SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
สถิติกับการวิจัยสิ่งแวดล้อม
ผศ.ศรัณยา สุจริตกุล
สถิติกับการวิจัย
 คิดว่ามีอะไรบ้างในเรื่องใกล้ตัว?
 ทาไมต้องใช้สถิติ?
 ทุกเรื่องหรือไม่ที่ต้องใช้สถิติ?
ในการวิจัยแต่ละประเด็น
มีการใช้สถิติที่มีความลึกซึ้งมากน้อยแตกต่างกัน
วิธีการทางสถิติ
 Descriptive statistics (สถิติเชิงพรรณา)
 ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จานวน ร้อยละ สัดส่วน ที่
ประมวลผลได้มาจากกลุ่มตัวอย่าง
 Inferential statistics (สถิติเชิงอ้างอิง-สถิติเชิง
อนุมาน)
 การประมาณค่า เช่น การประมาณค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ให้กับประชากร
 การทดสอบสมมติฐาน
วิธีการทางสถิติ
 Descriptive Statistics กับ Inferential
Statistics มีความลึกซึ้งที่แตกต่างกัน สามารถใช้ใน
การอธิบายเสริมกัน
 เครื่องมืออานวยความสะดวกทางด้านสถิติ เช่น SPSS,
Excel, STATA,…
 ข้อมูลที่บันทึกลงในโปรแกรม มีการบันทึกเป็นตัวเลข ซึ่ง
มีความหมายในตัวของมัน
ที่มาของข้อมูล
 Primary Data (ข้อมูลปฐมภูมิ)
 Secondary Data (ข้อมูลทุติยภูมิ)
มาตรวัดของข้อมูล
 ถึงแม้ว่าข้อมูลจะถูกบันทึกไว้เป็นตัวเลข เพื่อให้เอื้อต่อ
การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ แต่ในขณะที่วิเคราะห์
หรือนาเสนอข้อมูล ต้องคานึงถึงความหมายของตัวเลข
นั้นๆอยู่เสมอ
 แบบสอบถามแต่ละชุด แต่ละข้อคาถามนั้นมีมาตรวัดที่
แตกต่างกัน ดังนั้น การนาเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์
ข้อมูลก็ย่อมมีความแตกต่างกันไปด้วย
ตัวอย่าง
ตัวแปรและการจาแนกประเภท
Norminal Scale
Ordinal Scale
Interval Scale
Ratio Scale
Nominal Scale
จังหวัด (1: กทม. 2:นนทบุรี 3:สมุทรปราการ,…)
การเดินทางโดยรถยนต์ส่วนบุคคล (1: yes 0: no)
ชนิดพันธุ์พืชที่เพาะปลูก (1:ข้าว 2:สัปปะรด ……)
หมายเลขโทรศัพท์(081-7777777,…..)
Ordinal Scale
ระดับการมีส่วนร่วมกับชุมชน (3:มาก 2:ปานกลาง 1:น้อย)
ระดับรายได้/หนี้สิน (ไม่ถึง 5,000 / 5,001-10,000 /
10,001-20,000 / 20,000 บาทขึ้นไป)
ช่วงคะแนนพฤติกรรม (0/ 1-3/ 4-7/ 8-10 คะแนน)
ระดับการศึกษา (0: ไม่ได้เรียน 1:ประถม 2:มัธยม
3:ป.ตรีหรือสูงกว่า)
Interval Scale
ปี พ.ศ./ค.ศ. 1000, 2000, 2001,
2002,…., 2007,…
อุณหภูมิ 0C 100 C 200 F
คะแนนพฤติกรรม (0,1,2,…,10, ..,20,…
คะแนน)
Ratio Scale
รายได้/หนี้สิน 5,000 บาท 10,000 บาท 198 บาท
จานวนปีที่ศึกษา 0,1,2,3,…,16,17,….ปี
Descriptive Statistics
 การนาเสนอเป็นตาราง และกราฟ แสดงจานวน และร้อยละ
 การสรุปข้อมูลเบื้องต้น โดยค่ากลาง และการกระจาย
 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต / ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน / ค่าความแปรปรวน/
สัมประสิทธิ์ความแปรผัน
 มัธยฐาน
 ฐานนิยม
Inferential Statistics
 Sample & Population
 การประมาณค่า
 การทดสอบสมมติฐาน หรือ การทดสอบความมีนัยสาคัญ
 การแปลผลจากการทดสอบสมมติฐาน
ต้องตั้งสมมติฐานทางสถิติก่อน
ซึ่งต้องสอดคล้องกับการทบทวนวรรณกรรม และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
 การสัมภาษณ์ (แบบตัวต่อตัว หรือโดยโทรศัพท์)
 การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์
 การชั่ง วัด นับ
 การสังเกต
วิธีการสุ่มตัวอย่าง
Simple Random Sampling
วิธีนี้เหมาะสาหรับกรณีที่หน่วยต่างๆในประชากรมี
ลักษณะแตกต่างกันไม่มาก
 มีวิธีการดังนี้
การจับฉลาก
ใช้ได้ดีเมื่อมีประชากรไม่มากนัก
การใช้ตาราง Random number
ใช้ได้ดีเมื่อมีประชากรมากๆ
Systematic Sampling
 ถ้าในกรณีที่ข้อมูลในประชากรมีลักษณะการเรียงลาดับเป็น
ลูกคลื่นต่อเนื่องกัน ไม่ควรใช้การเลือกตัวอย่างด้วยวิธีนี้
เพราะอาจจะทาให้ได้ตัวอย่างที่มีลักษณะเหมือนกันมาเป็น
ตัวแทน ทาให้ได้ตัวอย่างมาไม่ครบทุกลักษณะ จึงเป็นตัว
แทนที่ไม่ดี
Systematic Sampling
 มีวิธีการดังนี้
กาหนดขนาดตัวอย่าง n
หาค่าช่วงกว้างของการสุ่มตัวอย่าง sampling interval
ให้เลขที่แก่ทุกหน่วยในประชากร
เลือกเลขสุ่ม R ให้มีค่าไม่เกิน i หลังจากนั้นจะได้ว่าหน่วยตัวอย่าง
ได้แก่หน่วยที่มีหมายเลข R, R+i, R+2i, … จนครบจานวนที่
ต้องการ
n
N
i 
Stratified Sampling
ประชากรจะถูกแบ่งออกเป็น Stratum ตามลักษณะอย่าง
ใดอย่างหนึ่ง ภายในชั้นภูมิเดียวกันประกอบไปด้วยหน่วยที่มี
ลักษณะคล้ายคลึงกันมากที่สุด และมีความแตกต่างระหว่าง
ชั้นภูมิมากที่สุด
การกาหนดขนาดตัวอย่างในแต่ละชั้นภูมิ ทาได้3 ลักษณะ
Stratified Sampling
 ขนาดตัวอย่างเท่ากันในทุกชั้นภูมิ
 ขนาดตัวอย่างเป็นสัดส่วนกับจานวนประชากร
 ขนาดตัวอย่างไม่เป็นสัดส่วนกับจานวน
ประชากร
n
N
N
n i
i 

