยฐาน 
fm แทน ความถี่ของชั้นมัธยฐาน 
ตัวอย่าง จากผลการสอบของนักเรียน 30 คน ในตารางข้าง 
ล่างนี้ จงหาค่ามัธยฐาน 
X 2 
5 
2 
4 
2 
6 
2 
3 
2 
1 
2 
0 
1 
9 
1 
8 
1 
7 
1 
6 
1 
5 
1 1 2 4 - 6 3 4 4 2 3
วิธีทำำ 
1. สร้ำงตำรำงแจกจำงควำมถี่สะสม 
2. หำค่ำชั้นมัธยฐำน = N/2 คือชั้นที่ควำมถี่ 
สะสม 
ตกอยู่ 
3. แทนค่ำสูตร 
Mdn = 
L +i[(N / 2 - f )] 
O C 
M 
f 
ในที่นี้ LO = 18.5 
i = 1 
N/2 = 15 
fC = 13 
X F C 
f 
2 
5 
2 
4 
2 
3 
2 
2 
2 
1 
2 
0 
1 
1 
2 
4 
- 
6 
3 
0 
2 
9 
2 
8 
2 
6 
- 
2 
2 
1 
9 
3 1 
6 
1 
8 
1 
7 
1 
6 
1 
5 
4 
4 
2 
3 
1 
3 
9 
5 
3 
15
fM = 3 
1[(15-13)] 
Mdn = 18.5 + 3 
= 18.5 + .67 
มัธยฐำน = 19.17 
กำรใช้ค่ำมัธยฐำน 
1. ใช้บรรยำยลักษณะรวม ๆ ของกลุ่มคล้ำยตัวกลำง 
เลขคณิต สำำหรับข้อมูลที่มีกำรกระจำยกว้ำงมำก ๆ และในกรณีที่ 
มีข้อมูลบ้ำงตัวกระจำยห่ำงไปจำกกลุ่ม 
2. ใช้ในกำรแบ่งกลุ่มผู้สอบออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้ 
คะแนนมัธยฐำนเป็นจุดแบ่ง 
3. ฐำนนิยม (Mode) หมำยถึง คะแนนตัวที่มีควำมถี่สูงสุด 
ใช้สัญลักษณ์ Mo จะใช้เมื่อต้องกำรทรำบค่ำกลำงของข้อมูลอย่ำง 
คร่ำว ๆ รวดเร็ว เช่น กำรสำำรวจควำมนิยมของกลุ่มคนในเรื่อง 
ต่ำง ๆ 
ตัวอย่ำ ง ข้อมูลชุดหนึ่งมีคะแนนดังนี้ 12 15 13 14 14 13 
13 18ฐ 
ำนนิยมของข้อมูลนี้คือ 13 เพรำะคะแนน 13 มีควำมถี่ 
มำกที่สุด 
ข้อสัง เกต ข้อมูลบำงชุดอำจมีฐำนนิยม 2 ค่ำ (Bimodel) 
เช่น 
2 1 4 8 5 8 3 5 7 5 8 15 
มัธยฐำนของชุดข้อมูลชุดนี้ คือ 5 กับ 8 
ข้อแนะนำำในหำรเลือกใช้สถิติที่ใช้วัดแนวโน้มเข้สู่ส่วนกลำง 
ตัวกลำงเลขคณิต 
1. ระดับของกำรวัด เป็นข้อมูลที่อยู่ในมำตรำอันตรภำค 
2. กำรแจกแจง เป็นโค้งปกติ 
3. จุดมุ่งหมำย ต้องกำรค่ำกลำงที่ละเอียดและถูกต้อง 
แน่นอน หรือต้องกำรค่ำกลำงที่นำำไปใช้คำำนวณในสถิติขั้นสูงต่อ 
ไป 
มัธยฐำน 
1. ระดับของกำรวัด เป็นข้อมูลที่อยู่ในมำตรำจัดอันดับ 
หรืออัตรภำค 
2. กำรแจกแจงควำมถี่ ไม่เป็นโค้งปกติมีลักษณะเบ้
3. จุดมุ่งหมาย ต้องการค่ากลางที่ถูกต้องแน่นอน หรือ 
ต้องการแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม เช่น กลุ่มเก่ง และกลุ่มอ่อน 
หรือใช้ในสถิติขั้นสูง 
ฐานนิยม 
1. ระดับของการวัด เป็นข้อมูลอยู่ในมาตราจัดประเภท 
จัดอันดับ หรืออันตรภาค 
2. การแจกแจงความถี่ ไม่เป็นโค้งปกติมีลักษณะเบ้ไปใน 
ทิศทางหนึ่งมาก ๆ 
3. จุดมุ่งหมาย ต้องการค่ากลางโดยประมาณอย่าง 
รวดเร็ว หรือเมื่อต้องการทราบค่าความนิยมของคนส่วนมาก

