SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
1
จ า ก แ บ บ ส อ บ ถ า ม
สามารถจัดประเภทข้อมูลโดยแบ่งตามสากลของการวัดข้อมูลเพื่อนาไปวิเคราะห์กับเครื่องมือต่างๆ
ซึ่งสามารถแบ่งได้ดังนี้
1.มาตรวัดนามบัญญัติ (Nominal Scale)
ลั ก ษ ณ ะ เ ด่ น ข อ ง ม า ต ร า นี้ คื อ
เป็นตัวแปรที่ถูกจัดเป็นกลุ่มๆโดยที่ตัวแปรนี้ไม่สามารถจัดลาดับก่อนหรือหลังบอกระยะห่างกันได้ เช่น
เพ ศ แบ่ง ได้เป็ น 2 ก ลุ่ม เพ ศ ช าย เพ ศห ญิ ง คุณ ส มบัติที่ ส าคัญ ขอ ง มาต รานี้ ก็คื อ
ตั ว เ ล ข ที่ ก า ห น ด ใ ห้ เ พี ย ง ชี้ ถึ ง ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง คื อ
ชี้ว่าไม่ใช้สิ่งเดียวกันไม่ได้แทนอันดับขนาดปริมาณหรือคุณภาพใดๆซึ่งตัวเลขหรือค่าต่างๆที่กาหนดให้นั้
นนามา บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้
จากแบบสอบถามข้างต้นหลักการจัดนามบัญญัติ ประกอบด้วยเพศชาย ให้แทนด้วยเลข 0
และเพสหญิงให้แทนด้วยเลข1 สถาน ภาพโสดให้แทนด้วยเลข 1 สมรสให้แทน ด้วยเลข 2
ห ม้าย/ห ย่าร้าง ใ ห้ แท น ด้วยเล ข 3 อ าชี พ นั ก เรี ยน /นั กศึ กษ าใ ห้ แท น ด้วยเล ข 1
รับราชการ/รัฐวิสาหกิจให้แทนด้วยเลข2 พนักงานเอกชนให้แทนด้วยเลข3 ค้าขายให้แทนด้วยเลข 4
เกษตรกรให้แทนด้วยเลข5 ทราบเรื่องการจัดงาน วิทยุให้แทนด้วยเลข1 หนังสือพิมพ์ให้แทนด้วยเลข 2
สื่อออน ไลน์ ให้แทน ด้วยเลข 3 โทรทัศน์ ให้ แทน ด้วยเลข 4 เพื่ อน ให้แทน ด้วยเลข 5
จุดประสงค์ที่เดินทางมาเที่ยวให้แทนด้วยเลข 1 ส่งน้าพระให้แทนด้วยเลข 2มาทาบุญให้แทนด้วยเลข 3
ช่วงเวลากลางวันให้แทนด้วยเลข 1 ช่วงเวลากลางคืนให้แทนด้วยเลข 2 ช่วงเย็นให้แทนด้วยเลข 3
ทั้งวันทั้งคืนให้แทนด้วยเลข4 ค่าใช้จ่ายค่าพาหนะให้แทนด้วยเลข1 ค่าที่พักให้แทนด้วยเลข 2
ค่าอาหารให้แทนด้วยเลข 3ค่าทาบุญให้แทนด้วยเลข 4
2.มาตรวัดจัดอันดับ (Ordinal Scale)
เป็นระดับที่ใช้สาหรับจัดอันดับที่ หรือตาแหน่งของสิ่งของที่ต้องการวัด โดยตัวเลข 1,2,3
เป็นระดับตัวเลขในระดับที่ ซึ่งสามารถนามา บวก ลบ กันได้
จากตารางข้างต้น ไม่มีมาตรวัดจัดอันดับ
3.มาตรวัดช่วง (IntervalScale)
เ ป็ น ข้ อ มู ล ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ จ า แ น ก ก ลุ่ ม
เรียงลาดับและแบ่งเป็นช่วงโดยแต่ละช่วงมีขนาดเท่ากับศูนย์ของข้อมูลประเภทนี้เป็นศูนย์สมบัติ
ไม่มีศูนย์แท้ ข้อมูลประเภทนี้สามารถนามา บก ลบ หาร กันได้
จากแบบสอบถามข้างต้นหลักการวัดแบบระดับช่วงแบ่งได้เป็นความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด
ให้แทนด้วยเลข 1 ระดับความพึงพอใจน้อย ให้แทนด้วยเลข 2ระดับความพึงพอใจปานกลาง
2
ให้แทนด้วยเลข 3 ระดับความพึงพอใจมาก ให้แทนด้วยเลข 4และระดับความพึงพอใจมากที่สุด
ให้แทนด้วยเลข 5
4.มาตรวัดอัตราส่วน (Ratio Scale)
เป็นข้อมูลที่มีลักษณะจาแนกกลุ่มเรียงอันดับแบ่งช่วงเท่าๆกันและมีศูนย์แท้
สามารถเปรียบเทียบได้ในเชิงอัตราส่วนได้
การวัดระดับนี้มีความสมบูรณ์ทุกประการจึงสามารถนามาจัดทา ตามหลักคณิตศาสตร์ได้ทุกประการ เช่น
บวก ลบ คูณ หาร ถอดราก และยกกาลัง
จากแบบสอบถามข้างต้นหลักการวัดระดับอัตราส่วนประกอบไปด้วย
รายได้ต่อเดือนและค่าใช้จ่ายที่เดินทางมาร่วมงาน (บาท)
ตารางที่ 1 ลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างของการเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อาเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ข้อมูลพื้นฐาน จานวน ร้อยละ