n
N
N
n
all
i
i
i
i
i 

i


Cluster Sampling
 แบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มย่อย โดยภายในแต่ละกลุ่ม
ย่อยประกอบด้วยหน่วยที่มีลักษณะต่างๆกัน เหมือนกับ
ส่วนประกอบในประชากร เพื่อทาให้การเลือกกลุ่มย่อย
เพียงบางกลุ่มสามารถใช้เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร
 การเลือกตัวอย่างแบบกลุ่มสามารถทาได้หลายขั้นตอน
 two-stage cluster sampling
 three-stage cluster sampling
 multi-stage cluster sampling
การกาหนดขนาดตัวอย่าง
 ขนาดตัวอย่างจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ
 ความแปรปรวนของประชากร
 ความถูกต้องของการประมาณค่าที่ผู้วิจัยต้องการ
 ความเชื่อมั่นในการประมาณค่า
 ค่าพารามิเตอร์ที่ต้องการประมาณ ส่วนใหญ่จะเป็น ค่าเฉลี่ย
ยอดรวม และค่าสัดส่วน
ขนาดตัวอย่างสาหรับประมาณค่าเฉลี่ย
 .
 เมื่อรู้ขนาดประชากร
 กรณีที่ประชากรขนาดใหญ่มากๆ ทั้งสองสูตร จะให้
จานวนตัวอย่างใกล้เคียงกัน
 d = ความผิดพลาดที่ผู้วิจัยยอมรับได้
 S = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
 Z = ค่าที่ได้จากตาราง Normal Distribution เป็นตัวที่แสดงให้ทราบ
ถึงความเชื่อมั่นของการประมาณค่า เช่น ถ้าต้องการความเชื่อมั่น 95% จะมี
ค่า Z=1.96
2
2
2
d
S
Z
n 
2
2
2
2
2
S
Z
Nd
S
NZ
n


ขนาดตัวอย่างสาหรับประมาณค่าสัดส่วน
 p = สัดส่วนหรือความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ที่สนใจ
 q = 1-p = สัดส่วนของการไม่เกิดเหตุการณ์ที่สนใจ
2
2
d
pq
Z
n 
pq
Z
Nd
pq
NZ
n 2
2
2


ขนาดตัวอย่างสาหรับประมาณยอดรวม
 d = ความแตกต่างที่ยอมรับได้ระหว่างยอดรวมจริง และยอดรวมจาก
การประมาณ
2
2
2
2
2
2
S
NZ
d
S
Z
N
n