More Related Content

What's hot

1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
noinasang
 
ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอน
othanatoso
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
พัน พัน
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 

What's hot (20)

ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
 
สถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลสถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูล
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอน
 
สถิติStat
สถิติStatสถิติStat
สถิติStat
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 
31202 final
31202 final31202 final
31202 final
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
ตารางแจกแจงความถี่ 1
ตารางแจกแจงความถี่ 1ตารางแจกแจงความถี่ 1
ตารางแจกแจงความถี่ 1
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 

Viewers also liked

Shopan Project Evaluation 1st Qtr.
Shopan Project Evaluation 1st Qtr.Shopan Project Evaluation 1st Qtr.
Shopan Project Evaluation 1st Qtr.
Sumit Banik
 

Viewers also liked (14)

สถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนาสถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนา
 
Gestão de recursos 3º Nível- Curso Básico em Agro-Pecuário
Gestão de recursos 3º Nível- Curso Básico em Agro-PecuárioGestão de recursos 3º Nível- Curso Básico em Agro-Pecuário
Gestão de recursos 3º Nível- Curso Básico em Agro-Pecuário
 
「社会」から考える ~社会学?のすすめ~
「社会」から考える~社会学?のすすめ~「社会」から考える~社会学?のすすめ~
「社会」から考える ~社会学?のすすめ~
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
A new approach of edge detection in sar images using
A new approach of edge detection in sar images usingA new approach of edge detection in sar images using
A new approach of edge detection in sar images using
 
All about relative ctr
All about relative ctrAll about relative ctr
All about relative ctr
 
Shopan Project Evaluation 1st Qtr.
Shopan Project Evaluation 1st Qtr.Shopan Project Evaluation 1st Qtr.
Shopan Project Evaluation 1st Qtr.
 
4G應用 安心乘車
4G應用 安心乘車4G應用 安心乘車
4G應用 安心乘車
 
Enabling Limitless Connectivity, Opportunity and Growth with Interconnection ...
Enabling Limitless Connectivity, Opportunity and Growth with Interconnection ...Enabling Limitless Connectivity, Opportunity and Growth with Interconnection ...
Enabling Limitless Connectivity, Opportunity and Growth with Interconnection ...
 
Nilai dan norma sosial
Nilai dan norma sosialNilai dan norma sosial
Nilai dan norma sosial
 
Understanding the Quality of the Student Experience in Blended Learning Envir...
Understanding the Quality of the Student Experience in Blended Learning Envir...Understanding the Quality of the Student Experience in Blended Learning Envir...
Understanding the Quality of the Student Experience in Blended Learning Envir...
 