เพศ
หญิง
ชาย
48.00
52.00
48.00
52.00
ช่วงอายุ
13-25ปี
26-38ปี
30-51ปี
52-64ปี
65-75ปี
56.00
30.00
9.00
4.00
1.00
56.00
30.00
9.00
4.00
1.00
สถานภาพ
โสด
สมรส
หม้าย/หย่าร้าง
65.00
34.00
1.00
65.00
34.00
1.00
3
ที่มา: จากการคานวณ
ตารางที่1 (ต่อ)
ข้อมูลพื้นฐาน จานวน ร้อยละ
ช่วงรายได้
0-12000
12001-24000
24001-36000
36001-48000
48001-60000
63.00
20.00
13.00
1.00
3.00
63.00
20.00
13.00
1.00
3.00
ท่านทราบเรื่องการจัดงาน
วิทยุ
หนังสือพิมพ์
สื่อออนไลน์
โทรทัศน์
เพื่อน
18.00
6.00
42.00
5.00
29.00
18.00
6.00
42.00
5.00
29.00
อาชีพ
นักเรียน
รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ
พนักงานเอกชน
ค้าขาย
เกษตรกร
51.00
7.00
12.00
13.00
17.00
51.00
7.00
12.00
13.00
17.00
จุดประสงค์ที่ท่านมาร่วมงาน
มาเที่ยว
ส่งน้าพระ
มาทาบุญ
39.00
8.00
53.00
39.00
8.00
53.00
ช่วงเวลาที่ท่านมาร่วมงาน
ช่วงเวลากลางวัน
ช่วงเย็น
ช่วงเวลากลางคืน
ทั้งกลางวันทั้งกลางคืน
6.00
22.00
68.00
4.00
6.00
22.00
68.00
4.00
4
ตารางที่1 (ต่อ)
ที่มา: จากการคานวณ
จากตารางผลการศึกษาลักษณะประชากรของกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวที่ใช้เส้นทางการท่องเที่ยว
พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย 52 คนคิดเป็ นร้อยละ 52 คนและเพศหญิง 48 คนคิดเป็นร้อยละ 48
อายุอยู่ในช่วง 13-25 ปีจานวน 56 คนคิดเป็นร้อยละ 56 รองลงมาอยู่ในช่วงอายุ 26-38 ปีจานวน 30
คน คิ ด เป็ น ร้อ ยล ะ 3 0 โ ด ยมีส ถ าน ภ าพ โ ส ด จาน วน 6 5 ค น คิ ด เป็ น ร้อ ยล ะ 6 5
มีประกอบอาชีพเป็นนักเรียน/นักศึกษาจานวน 51คนคิดเป็นร้อยละ 51 มีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 0-
12000 บาทต่อเดือนจานวน 63คนคิดเป็นร้อยละ 63โดยทราบเรื่องการจัดงานจากสื่อออนไลน์จานวน 42
คน คิด เป็ น ร้อ ยละ 42 และ รอง ลง มาจากเพื่ อน จาน วน 29 ค น คิด เป็ น ร้อ ยละ 29
มีจุดประสง ค์ที่มาร่วมง าน พ บว่าส่วน ใ หญ่มาทาบุญ จาน วน 53 คน คิดเป็ น ร้อยละ 53
มีช่วง เวลาที่มาร่วมง าน พ บ ว่ามีช่วง เวลากลาง คืน จาน วน 68 คน คิดเป็ น ร้อยละ 68
โดยค่าใช้จ่ายที่ เดิน ทาง มาร่วมง าน พ บว่าค่าทาบุ ญจาน วน 41 คน คิ ดเป็ น ร้อยละ 41
และรองลงมาเป็นค่าอาหารจานวน 35คนคิดเป็นร้อยละ 35 และมีค่าใช้จ่ายส่วนมากจะพบที่ 50-640บาท
ค่าใช้จ่ายที่เดินทางมาร่วมงานมี
ค่าพาหนะ
ค่าอาหาร
ค่าที่พัก
ค่าทาบุญ
24.00
35.00
0.00
41.00
24.00
35.00
0.00
41.00
ที่มา: จากการคานวณ
ข้อมูลพื้นฐาน จานวน ร้อยละ
ช่วงจานวนเงิน
50-640
641-1230
1231-1820
1821-2410
2411-3000
97.00
0.00
3.00
0.00
0.00
97.00
0.00
3.00
0.00
0.00
5
ตารางที่2ความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่องการเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อาเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่องการเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับคว
ข้อมูล
ได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมงาน
ชักชวน/ชักจูงให้ผู้อื่นเข้าร่วมงาน
ได้ความรู้ต่างๆจากการดาเนินงาน
ความทันสมัยจากงาน
4.28
3.97
3.94
3.98
0.67
0.78
0.81