การทดสอบสมมติฐาน
 คือขบวนการที่ใช้หลักฐานจากตัวอย่าง และทฤษฎีความน่าจะเป็น เข้ามา
ช่วยในการตัดสินใจว่าข้อความในสมมติฐาน H0 นั้นมีเหตุผลพอที่จะ
เชื่อถือหรือไม่
 ในการยอมรับสมมติฐาน H0 ที่ตั้งไว้นั้น ไม่ได้หมายความว่าข้อความ
ในสมมติฐานเป็นจริงแน่นอน เพียงแต่จากตัวอย่างที่มีอยู่นั้นเราไม่มี
หลักฐานพอที่จะเชื่อได้ว่าเป็นอย่างอื่นเท่านั้น
5 ขั้นตอน ของการทดสอบสมมติฐาน
 1. ตั้งสมมติฐานการวิจัย
 2. กาหนดค่าระดับนัยสาคัญที่ต้องการใช้เพื่อการทดสอบ
 3. เลือกวิธีการทดสอบทางสถิติ
 4. สั่งให้โปรแกรมคานวณผล
 5. แปลความหมายของผลลัพธ์ที่ได้
การตั้งสมมติฐาน
 T-test (2-tailed)
H0 : pH = 5.5
H1 : pH  5.5
=5.5
เขตยอมรับว่า
H0 เป็นจริง
เขตปฏิเสธ H0
เขตปฏิเสธ H0
การตั้งสมมติฐาน
 T-test (1-tailed Right)
H0 : pH  5.5
H1 : pH > 5.5
=5.5
เขตยอมรับว่า
H0 เป็นจริง
เขตปฏิเสธ H0
การตั้งสมมติฐาน
 T-test (1-tailed Left)
H0 : µ of pH  5.5
H1 : µ of pH < 5.5
=5.5
เขตยอมรับว่า
H0 เป็นจริง
เขตปฏิเสธ H0
pH
of
x
ระดับนัยสาคัญ
Level of Significance: 
 หมายถึง ค่าความน่าจะเป็น หรือ โอกาสที่สมมติฐาน H0 ที่ตั้งไว้จะถูก
ปฏิเสธทั้งๆ ที่สมมติฐานนั้นเป็นจริง (ความน่าจะเป็นที่จะตัดสินใจ
ผิดพลาด อันเนื่องมาจากการนาหลักฐานที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง มาช่วย
ในการบ่งบอกคุณลักษณะของประชากร)
  ก็คือพื้นที่ใต้โค้งปกติ ที่เป็นเขตปฏิเสธ H0
กรณี 2-tailed
=0.10
เขตปฏิเสธ H0 เขตปฏิเสธ H0
เขตปฏิเสธ H0 เขตปฏิเสธ H0
=5.5
เขตปฏิเสธ H0
=0.05
=0.01
ttable
ttable
ttable
ttable
เขตปฏิเสธ H0
กรณี 1-tailed Right
=0.10 เขตปฏิเสธ H0
เขตปฏิเสธ H0
=5.5
เขตปฏิเสธ H0
=0.05
=0.01
ttable
ttable = 1.64
Ttable ช
กรณี 1-tailed Left
=0.10 เขตปฏิเสธ H0
เขตปฏิเสธ H0
=5.5
เขตปฏิเสธ H0
=0.05
=0.01
ttable
ttable
ttable
ตัวอย่าง. กระบวนการบาบัดน้าเสียมีประสิทธิภาพหรือไม่
 ทดลอง น้า วัดค่า BOD ก่อนบาบัด กับหลังบาบัด
 ถ้ามีประสิทธิภาพ ค่า BOD หลังบาบัดจะมีค่าต่ากว่าก่อนบาบัด
 ตั้งสมมติฐาน 2 ประโยคที่มีความหมายแย้งกัน ดังนี้
 H0:.......................ไม่ต่ากว่า ≥............................( ........ไม่มีประสิทธิภาพ)
 H1: BOD หลังบาบัด ต่ากว่า< BOD ก่อนบาบัด (ระบบมีประสิทธิภาพ)
กระบวนการบาบัดน้าเสียมีประสิทธิภาพหรือไม่ (ต่อ)
 H0: BOD หลังบาบัด ≥ (ไม่ต่ากว่า) BOD ก่อนบาบัด
 หรือ BOD หลังบาบัด – BOD ก่อนบาบัด ≥ 0
 H1: BOD หลังบาบัด < (ต่ากว่า) BOD ก่อนบาบัด
 หรือ BOD หลังบาบัด – BOD ก่อนบาบัด < 0
เขตปฏิเสธ H0
µหลัง -µก่อน =0
สูตรคานวณค่า t เพื่อนาไปเปรียบเทียบกับ ttable
n
S
x
t 0



ถ้าค่าเฉลี่ยจากตัวอย่าง > ค่าที่ตั้งไว้ในสมมติฐาน จะได้ t เป็น +
ถ้าค่าเฉลี่ยจากตัวอย่าง < ค่าที่ตั้งไว้ในสมมติฐาน จะได้ t เป็น -
สูตรคานวณค่า t เพื่อนาไปเปรียบเทียบกับ ttable
   