Add11
Add11Add11
Add11
 
Presentación...
Presentación...Presentación...
Presentación...
 
examen info A
examen info Aexamen info A
examen info A
 

Similar to สถิติ

ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ทับทิม เจริญตา
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
Bangon Suyana
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
noeiinoii
 
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลบทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
sawed kodnara
 
บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdf
sewahec743
 
แผนการวัดและประเมินผลการเรียน วิชา ค31202 คณิตศาสตร์ 2
แผนการวัดและประเมินผลการเรียน วิชา  ค31202  คณิตศาสตร์ 2แผนการวัดและประเมินผลการเรียน วิชา  ค31202  คณิตศาสตร์ 2
แผนการวัดและประเมินผลการเรียน วิชา ค31202 คณิตศาสตร์ 2
ทับทิม เจริญตา
 
ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2
krurutsamee
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
Aon Narinchoti
 

Similar to สถิติ (20)

สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
 
การวัดการกระจาย
การวัดการกระจายการวัดการกระจาย
การวัดการกระจาย
 
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง276 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
 
Epi info unit09
Epi info unit09Epi info unit09
Epi info unit09
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
 
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลบทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
 
ค31202 คณิตศาสตร์ 2
ค31202  คณิตศาสตร์ 2ค31202  คณิตศาสตร์ 2
ค31202 คณิตศาสตร์ 2
 
statistic_research.ppt
statistic_research.pptstatistic_research.ppt
statistic_research.ppt
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdf
 
แผนการวัดและประเมินผลการเรียน วิชา ค31202 คณิตศาสตร์ 2
แผนการวัดและประเมินผลการเรียน วิชา  ค31202  คณิตศาสตร์ 2แผนการวัดและประเมินผลการเรียน วิชา  ค31202  คณิตศาสตร์ 2
แผนการวัดและประเมินผลการเรียน วิชา ค31202 คณิตศาสตร์ 2
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ชุดที่ 2
ชุดที่ 2 ชุดที่ 2
ชุดที่ 2
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