0.79
มา
ความพึงพอใจรวม
ด้านข้อมูล
4.04 0.62
รูปแบบ
การจัดรูปแบบงานดูเข้าใจง่าย
มีกิจกรรมที่น่าสนใจ
พื้นที่ในการจัดงานมีความเหมาะสม
มีกิจกรรมหลากหลาย
4.15
3.99
3.86
3.84
0.82
0.85
0.91
0.97
มา
ความพึงพอใจรวม
ด้านรูปแบบ
3.96 0.75
สิ่งอานวยความสะดวก
มีความปลอดภัย
สถานที่จอดรถ
การบริการสุขา
3.73
3.49
3.49
0.90
0.91
0.96
6
มีเจ้าหน้าที่อานวยความสะดวกในการเข้าร่วมงาน 3.57 0.90
ความพึงพอใจรวม
ด้านสิ่งอานวยความสะดวก
3.57 0.78
ที่มา : จากการคานวณ
จาก ต าราง ที่ 2 ผ ล การ ศึ ก ษ าค วามพึ ง พ อ ใ จที่ มีต่อ ก ารเข้าร่วมง าน เรื่ อ ง
การเข้าร่วมงาน ประ เพ ณี ชักพ ระ อาเภ อเมือง จังห วัดสุ ราษ ฎร์ธานี โดยรวมพ บว่า
ความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมงาน เรื่อง การเข้าร่วมงาน ประเพ ณีชักพ ระ อาเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานีในแต่ละด้านมีความแตกต่างกัน คือ
ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ร ว ม ด้ า น ข้ อ มู ล ใ น ก า ร จั ด ง า น อ ยู่ใ น ร ะ ดั บ ม า ก
เช่น ได้รับ ป ระ โยช น์ จาก การเข้าร่วมง าน , ชักช วน /ชักจูง ใ ห้ ผู้อื่ น เข้าร่วมง าน ,
ได้ความรู้ต่างๆจากการดาเนินงาน , ความทันสมัยจากงาน
ค วา มพึ ง พ อ ใ จร ว มด้าน รู ป แ บ บ ใ น ก ารจัด ง าน อ ยู่ใ น ระ ดับ มาก เช่น
การจัดรูปแบบงาน ดูเข้าใจง่ายมีกิจกรรมที่น่าสนใจ ,พื้น ที่ในการจัดงานมีความเหมาะสม ,
มีกิจกรรมหลากหลาย และ
ความพึงพ อใ จรวมด้าน สิ่ งอาน วยความสะดวกใน การจัดงาน อยู่ใน ระดับมาก
เ ช่ น มี ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย , ส ถ า น ที่ จ อ ด ร ถ , ก า ร บ ริ ก า ร สุ ข า ,
มีเจ้าหน้าที่อานวยความสะดวกในการเข้าร่วมงาน
ตารางที่3 ประเภท อายุรายได้ ค่าใช้จ่ายที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่องการเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หน่วย : บาทต่อคน
ป ร ะ เ ภ ท อ า ยุ ร า ย ไ ด้
ค่าใช้จ่ายที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่องการเข้าร่วมงานประเพณีชัก
พระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ค่าเฉลี่ย
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐา
น
อายุ 27.97 10.95
รายได้ต่อเดือน 11655.0
0
12321.80
ค่าใช้จ่ายที่เดินทางมาร่วมงาน 464.50 462.77
ที่มา : จากการคานวณ
จ า ก ต า ง ร า ง ที่ 3
ช่วงอายุที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่องการเข้าร่วมงานประเพณีชักพระอาเภอเมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี
7
พ บ ว่ า อ ยู่ ใ น ช่ ว ง อ า ยุ 27.97 ปี
โดยมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน11655.00บาทและมีค่าใช้จ่ายที่เดินทางมาร่วมงานเฉลี่ย464.50บาท
ตารางที่4 ผลการวิเคราะห์การทดสอบสมมติฐานของตัวอย่าง 1 กลุ่ม (เฉพาะรายได้ต่อเดือน)
ทดสอบสมติฐานว่ากลุ่ มประชากรที่เข้าร่วมงานประเพณีชักพระ
จังห วัดสุราษฎร์ธานีมีรายได้ต่อเดื อนโดยเฉลี่ยมากว่า 5,000
บาทต่อเดือน
t Df
Sig.
(2-tailed)
ช่วงความเชื่อมั่น 95%
ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด
รายได้ต่อเดือน 5.401 99 .000 4210.0877 9099.9123
ที่มา : จากการคานวณ
จ า ก ต า ร า ง ที่ 4 ข้ อ มู ล ขั้ น ต้ น