2
1
2
1
2
1
1
1
n
n
S
x
x
t
p 






   
2
2
2
1
2
1
2
1
2
1
n
S
n
S
x
x
t







ใช้ในกรณีความแปรปรวนของสองกลุ่ม
ไม่แตกต่างกัน
ใช้ในกรณีความแปรปรวนของสองกลุ่มแตกต่างกัน
T-test ใช้สาหรับ...
 ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย ของประชากร1 กลุ่ม เทียบกับค่า
อ้างอิง (one sample t-test)
 ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม
(Independent sample t-test)
 กรณี ความแปรปรวน สองกลุ่ม ไม่แตกต่างกัน
 กรณี ความแปรปรวน สองกลุ่ม แตกต่างกัน
 ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย ก่อนทดลอง กับหลังทดลอง
(paired t-test)
กรณี 1-tailed Right
=0.05 เขตปฏิเสธ H0
ttable = 1.64
ถ้า tcalculated = 2.15 จะหมายความว่าอย่างไร
ถ้า tcalculated = 1.60 จะหมายความว่าอย่างไร
tcalculated = 1.620
P-value
 P-value คือค่าความน่าจะเป็น (พื้นที่ใต้โค้งปกติ) ทางปลายหาง โดย
นับตั้งแต่ค่า tcalculated เป็นต้นไป
สังเกตได้ว่า ถ้า p-value < α จะอยู่ในเขตปฏิเสธ H0
ttable = 1.96
tcalculated = 1.11
ค่า P-value หาได้อย่างไร?
 โปรแกรม SPSS จะคานวณค่า p-value ให้ในบางวิธีการทดสอบ
ซึ่งเราสามารถนาค่า p-value นี้มาใช้เปรียบเทียบกับ  ที่เรากาหนด
ไว้ได้เลย
 แต่บางวิธีการทดสอบ โปรแกรม SPSS ไม่ได้ให้ค่า p-value แต่ให้
มาเป็นค่า Sig 2-tailed แทนซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ p-value
โดยตรง ดังนี้
 ถ้าสมมติฐานเป็นแบบ 2 tailed ค่า p-value = ค่า sig 2 tailed
 ถ้าสมมติฐานเป็นแบบ 1 tailed ค่า p-value = ค่า sig 2 tailed2
ทดสอบค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม
 ผู้หญิง ได้รับค่าจ้างเริ่มต้นโดยเฉลี่ยน้อยกว่า ผู้ชาย หรือไม่?
 H0: ผู้หญิง ได้รับค่าจ้างเริ่มต้น ≥ ผู้ชาย
 H1: ………………….<
 ระดับนัยสาคัญ 0.05
 ได้p-value = 0/2 = 0
 พบว่า p-value < ระดับนัยสาคัญ ดังนั้น สรุปได้ว่าปฏิเสธ H0 ที่
ระดับนัยสาคัญ 0.05 นั่นคือ จากข้อมูลตัวอย่าง มีหลักฐานให้เชื่อได้ว่า
ผู้หญิง ได้รับค่าจ้างเริ่มต้นโดยเฉลี่ยน้อยกว่าผู้ชาย
เงินเดือนโดยเฉลี่ย ณ ปัจจุบันของพนักงาน สูงขึ้นจาก
เงินเดือนเมื่อตอนเริ่มต้นทางานหรือไม่
 H0: เงินเดือนปัจจุบัน ≤ เงินเดือนเริ่มต้น
 H1: เงินเดือนปัจจุบัน > เงินเดือนเริ่มต้น
 กาหนดระดับนัยสาคัญ 0.05
 เลือกใช้paired t-test
 สั่งโปรแกรมคานวณ ได้ค่า sig 2-tailed = 0.000
 แต่เราทดสอบแบบ one-taile ดังนั้น p-value = 0.000 / 2
 0.000 < 0.05 ดังนั้น ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
สรุปว่า จากข้อมูลตัวอย่าง มีหลักฐานเพียงพอที่ทาให้เชื่อได้ว่า เงินเดือนโดยเฉลี่ย ณ
ปัจจุบัน สูงขึ้นจากเมื่อตอนเริ่มต้นทางาน
ลองทาดู
 1. ผู้ชายกับผู้หญิง มีการศึกษา(จานวนปีที่เรียน) พอๆกันหรือไม่
 H0……H1……..α=0.01……ใช้สถิติทดสอบอะไร ..........ได้
ค่า p-value เท่าไร....... คุณตัดสินใจปฏิเสธหรือยอมรับ H0
 2. ผู้หญิง มีการศึกษา(จานวนปีที่เรียน) โดยเฉลี่ย เกิน 12 ปี หรือไม่
 H0 <= 12……H1…>12…..α=0.01……ใช้สถิติ
ทดสอบอะไร ..........ได้ค่า p-value เท่าไร..= 0.0099...< 0.0100..
คุณตัดสินใจปฏิเสธH0 สรุปได้ว่า ผู้หญิงมีการศึกษาโดยเฉลี่ย สูงกว่า 12 ปี
ข้อควรระวังในการแปลผล t-test
 การอ่านค่า p-value เป็นค่าหนึ่งที่ใช้ประกอบการตัดสินใจปฏิเสธ
หรือยอมรับ H0
 แต่ทั้งนี้ต้องดูค่า t ที่คานวณได้ด้วย
 ถ้าค่า t เป็น + หมายถึงค่าเฉลี่ยตัวอย่าง มากกว่า ค่าที่อ้างอิงใน H0
 ถ้าค่า t เป็น – หมายถึง ค่าเฉลี่ยตัวอย่าง น้อยกว่า ค่าที่อ้างอิงใน H0
 ดังนั้น ก่อนที่จะดูค่า p-value ต้องดูเครื่องหมายของ t ก่อน ว่าสื่อ
ความหมายสอดคล้องกับสมมติฐานที่เราจะทดสอบหรือไม่ ทั้งนี้เพื่อการ
สรุปผลที่สมเหตุสมผล
การทดสอบด้วย ANOVA
 H0: ค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มที่ 1 = กลุ่มที่ 2= กลุ่มที่ 3 =
……
 H1: ค่าเฉลี่ยของประชากร อย่างน้อยหนึ่งกลุ่ม แตกต่างไปจากกลุ่ม
อื่น ซึ่ง H1 จะไม่เขียนว่า กลุ่มที่ 1≠ กลุ่ม 2 ≠ กลุ่ม 3 ≠ ......
เพราะว่าจะมีความหมายผิดเพี้ยนไป
 การสรุปผล เปรียบเทียบค่า p-value กับ ระดับนัยสาคัญที่กาหนด
เช่นเดียวกันกับที่ทราบมาแล้ว
 ถ้าสรุปว่า ยอมรับ H0 ถือว่าการทดสอบนั้นได้ข้อสรุปเรียบร้อยแล้ว
 แต่ถ้าสรุปว่า ปฏิเสธ H0 เราต้องทดสอบอีกขั้นหนึ่งเพื่อดูว่า ค่าเฉลี่ย
ของกลุ่มใด แตกต่างจากกลุ่มใดบ้าง ด้วยคาสั่งPosthoc
ในระหว่าง 3 กลุ่มงาน เงินเดือนเริ่มต้นต่างกันหรือไม่
 H0:เงินเดือนเริ่มต้นโดยเฉลี่ย ของกลุ่มงานที่ 1 = กลุ่ม 2 = กลุ่ม 3
 H1: อย่างน้อยหนึ่งกลุ่มงาน มีเงินเดือนเริ่มต้น แตกต่างไปจากกลุ่มอื่น
 กาหนดระดับนัยสาคัญ 0.05
 เลือกใช้ANOVA
 P-value = 0.000
 ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 สรุปได้ว่า มีอย่างน้อย 1 กลุ่มงาน ที่
เงินเดือนเริ่มต้นแตกต่างไปจากกลุ่มอื่น ดังนั้นเราจะสั่งคาสั่งให้
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ โดยคาสั่ง Post Hoc
 จากการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่โดยPost Hoc จะได้ว่า
manager มีค่าเฉลี่ยของเงินเดือนเริ่มต้น แตกต่างไปจาก
Custodial และกลุ่ม Clerical อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05
 โดยพบว่า manager มีเงินเดือนเริ่มต้นสูงกว่าอีกสองกลุ่ม
enslw@mahidol.ac.th

More Related Content

Similar to statistic_research.ppt

สถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายสถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายpattya0207
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติpattya0207
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณtanongsak
 
สมมุติฐาน
สมมุติฐานสมมุติฐาน
สมมุติฐานguest16840
 
01 test&survey th
01 test&survey th01 test&survey th
01 test&survey thpingkung
 
T test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียวT test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียวBanbatu Mittraphap
 