สถิติ

  • 1. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เป็นการหาค่ากลางของ คะแนนชุดนั้น หรือหาค่าที่เป็นตัวแทนของคะแนนชุดนั้น สถิติที่ นิยมใช้วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ได้แก่ 1. ตัวกลางเลขคณิต (Arithmetic mean) หรือ ค่าเฉลี่ย ใช้สัญลักษณ์ X วิธีคำานวณ หาค่า X มีดังนี้ SX ; ใช้ในกรณีที่ข้อมูล สูตรที่ 1 X = N ไม่ได้แจกแจงความถี่ เมื่อ X แทน ตัวกลางคณิตศาสตร์ SX แทนผลบวกของคะแนนทั้งหมด (SX = X1 + X2 + X3 + Xn) N แทนจำานวนคะแนนทั้งหมด ตัวอย่า ง ผลการสอบวิชาหนึ่งของนักเรียน 10 คนได้คะแนน ดังนี้ 5 7 9 12 20 8 3 7 11 15 จงหาค่าตัวกลางเลขคณิต ของข้อมูลชุดนี้ SX X = N [5 + 7 + 9 +12 + 20 + 8 + 3 + 7 +11+15] = = 9.7 10 SX ; ใช้ในกรณีที่ข้อมูลมี สูตรที่ 2 X = N การแจกแจงความถี่ เมื่อ X แทน ตัวกลางเลขคณิต åfx แทน ผลบวกของผลคุณระหว่างคะแนนกับ ความถี่ของคะแนนตัวนั้น N แทน จำานวนคะแนนทั้งหมด (N = åf)
  • 2. ตัวอย่าง จงหาตัวกลางเลขคณิตของคะแนนจากผลการสอบวิชา หนึ่ง ดังนี้ คะแนน (X) 2 4 2 3 2 2 2 1 2 0 1 9 1 8 1 7 1 6 1 5 1 4 ความถี่ (f) 3 3 2 3 6 4 1 2 8 4 4 SfX จากสูตร X = N N = åf = 40 åfx = 740 X = 740/40 = 18.5 คะแนน (X) ค ว า ม ถี่ (f) fX 24 23 22 21 20 19 18 17 16 15 14 3 3 2 3 6 4 1 2 8 4 4 72 69 44 63 120 76 18 34 128 60 56 åf = 40 å fx =740
  • 3. การใช้ค่าตัวกลางเลขคณิต 1. บรรยายลักษณะรวม ๆ ของกลุ่มว่ามีความสามารถทั่ว ๆ ไปอยู่ระดับใดของกลุ่ม (Norm) เช่น สูง ปานกลาง หรือตำ่า 2. นำาไปใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถระหว่างกลุ่ม ต่าง ๆ ที่ต้องการ เช่น เปรียบเทียบระหว่างห้องเรียน ระหว่างโรงเรียน หรือระหว่าง จังหวัด ฯลฯ 3. ใช้บอกระดับความยากง่ายของข้อสอบทั้งฉบับ 2. มัธยฐาน (Median) หมายถึงคะแนนตัวที่อยู่ตรงตำ่าแหน่ งกึ่งกลางของกลุ่มใช้สัญลักษณ์ Med หรือ Mdn เป็นค่าสถิติอีก ตัวหนึ่งที่บอกสภาพโดยส่วนรวมของกลุ่ม นิยมใช้กับข้อมูล หรือ คะแนนที่มีกระจายกว้าง และช่วงที่ห่างกันมาก ๆ วิธีคำานวณหาค่า มัธยฐานมีดังนี้ กรณีที่ 1 ข้อมูลไม่ได้แจกแจงความถี่ หรือข้อมูลมีจำานวน น้อย มีวิธีทำาดังนี้ 1. เรียงคะแนนจากน้อยไปมาก 2. หาคะแนนที่อยู่ตำาแหน่งตรงกลาง 2 (N +1) ซึ่งก็คือ ค่ามัธยฐาน ตัวอย่าง คะแนนชุดหนึ่งมี 7 ตัวดังนี้ 14 13 18 16 15 19 20 เรียงคะแนน 13 14 15 16 18 19 20 หาตำาแหน่งมัธยฐาน = (N +1)/2 = (7+1)/2 = 4 ตำาแหน่งที่ 4 ตรงกับคะแนน 16 ค่ามัธยฐาน เท่ากับคะแนน 16