ต้องการทดสอบสมมติฐานว่ารายได้เฉลี่ยของผู้เข้าร่วมคาดว่ามีรายได้เฉลี่ยไม่เท่ากับ 5,000บาทต่อคน
ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
สามารถตั้งสมมติฐานได้
Ho : µ=5,000 ผู้เ ข้า ร่ว มง า น ป ร ะ เพ ณี ชั ก พ ร ะ อ .เ มือ ง จ .สุ ร าษ ฏ ร์ ธ า นี
มีรายได้โดยเฉลี่ยเท่ากับ5,000บาท/คน
Ha : µ≠5,000 ผู้เข้ าร่ว ม ง าน ป ร ะ เ พ ณี ชั ก พ ร ะ อ .เ มือ ง จ .สุ ร าษ ฏ ร์ ธ า นี
มีรายได้โดยเฉลี่ยไม่เท่ากับ5,000บาท/คน
ค่าสถิติที่ใช้ทดสอบมีค่าเท่ากับ 5.401 โดยมีองศาอิสระเท่ากับ 99 จากตารางค่า Sig(2-tailed)
เป็นการทดสอบสมมติฐานสอง ค่า Sig(2-tailed) เท่ากับ 0.000ซึ้งมีค่าน้อยกว่าระดับนัยสาคัญ (2-0.05)
ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานหลัก (Ho) คือ ผู้เข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อ.เมือง จ.สุราษฏร์ธานี
มีรายได้โดยเฉลี่ยไม่เท่ากับ 5,000 บาท/คน นั้นเป็นจริง
การประมาณรายได้โดยเฉลี่ยสาหรับผู้เข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อ.เมือง จ.สุราษฏร์ธานี
โดยเฉลี่ยด้วยความเชื่อมั่น 95% โดยรายได้สาหรับผู้เข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อ.เมือง จ.สุราษฏร์ธานี
โดยเฉลี่ยจะอยู่ระหว่าง
4,210.0877≤ µ-5,000 ≤9,099.9123
4,210.0877+5,000 ≤ µ≤9,099.9123+5,000
9,210.0877 ≤ µ ≤14,099.9123
8
จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบสมมติฐานและการประมาณค่า ณ ระดับวามเชื่อมั่น
95%สามารถ ส รุ ป ได้ คื อ ผู้เข้าร่วมง าน ป ระ เพ ณี ชักพ ระ อ.เมือง จ.สุ ราษ ฏ ร์ ธ านี
มีรายได้โดยเฉลี่ยไม่เท่ากับ 5,000บาท/คน สามารถประมาณรายได้สาหรับผู้เข้าร่วมงานประเพณีชักพระ
อ.เมือง จ.สุราษฏร์ธานี โดยเฉลี่ยด้วยความเชื่อมั่น 95% อยู่ใน ช่วง 9,210.0877 บาทต่อคน ถึง
14,099.9123บาทต่อคน
ตารางที่ 5จากการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการเข้าร่วมงาน ประเพณีชักพระ อาเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ปัจจัยส่วนบุคคล
ช่วงเวลาที่ท่านมาร่วมงาน
รวม 𝑥2 sigช่วงกลางวั
น
ช่วง
เย็น
ช่วง
กลางคื
น
ทั้งวันทั้งคื
น
ค่าใช้จ่ายในการมาเข้าร่วมงาน
มี
ค่าพาหนะ
ค่าอาหาร
ค่าทาบุญ
3
3.0%
3
3.0%
0
0.0%
5
5.0%
5
5.0%
12
12.0
14
14.0%
26
26.0%
28
28.0%
2
2.0%
1
1.0%
1
1.0%
24
24.0%
35
35.0%
41
41.0%
9
%
รวม
6
6.0%
22
22.0
%
68
68.0%
4
4.0%
100
100.0
%
8.50
6
0.02
3
ที่มา : จากการคานวณ
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติการทดสอบไคสแควส์ (Chisquare test)
โดยมีสมมติฐานเพื่อทดสอบดังนี้
Ho: ค่าใช้จ่ายต่างๆไม่มีความสัมพันธ์กับช่วงเวลาที่เข้าร่วมงาน
Ha:ค่าใช้จ่ายต่างๆมีความสัมพันธ์กับช่วงเวลาที่เข้าร่วมงาน
สามารถอธิบายได้
P-Value=0.203 ระดับความเชื่อมั่น95% (α=0.005)
P-Value=0.203>0.05
จึงไม่ปฏิเสธHo
ดังนั้นค่าใช้จ่ายไม่มีความสัมพันธ์กับช่วงเวลาที่เข้าร่วมงานมีความเชื่อมั่นระดับนัยสาคัญที่95%
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
ตัวแปรอิสระ : รายได้
ตัวแปรตาม : ค่าใช้จ่าย
สมการถดถอย
ค่าใช้จ่าย=321.089 + 0.012(รายได้)
(5.296)*** (3.433)***
ถ้ารายได้เปลี่ยนแปลงไป1บาท/เดือนส่งผลต่อค่าใช้จ่ายเปลี่ยนแปลงไป0.012บาท/เดือน
โดยมีจานาวนข้อมูล=100
ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ(R)2
=0.004
หมายความว่าการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายเป็นผลมาจากรายได้=0.4%
10
จากค่าใช้จ่าย=321.089+0.012(รายได้)
Ho: b1=0รายได้ไม่มีความสัมพันธ์กับค่าใช้จ่าย
Ha:b1≠0 รายได้มีความสัมพันธ์กับค่าใช้จ่าย
P-Value=0.001 <α = 0.05
ปฏิเสธHo
ดังนั้นค่าใช้จ่ายมีความสัมพันธ์กับช่วงเวลาที่เข้าร่วมงาน ที่ระดับความเชื่อมั่น95%
11
ภาคผนวก
แบบสอบถาม
เรื่อง การเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อาเภอเมือง จังหวัด สุราษฎร์ธานี
แบบสอบถามนี้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลการเข้าร่วมงานเรื่อง การเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ
อ า เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี
โดยมีมีวัตถุป ระ สง ค์เพื่ อศึกษ าข้อมูลพื้ น ฐาน ของ ผู้เข้าร่วมง าน ประ เพ ณี ชักพ ระ
ซึ่งได้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้เข้าร่วมงาน และความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมงานเรื่อง
ก า ร เ ข้ า ร่ว ม ง า น ป ร ะ เพ ณี ชั ก พ ร ะ อ า เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วัด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี
โดยมิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อการอื่นใดนอกจากที่กล่าวมาข้างต้นการนาเสนอข้อมูลที่ได้จากท่าน
จะไม่มีการเปิดเผยข้อมูลเป็นรายบุคคล แต่จะเสนอข้อมูลโดยภาพรวม
จึงข้อความร่วมมือจากท่านในการตอบแบบสอบถามเป็ นประโยช น์ทางการศึกษา
จึงขอขอบคุณทุกท่านที่มีความร่วมมือ
12
ส่วนที่1 ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
โปรดทาเครื่องหมาย / ลงในช่อง ตามความเป็นจริง
1.เพศ ชาย หญิง
2.อายุ...................ปี
3.สถานภาพ โสด หม้าย/หย่าร้าง
สมรส
4.อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา ค้าขาย
รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ เกษตรกร
พนักงานเอกชน
5.รายได้.......................บาท/เดือน
ส่วนที่2ข้อมูลเกี่ยวกับการเข้าร่วมงาน
6. ท่านทราบเรื่องการจัดงานประเพณีงานชักพระมาจากทางใด (สามารถตอบได้1ข้อ)
วิทยุ โทรทัศน์
หนังสือพิมพ์ เพื่อน
สื่อออนไลน์
7. จุดประสงค์ที่ท่านเดินทางมาร่วมงานประเพณีชักพระ (สามารถตอบได้1ข้อ)
มาเที่ยว มาทาบุญ
ส่งน้าพระ
8. ช่วงเวลาที่ท่านมาร่วมงานประเพณีซักพระ อาเภอเมือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (สามารถตอบได้1ข้อ)
ช่วงเวลากลางวัน ช่วงเวลากลางคืน
ช่วงเย็น ทั้งวันทั้งคืน
9. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาเข้าร่วมงานมีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง (สามารถตอบได้1ข้อ)
ค่าพาหนะ ค่าที่พัก
ค่าอาหาร ค่าทาบุญ
10. จากข้อ9ท่านใช้ค่าใช้จ่าย
รวมเป็นเงิน.................................บาท
ส่วนที่3ความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมพิธีการ
โดยมีระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ ดังนี้
(5)=มากที่สุด (4)=มาก (3)=ปานกลาง (2)=น้อย (1)=น้อยที่สุด
13
ลาดับที่ ความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่อง
การเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อาเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ระดับความพอใจ