ดอกไม้ประจำวันเกิด
ดอกไม้ประจำวันเกิดดอกไม้ประจำวันเกิด
ดอกไม้ประจำวันเกิดguestaecfb
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติguestaecfb
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติguestaecfb
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติguestaecfb
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
Spc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiSpc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiKrissana Manoping
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysisSani Satjachaliao
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์othanatoso
 

Similar to statistic_research.ppt (20)

สถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายสถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยาย
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
สมมุติฐาน
สมมุติฐานสมมุติฐาน
สมมุติฐาน
 
01 test&survey th
01 test&survey th01 test&survey th
01 test&survey th
 
T test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียวT test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียว
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
ดอกไม้ประจำวันเกิด
ดอกไม้ประจำวันเกิดดอกไม้ประจำวันเกิด
ดอกไม้ประจำวันเกิด
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
Spc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiSpc basic for training in thai
Spc basic for training in thai
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
Statistics 04
Statistics 04Statistics 04
Statistics 04
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
Chi square
Chi squareChi square
Chi square
 

statistic_research.ppt

  • 2. สถิติกับการวิจัย  คิดว่ามีอะไรบ้างในเรื่องใกล้ตัว?  ทาไมต้องใช้สถิติ?  ทุกเรื่องหรือไม่ที่ต้องใช้สถิติ? ในการวิจัยแต่ละประเด็น มีการใช้สถิติที่มีความลึกซึ้งมากน้อยแตกต่างกัน
  • 3. วิธีการทางสถิติ  Descriptive statistics (สถิติเชิงพรรณา)  ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จานวน ร้อยละ สัดส่วน ที่ ประมวลผลได้มาจากกลุ่มตัวอย่าง  Inferential statistics (สถิติเชิงอ้างอิง-สถิติเชิง อนุมาน)  การประมาณค่า เช่น การประมาณค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ให้กับประชากร  การทดสอบสมมติฐาน
  • 4. วิธีการทางสถิติ  Descriptive Statistics กับ Inferential Statistics มีความลึกซึ้งที่แตกต่างกัน สามารถใช้ใน การอธิบายเสริมกัน  เครื่องมืออานวยความสะดวกทางด้านสถิติ เช่น SPSS, Excel, STATA,…  ข้อมูลที่บันทึกลงในโปรแกรม มีการบันทึกเป็นตัวเลข ซึ่ง มีความหมายในตัวของมัน
  • 5. ที่มาของข้อมูล  Primary Data (ข้อมูลปฐมภูมิ)  Secondary Data (ข้อมูลทุติยภูมิ)
  • 6. มาตรวัดของข้อมูล  ถึงแม้ว่าข้อมูลจะถูกบันทึกไว้เป็นตัวเลข เพื่อให้เอื้อต่อ การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ แต่ในขณะที่วิเคราะห์ หรือนาเสนอข้อมูล ต้องคานึงถึงความหมายของตัวเลข นั้นๆอยู่เสมอ  แบบสอบถามแต่ละชุด แต่ละข้อคาถามนั้นมีมาตรวัดที่ แตกต่างกัน ดังนั้น การนาเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูลก็ย่อมมีความแตกต่างกันไปด้วย
  • 8. Nominal Scale จังหวัด (1: กทม. 2:นนทบุรี 3:สมุทรปราการ,…) การเดินทางโดยรถยนต์ส่วนบุคคล (1: yes 0: no) ชนิดพันธุ์พืชที่เพาะปลูก (1:ข้าว 2:สัปปะรด ……) หมายเลขโทรศัพท์(081-7777777,…..)
  • 9. Ordinal Scale ระดับการมีส่วนร่วมกับชุมชน (3:มาก 2:ปานกลาง 1:น้อย) ระดับรายได้/หนี้สิน (ไม่ถึง 5,000 / 5,001-10,000 / 10,001-20,000 / 20,000 บาทขึ้นไป) ช่วงคะแนนพฤติกรรม (0/ 1-3/ 4-7/ 8-10 คะแนน) ระดับการศึกษา (0: ไม่ได้เรียน 1:ประถม 2:มัธยม 3:ป.ตรีหรือสูงกว่า)
  • 10. Interval Scale ปี พ.ศ./ค.ศ. 1000, 2000, 2001, 2002,…., 2007,… อุณหภูมิ 0C 100 C 200 F คะแนนพฤติกรรม (0,1,2,…,10, ..,20,… คะแนน)