  • 4. ตัวอย่าง คะแนนชุดหนึ่งมี 6 ตัวดังนี้8 2 4 9 3 5 เรียงคะแนน 2 3 4 5 8 9 หาตำาแหน่งมัธยฐาน = (N +1)/2 = (6+1)/2 = 3.5 ตำาแหน่งที่ 3.5 เป็นค่าเฉลี่ยของคะแนนตำาแหน่งที่ 3 กับ 4 ค่ามัธยฐาน = (4+5)/2 = 4.5 กรณีที่ 2 ถ้าข้อมูลอยู่ในรุปการแจกแจงความถี่ คำานวณต่า มัธยฐานได้จากสูตร Mdn = L +i[(N / 2 - f )] o C m f เมื่อ Mdnแทน ค่ามัธยฐาน LO แทน ขีดจำากัดล่างที่แท้จริงของชั้นมัธยฐาน N แทน จำานวนข้อมูลทั้งหมด I แทน อัตรภาคชั้น fC แทน ความถี่สะสมของชั้นที่ตำากว่าชั้นมัธยฐาน fm แทน ความถี่ของชั้นมัธยฐาน ตัวอย่าง จากผลการสอบของนักเรียน 30 คน ในตารางข้าง ล่างนี้ จงหาค่ามัธยฐาน X 2 5 2 4 2 6 2 3 2 1 2 0 1 9 1 8 1 7 1 6 1 5 1 1 2 4 - 6 3 4 4 2 3
  • 5. วิธีทำำ 1. สร้ำงตำรำงแจกจำงควำมถี่สะสม 2. หำค่ำชั้นมัธยฐำน = N/2 คือชั้นที่ควำมถี่ สะสม ตกอยู่ 3. แทนค่ำสูตร Mdn = L +i[(N / 2 - f )] O C M f ในที่นี้ LO = 18.5 i = 1 N/2 = 15 fC = 13 X F C f 2 5 2 4 2 3 2 2 2 1 2 0 1 1 2 4 - 6 3 0 2 9 2 8 2 6 - 2 2 1 9 3 1 6 1 8 1 7 1 6 1 5 4 4 2 3 1 3 9 5 3 15
  • 6. fM = 3 1[(15-13)] Mdn = 18.5 + 3 = 18.5 + .67 มัธยฐำน = 19.17 กำรใช้ค่ำมัธยฐำน 1. ใช้บรรยำยลักษณะรวม ๆ ของกลุ่มคล้ำยตัวกลำง เลขคณิต สำำหรับข้อมูลที่มีกำรกระจำยกว้ำงมำก ๆ และในกรณีที่ มีข้อมูลบ้ำงตัวกระจำยห่ำงไปจำกกลุ่ม 2. ใช้ในกำรแบ่งกลุ่มผู้สอบออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้ คะแนนมัธยฐำนเป็นจุดแบ่ง 3. ฐำนนิยม (Mode) หมำยถึง คะแนนตัวที่มีควำมถี่สูงสุด ใช้สัญลักษณ์ Mo จะใช้เมื่อต้องกำรทรำบค่ำกลำงของข้อมูลอย่ำง คร่ำว ๆ รวดเร็ว เช่น กำรสำำรวจควำมนิยมของกลุ่มคนในเรื่อง ต่ำง ๆ ตัวอย่ำ ง ข้อมูลชุดหนึ่งมีคะแนนดังนี้ 12 15 13 14 14 13 13 18ฐ ำนนิยมของข้อมูลนี้คือ 13 เพรำะคะแนน 13 มีควำมถี่ มำกที่สุด ข้อสัง เกต ข้อมูลบำงชุดอำจมีฐำนนิยม 2 ค่ำ (Bimodel) เช่น 2 1 4 8 5 8 3 5 7 5 8 15 มัธยฐำนของชุดข้อมูลชุดนี้ คือ 5 กับ 8 ข้อแนะนำำในหำรเลือกใช้สถิติที่ใช้วัดแนวโน้มเข้สู่ส่วนกลำง ตัวกลำงเลขคณิต 1. ระดับของกำรวัด เป็นข้อมูลที่อยู่ในมำตรำอันตรภำค 2. กำรแจกแจง เป็นโค้งปกติ 3. จุดมุ่งหมำย ต้องกำรค่ำกลำงที่ละเอียดและถูกต้อง แน่นอน หรือต้องกำรค่ำกลำงที่นำำไปใช้คำำนวณในสถิติขั้นสูงต่อ ไป มัธยฐำน 1. ระดับของกำรวัด เป็นข้อมูลที่อยู่ในมำตรำจัดอันดับ หรืออัตรภำค 2. กำรแจกแจงควำมถี่ ไม่เป็นโค้งปกติมีลักษณะเบ้
  • 7. 3. จุดมุ่งหมาย ต้องการค่ากลางที่ถูกต้องแน่นอน หรือ ต้องการแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม เช่น กลุ่มเก่ง และกลุ่มอ่อน หรือใช้ในสถิติขั้นสูง ฐานนิยม 1. ระดับของการวัด เป็นข้อมูลอยู่ในมาตราจัดประเภท จัดอันดับ หรืออันตรภาค 2. การแจกแจงความถี่ ไม่เป็นโค้งปกติมีลักษณะเบ้ไปใน ทิศทางหนึ่งมาก ๆ 3. จุดมุ่งหมาย ต้องการค่ากลางโดยประมาณอย่าง รวดเร็ว หรือเมื่อต้องการทราบค่าความนิยมของคนส่วนมาก