5 4 3 2 1
ด้านข้อมูล
1 ได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมงาน
2 ชักชวน/ชักจูงให้ผู้อื่นเข้าร่วมงาน
3 ได้ความรู้ต่างๆจากการดาเนินงาน
4 ความทันสมัยจากงาน
ด้านรูปแบบ
1 การจัดรูปแบบงานดูเข้าใจง่าย
2 มีกิจกรรมที่น่าสนใจ
3 พื้นที่ในการจัดงานมีความเหมาะสม
4 มีกิจกรรมหลากหลาย
ด้านสิ่งอานวยความสะดวก
1 มีความปลอดภัย
2 สถานที่จอดรถ
3 การบริการสุขา
4 มีเจ้าหน้าที่อานวยความสะดวกในการเข้าร่วมงาน
ค่าความถี่
Sex
Frequency Percent Valid Percent
Cumulative
Percent
Valid lady 48 48.0 48.0 48.0
man 52 52.0 52.0 100.0
Total 100 100.0 100.0
14
age2
Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
Valid 13-25 56 56.0 56.0 56.0
26-38 30 30.0 30.0 86.0
39-51 9 9.0 9.0 95.0
52-64 4 4.0 4.0 99.0
65-75 1 1.0 1.0 100.0
Total 100 100.0 100.0
Status
Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
Valid single 65 65.0 65.0 65.0
marry 34 34.0 34.0 99.0
divorce 1 1.0 1.0 100.0
Total 100 100.0 100.0
job
Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
Valid students 51 51.0 51.0 51.0
service 7 7.0 7.0 58.0
staff 12 12.0 12.0 70.0
traed 13 13.0 13.0 83.0
farmer 17 17.0 17.0 100.0
Total 100 100.0 100.0
income2
15
evnts
Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
Valid radio 18 18.0 18.0 18.0
newspaper 6 6.0 6.0 24.0
tv 42 42.0 42.0 66.0
frind 5 5.0 5.0 71.0
online 29 29.0 29.0 100.0
Total 100 100.0 100.0
purpose
Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
Valid traveling 39 39.0 39.0 39.0
holy water 8 8.0 8.0 47.0
merit 53 53.0 53.0 100.0
Total 100 100.0 100.0
duration
Frequency Percent Valid Percent
Cumulative
Percent
Valid day 6 6.0 6.0 6.0
evening 22 22.0 22.0 28.0
nisht 68 68.0 68.0 96.0
Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
Valid 0-12000 53 53.0 58.9 58.9
12001-24000 20 20.0 22.2 81.1
24001-36000 13 13.0 14.4 95.6
36001-48000 1 1.0 1.1 96.7
48001-60000 3 3.0 3.3 100.0
Total 90 90.0 100.0
Missing System 10 10.0
Total 100 100.0
16
day and night 4 4.0 4.0 100.0
Total 100 100.0 100.0
vehicle
Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent
Valid vehicle 24 24.0 24.0 24.0
food 35 35.0 35.0 59.0
the merit 41 41.0 41.0 100.0
Total 100 100.0 100.0
Expenses
Frequency Percent Valid Percent
Cumulative
Percent
Valid 50-640 97 97.0 97.0 97.0
1231-1820 3 3.0 3.0 100.0
Total 100 100.0 100.0
ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสด ค่าต่าสุด และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Descriptive Statistics
อายุ รายได้ ค่าใช้จ่าย
N Mean Std. Deviation
age 100 27.9700 10.95487
income 100 11655.0000 12321.79948
expenses 100 464.5000 462.77026
Valid N (listwise) 100
17
ระดับความพึงพอใจ
Descriptive Statistics
(ด้านข้อมูล ด้านรูปแบบ ด้านสิ่งอานวยความสะดวก)
N Mean Std. Deviation
z1 100 4.0425 .62062
z2 100 3.9600 .74850