  • 11. Ratio Scale รายได้/หนี้สิน 5,000 บาท 10,000 บาท 198 บาท จานวนปีที่ศึกษา 0,1,2,3,…,16,17,….ปี
  • 12. Descriptive Statistics  การนาเสนอเป็นตาราง และกราฟ แสดงจานวน และร้อยละ  การสรุปข้อมูลเบื้องต้น โดยค่ากลาง และการกระจาย  ค่าเฉลี่ยเลขคณิต / ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน / ค่าความแปรปรวน/ สัมประสิทธิ์ความแปรผัน  มัธยฐาน  ฐานนิยม
  • 13. Inferential Statistics  Sample & Population  การประมาณค่า  การทดสอบสมมติฐาน หรือ การทดสอบความมีนัยสาคัญ  การแปลผลจากการทดสอบสมมติฐาน ต้องตั้งสมมติฐานทางสถิติก่อน ซึ่งต้องสอดคล้องกับการทบทวนวรรณกรรม และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
  • 14. การเก็บรวบรวมข้อมูล  การสัมภาษณ์ (แบบตัวต่อตัว หรือโดยโทรศัพท์)  การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์  การชั่ง วัด นับ  การสังเกต
  • 16. Simple Random Sampling วิธีนี้เหมาะสาหรับกรณีที่หน่วยต่างๆในประชากรมี ลักษณะแตกต่างกันไม่มาก  มีวิธีการดังนี้ การจับฉลาก ใช้ได้ดีเมื่อมีประชากรไม่มากนัก การใช้ตาราง Random number ใช้ได้ดีเมื่อมีประชากรมากๆ
  • 17. Systematic Sampling  ถ้าในกรณีที่ข้อมูลในประชากรมีลักษณะการเรียงลาดับเป็น ลูกคลื่นต่อเนื่องกัน ไม่ควรใช้การเลือกตัวอย่างด้วยวิธีนี้ เพราะอาจจะทาให้ได้ตัวอย่างที่มีลักษณะเหมือนกันมาเป็น ตัวแทน ทาให้ได้ตัวอย่างมาไม่ครบทุกลักษณะ จึงเป็นตัว แทนที่ไม่ดี
  • 18. Systematic Sampling  มีวิธีการดังนี้ กาหนดขนาดตัวอย่าง n หาค่าช่วงกว้างของการสุ่มตัวอย่าง sampling interval ให้เลขที่แก่ทุกหน่วยในประชากร เลือกเลขสุ่ม R ให้มีค่าไม่เกิน i หลังจากนั้นจะได้ว่าหน่วยตัวอย่าง ได้แก่หน่วยที่มีหมายเลข R, R+i, R+2i, … จนครบจานวนที่ ต้องการ n N i 
  • 19. Stratified Sampling ประชากรจะถูกแบ่งออกเป็น Stratum ตามลักษณะอย่าง ใดอย่างหนึ่ง ภายในชั้นภูมิเดียวกันประกอบไปด้วยหน่วยที่มี ลักษณะคล้ายคลึงกันมากที่สุด และมีความแตกต่างระหว่าง ชั้นภูมิมากที่สุด การกาหนดขนาดตัวอย่างในแต่ละชั้นภูมิ ทาได้3 ลักษณะ
  • 20. Stratified Sampling  ขนาดตัวอย่างเท่ากันในทุกชั้นภูมิ  ขนาดตัวอย่างเป็นสัดส่วนกับจานวนประชากร  ขนาดตัวอย่างไม่เป็นสัดส่วนกับจานวน ประชากร n N N n i i   n N N n all i i i i i   i  
  • 21. Cluster Sampling  แบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มย่อย โดยภายในแต่ละกลุ่ม ย่อยประกอบด้วยหน่วยที่มีลักษณะต่างๆกัน เหมือนกับ ส่วนประกอบในประชากร เพื่อทาให้การเลือกกลุ่มย่อย เพียงบางกลุ่มสามารถใช้เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร  การเลือกตัวอย่างแบบกลุ่มสามารถทาได้หลายขั้นตอน  two-stage cluster sampling  three-stage cluster sampling  multi-stage cluster sampling
  • 22. การกาหนดขนาดตัวอย่าง  ขนาดตัวอย่างจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ  ความแปรปรวนของประชากร  ความถูกต้องของการประมาณค่าที่ผู้วิจัยต้องการ  ความเชื่อมั่นในการประมาณค่า  ค่าพารามิเตอร์ที่ต้องการประมาณ ส่วนใหญ่จะเป็น ค่าเฉลี่ย ยอดรวม และค่าสัดส่วน
  • 23. ขนาดตัวอย่างสาหรับประมาณค่าเฉลี่ย  .  เมื่อรู้ขนาดประชากร  กรณีที่ประชากรขนาดใหญ่มากๆ ทั้งสองสูตร จะให้ จานวนตัวอย่างใกล้เคียงกัน  d = ความผิดพลาดที่ผู้วิจัยยอมรับได้  S = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน  Z = ค่าที่ได้จากตาราง Normal Distribution เป็นตัวที่แสดงให้ทราบ ถึงความเชื่อมั่นของการประมาณค่า เช่น ถ้าต้องการความเชื่อมั่น 95% จะมี ค่า Z=1.96 2 2 2 d S Z n  2 2 2 2 2 S Z Nd S NZ n  
  • 24. ขนาดตัวอย่างสาหรับประมาณค่าสัดส่วน  p = สัดส่วนหรือความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ที่สนใจ  q = 1-p = สัดส่วนของการไม่เกิดเหตุการณ์ที่สนใจ 2 2 d pq Z n  pq Z Nd pq NZ n 2 2 2  
  • 25. ขนาดตัวอย่างสาหรับประมาณยอดรวม  d = ความแตกต่างที่ยอมรับได้ระหว่างยอดรวมจริง และยอดรวมจาก การประมาณ 2 2 2 2 2 2 S NZ d S Z N n  