z3 100 3.5700 .78341
Valid N (listwise) 100
18
Descriptive Statistics
(แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมงาน)
N Mean Std. Deviation
berefit 100 4.2800 .66788
perscade 100 3.9700 .78438
knowledse 100 3.9400 .81427
modern 100 3.9800 .79111
format 100 4.1500 .82112
activities 100 3.9900 .84680
area 100 3.8600 .91032
activities 100 3.8400 .97151
security 100 3.7300 .89730
parking 100 3.4900 .91558
toitet 100 3.4900 .95869
concierse 100 3.5700 .90179
Valid N (listwise) 100
One-SampleStatistics
N Mean Std. Deviation Std. Error Mean
income 100 11655.0000 12321.79948 1232.17995
One-SampleTest
Test Value =5000
t
ค่าสถิติทดสอบ
Df
องศาอิสระ
Sig. (2-tailed) Mean
Difference
95% Confidence Intervalof the
Difference
Lower Upper
income 5.401 99 .000 6655.00000 4210.0877 9099.9123
19
ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติการทดสอบไคสแควส์
Case Processing Summary
Cases
Valid Missing Total
N Percent N Percent N Percent
vehicle * duration 100 100.0% 0 .0% 100 100.0%
vehicle * duration Crosstabulation
duration
TotalDay evening nisht day and night
vehicle vehicle Count 3 5 14 2 24
% of Total 3.0% 5.0% 14.0% 2.0% 24.0%
food Count 3 5 26 1 35
% of Total 3.0% 5.0% 26.0% 1.0% 35.0%
the merit Count 0 12 28 1 41
% of Total .0% 12.0% 28.0% 1.0% 41.0%
Total Count 6 22 68 4 100
% of Total 6.0% 22.0% 68.0% 4.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df
Asymp. Sig. (2-
sided)
Pearson Chi-Square 8.506a 6 .203
Likelihood Ratio 10.350 6 .111
Linear-by-Linear Association .303 1 .582
N of Valid Cases 100
a. 6 cells (50.0%) have expected countless than 5. The minimum
expected count is .96.
20
Symmetric Measures
Value
Asymp. Std.
Errora
Approx. Tb
Approx. Sig.
Interval by Interval Pearson's R .055 .099 .548 .585c
Ordinal by Ordinal Spearman Correlation .012 .106 .121 .904c
N of Valid Cases 100
a. Not assuming the null hypothesis.
b. Using the asymptotic standard error assuming the null hypothesis.
c. Based on normal approximation.
สัมประสิทธิ์
Variables Entered/Removedb
Model Variables Entered
Variables
Removed Method
1 incomea
. Enter
a. All requested variables entered.
b. DependentVariable:expenses
Model Summary
Model R R Square
Adjusted R
Square
Std. Error of the
Estimate
1 .328a
.107 .098 439.45369
a. Predictors:(Constant),income
ANOVAb
Model Sum of Squares df Mean Square F Sig.
1 Regression 2275759.565 1 2275759.565 11.784 .001a
Residual 1.893E7 98 193119.545
Total 2.120E7 99
a. Predictors:(Constant),income
b. DependentVariable:expenses
21
Coefficientsa
Model
Unstandardized Coefficients
Standardized
Coefficients
t Sig.
95% Confidence Interval for B
B Std. Error Beta Lower Bound Upper Bound
1 (Constant) 321.089 60.634 5.296 .000 200.762 441.415
income .012 .004 .328 3.433 .001 .005 .019
a. DependentVariable:expenses
22
รูปภาพ
23