  • 26. การทดสอบสมมติฐาน  คือขบวนการที่ใช้หลักฐานจากตัวอย่าง และทฤษฎีความน่าจะเป็น เข้ามา ช่วยในการตัดสินใจว่าข้อความในสมมติฐาน H0 นั้นมีเหตุผลพอที่จะ เชื่อถือหรือไม่  ในการยอมรับสมมติฐาน H0 ที่ตั้งไว้นั้น ไม่ได้หมายความว่าข้อความ ในสมมติฐานเป็นจริงแน่นอน เพียงแต่จากตัวอย่างที่มีอยู่นั้นเราไม่มี หลักฐานพอที่จะเชื่อได้ว่าเป็นอย่างอื่นเท่านั้น
  • 27. 5 ขั้นตอน ของการทดสอบสมมติฐาน  1. ตั้งสมมติฐานการวิจัย  2. กาหนดค่าระดับนัยสาคัญที่ต้องการใช้เพื่อการทดสอบ  3. เลือกวิธีการทดสอบทางสถิติ  4. สั่งให้โปรแกรมคานวณผล  5. แปลความหมายของผลลัพธ์ที่ได้
  • 28. การตั้งสมมติฐาน  T-test (2-tailed) H0 : pH = 5.5 H1 : pH  5.5 =5.5 เขตยอมรับว่า H0 เป็นจริง เขตปฏิเสธ H0 เขตปฏิเสธ H0
  • 29. การตั้งสมมติฐาน  T-test (1-tailed Right) H0 : pH  5.5 H1 : pH > 5.5 =5.5 เขตยอมรับว่า H0 เป็นจริง เขตปฏิเสธ H0
  • 30. การตั้งสมมติฐาน  T-test (1-tailed Left) H0 : µ of pH  5.5 H1 : µ of pH < 5.5 =5.5 เขตยอมรับว่า H0 เป็นจริง เขตปฏิเสธ H0 pH of x
  • 31. ระดับนัยสาคัญ Level of Significance:   หมายถึง ค่าความน่าจะเป็น หรือ โอกาสที่สมมติฐาน H0 ที่ตั้งไว้จะถูก ปฏิเสธทั้งๆ ที่สมมติฐานนั้นเป็นจริง (ความน่าจะเป็นที่จะตัดสินใจ ผิดพลาด อันเนื่องมาจากการนาหลักฐานที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง มาช่วย ในการบ่งบอกคุณลักษณะของประชากร)   ก็คือพื้นที่ใต้โค้งปกติ ที่เป็นเขตปฏิเสธ H0
  • 32. กรณี 2-tailed =0.10 เขตปฏิเสธ H0 เขตปฏิเสธ H0 เขตปฏิเสธ H0 เขตปฏิเสธ H0 =5.5 เขตปฏิเสธ H0 =0.05 =0.01 ttable ttable ttable ttable เขตปฏิเสธ H0
  • 33. กรณี 1-tailed Right =0.10 เขตปฏิเสธ H0 เขตปฏิเสธ H0 =5.5 เขตปฏิเสธ H0 =0.05 =0.01 ttable ttable = 1.64 Ttable ช
  • 34. กรณี 1-tailed Left =0.10 เขตปฏิเสธ H0 เขตปฏิเสธ H0 =5.5 เขตปฏิเสธ H0 =0.05 =0.01 ttable ttable ttable
  • 35. ตัวอย่าง. กระบวนการบาบัดน้าเสียมีประสิทธิภาพหรือไม่  ทดลอง น้า วัดค่า BOD ก่อนบาบัด กับหลังบาบัด  ถ้ามีประสิทธิภาพ ค่า BOD หลังบาบัดจะมีค่าต่ากว่าก่อนบาบัด  ตั้งสมมติฐาน 2 ประโยคที่มีความหมายแย้งกัน ดังนี้  H0:.......................ไม่ต่ากว่า ≥............................( ........ไม่มีประสิทธิภาพ)  H1: BOD หลังบาบัด ต่ากว่า< BOD ก่อนบาบัด (ระบบมีประสิทธิภาพ)
  • 36. กระบวนการบาบัดน้าเสียมีประสิทธิภาพหรือไม่ (ต่อ)  H0: BOD หลังบาบัด ≥ (ไม่ต่ากว่า) BOD ก่อนบาบัด  หรือ BOD หลังบาบัด – BOD ก่อนบาบัด ≥ 0  H1: BOD หลังบาบัด < (ต่ากว่า) BOD ก่อนบาบัด  หรือ BOD หลังบาบัด – BOD ก่อนบาบัด < 0 เขตปฏิเสธ H0 µหลัง -µก่อน =0
  • 37. สูตรคานวณค่า t เพื่อนาไปเปรียบเทียบกับ ttable n S x t 0    ถ้าค่าเฉลี่ยจากตัวอย่าง > ค่าที่ตั้งไว้ในสมมติฐาน จะได้ t เป็น + ถ้าค่าเฉลี่ยจากตัวอย่าง < ค่าที่ตั้งไว้ในสมมติฐาน จะได้ t เป็น -
  • 38. สูตรคานวณค่า t เพื่อนาไปเปรียบเทียบกับ ttable     2 1 2 1 2 1 1 1 n n S x x t p            2 2 2 1 2 1 2 1 2 1 n S n S x x t        ใช้ในกรณีความแปรปรวนของสองกลุ่ม ไม่แตกต่างกัน ใช้ในกรณีความแปรปรวนของสองกลุ่มแตกต่างกัน
  • 39. T-test ใช้สาหรับ...  ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย ของประชากร1 กลุ่ม เทียบกับค่า อ้างอิง (one sample t-test)  ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม (Independent sample t-test)  กรณี ความแปรปรวน สองกลุ่ม ไม่แตกต่างกัน  กรณี ความแปรปรวน สองกลุ่ม แตกต่างกัน  ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย ก่อนทดลอง กับหลังทดลอง (paired t-test)
  • 40. กรณี 1-tailed Right =0.05 เขตปฏิเสธ H0 ttable = 1.64 ถ้า tcalculated = 2.15 จะหมายความว่าอย่างไร ถ้า tcalculated = 1.60 จะหมายความว่าอย่างไร tcalculated = 1.620
  • 41. P-value  P-value คือค่าความน่าจะเป็น (พื้นที่ใต้โค้งปกติ) ทางปลายหาง โดย นับตั้งแต่ค่า tcalculated เป็นต้นไป สังเกตได้ว่า ถ้า p-value < α จะอยู่ในเขตปฏิเสธ H0 ttable = 1.96 tcalculated = 1.11
  • 42. ค่า P-value หาได้อย่างไร?  โปรแกรม SPSS จะคานวณค่า p-value ให้ในบางวิธีการทดสอบ ซึ่งเราสามารถนาค่า p-value นี้มาใช้เปรียบเทียบกับ  ที่เรากาหนด ไว้ได้เลย  แต่บางวิธีการทดสอบ โปรแกรม SPSS ไม่ได้ให้ค่า p-value แต่ให้ มาเป็นค่า Sig 2-tailed แทนซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ p-value โดยตรง ดังนี้  ถ้าสมมติฐานเป็นแบบ 2 tailed ค่า p-value = ค่า sig 2 tailed  ถ้าสมมติฐานเป็นแบบ 1 tailed ค่า p-value = ค่า sig 2 tailed2
  • 43. ทดสอบค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม  ผู้หญิง ได้รับค่าจ้างเริ่มต้นโดยเฉลี่ยน้อยกว่า ผู้ชาย หรือไม่?  H0: ผู้หญิง ได้รับค่าจ้างเริ่มต้น ≥ ผู้ชาย  H1: ………………….<  ระดับนัยสาคัญ 0.05  ได้p-value = 0/2 = 0  พบว่า p-value < ระดับนัยสาคัญ ดังนั้น สรุปได้ว่าปฏิเสธ H0 ที่ ระดับนัยสาคัญ 0.05 นั่นคือ จากข้อมูลตัวอย่าง มีหลักฐานให้เชื่อได้ว่า ผู้หญิง ได้รับค่าจ้างเริ่มต้นโดยเฉลี่ยน้อยกว่าผู้ชาย
  • 44. เงินเดือนโดยเฉลี่ย ณ ปัจจุบันของพนักงาน สูงขึ้นจาก เงินเดือนเมื่อตอนเริ่มต้นทางานหรือไม่  H0: เงินเดือนปัจจุบัน ≤ เงินเดือนเริ่มต้น  H1: เงินเดือนปัจจุบัน > เงินเดือนเริ่มต้น  กาหนดระดับนัยสาคัญ 0.05  เลือกใช้paired t-test  สั่งโปรแกรมคานวณ ได้ค่า sig 2-tailed = 0.000  แต่เราทดสอบแบบ one-taile ดังนั้น p-value = 0.000 / 2  0.000 < 0.05 ดังนั้น ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 สรุปว่า จากข้อมูลตัวอย่าง มีหลักฐานเพียงพอที่ทาให้เชื่อได้ว่า เงินเดือนโดยเฉลี่ย ณ ปัจจุบัน สูงขึ้นจากเมื่อตอนเริ่มต้นทางาน
  • 45. ลองทาดู  1. ผู้ชายกับผู้หญิง มีการศึกษา(จานวนปีที่เรียน) พอๆกันหรือไม่  H0……H1……..α=0.01……ใช้สถิติทดสอบอะไร ..........ได้ ค่า p-value เท่าไร....... คุณตัดสินใจปฏิเสธหรือยอมรับ H0  2. ผู้หญิง มีการศึกษา(จานวนปีที่เรียน) โดยเฉลี่ย เกิน 12 ปี หรือไม่  H0 <= 12……H1…>12…..α=0.01……ใช้สถิติ ทดสอบอะไร ..........ได้ค่า p-value เท่าไร..= 0.0099...< 0.0100.. คุณตัดสินใจปฏิเสธH0 สรุปได้ว่า ผู้หญิงมีการศึกษาโดยเฉลี่ย สูงกว่า 12 ปี
  • 46. ข้อควรระวังในการแปลผล t-test  การอ่านค่า p-value เป็นค่าหนึ่งที่ใช้ประกอบการตัดสินใจปฏิเสธ หรือยอมรับ H0  แต่ทั้งนี้ต้องดูค่า t ที่คานวณได้ด้วย  ถ้าค่า t เป็น + หมายถึงค่าเฉลี่ยตัวอย่าง มากกว่า ค่าที่อ้างอิงใน H0  ถ้าค่า t เป็น – หมายถึง ค่าเฉลี่ยตัวอย่าง น้อยกว่า ค่าที่อ้างอิงใน H0  ดังนั้น ก่อนที่จะดูค่า p-value ต้องดูเครื่องหมายของ t ก่อน ว่าสื่อ ความหมายสอดคล้องกับสมมติฐานที่เราจะทดสอบหรือไม่ ทั้งนี้เพื่อการ สรุปผลที่สมเหตุสมผล
  • 47. การทดสอบด้วย ANOVA  H0: ค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มที่ 1 = กลุ่มที่ 2= กลุ่มที่ 3 = ……  H1: ค่าเฉลี่ยของประชากร อย่างน้อยหนึ่งกลุ่ม แตกต่างไปจากกลุ่ม อื่น ซึ่ง H1 จะไม่เขียนว่า กลุ่มที่ 1≠ กลุ่ม 2 ≠ กลุ่ม 3 ≠ ...... เพราะว่าจะมีความหมายผิดเพี้ยนไป  การสรุปผล เปรียบเทียบค่า p-value กับ ระดับนัยสาคัญที่กาหนด เช่นเดียวกันกับที่ทราบมาแล้ว  ถ้าสรุปว่า ยอมรับ H0 ถือว่าการทดสอบนั้นได้ข้อสรุปเรียบร้อยแล้ว  แต่ถ้าสรุปว่า ปฏิเสธ H0 เราต้องทดสอบอีกขั้นหนึ่งเพื่อดูว่า ค่าเฉลี่ย ของกลุ่มใด แตกต่างจากกลุ่มใดบ้าง ด้วยคาสั่งPosthoc
  • 48. ในระหว่าง 3 กลุ่มงาน เงินเดือนเริ่มต้นต่างกันหรือไม่  H0:เงินเดือนเริ่มต้นโดยเฉลี่ย ของกลุ่มงานที่ 1 = กลุ่ม 2 = กลุ่ม 3  H1: อย่างน้อยหนึ่งกลุ่มงาน มีเงินเดือนเริ่มต้น แตกต่างไปจากกลุ่มอื่น  กาหนดระดับนัยสาคัญ 0.05  เลือกใช้ANOVA  P-value = 0.000  ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 สรุปได้ว่า มีอย่างน้อย 1 กลุ่มงาน ที่ เงินเดือนเริ่มต้นแตกต่างไปจากกลุ่มอื่น ดังนั้นเราจะสั่งคาสั่งให้ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ โดยคาสั่ง Post Hoc
  • 49.  จากการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่โดยPost Hoc จะได้ว่า manager มีค่าเฉลี่ยของเงินเดือนเริ่มต้น แตกต่างไปจาก Custodial และกลุ่ม Clerical อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05  โดยพบว่า manager มีเงินเดือนเริ่มต้นสูงกว่าอีกสองกลุ่ม