More Related Content

What's hot

7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัยNitinop Tongwassanasong
 
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5dLaongphan Phan
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
สถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายสถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายpattya0207
 
01 test&survey th
01 test&survey th01 test&survey th
01 test&survey thpingkung
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลSuriya Phongsiang
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกาไชยยา มะณี
 
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...ชวนพบ เอี่ยวสานุรักษ์
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เพ็ญพร พิเภก
 
Statistics sampling
Statistics samplingStatistics sampling
Statistics samplingSomchith Sps
 
Population
PopulationPopulation
Populationkungfoy
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432CUPress
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 

What's hot (19)

7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
 
สถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายสถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยาย
 
01 test&survey th
01 test&survey th01 test&survey th
01 test&survey th
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
 
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
 
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัดSpss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
 
Statistics sampling
Statistics samplingStatistics sampling
Statistics sampling
 
Population
PopulationPopulation
Population
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 

Viewers also liked

การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
โครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะ
โครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะโครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะ
โครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะNatsinee Methajaroenrak
 
สไลด์ การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1page
สไลด์  การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1pageสไลด์  การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1page
สไลด์ การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพWinthai Booloo
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (8)

การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
โครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะ
โครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะโครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะ
โครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะ
 
สไลด์ การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1page
สไลด์  การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1pageสไลด์  การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1page
สไลด์ การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1page
 
รูปเล่ม
รูปเล่มรูปเล่ม
รูปเล่ม
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to รายงาน

สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysiskhuwawa2513
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นothanatoso
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือRut' Np
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพอภิเทพ ทองเจือ
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาaumkpru45
 

Similar to รายงาน (20)

สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
Turnitin
TurnitinTurnitin
Turnitin
 
Turnitin
TurnitinTurnitin
Turnitin
 
Data
DataData
Data
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 

รายงาน

  • 1. 1 จ า ก แ บ บ ส อ บ ถ า ม สามารถจัดประเภทข้อมูลโดยแบ่งตามสากลของการวัดข้อมูลเพื่อนาไปวิเคราะห์กับเครื่องมือต่างๆ ซึ่งสามารถแบ่งได้ดังนี้ 1.มาตรวัดนามบัญญัติ (Nominal Scale) ลั ก ษ ณ ะ เ ด่ น ข อ ง ม า ต ร า นี้ คื อ เป็นตัวแปรที่ถูกจัดเป็นกลุ่มๆโดยที่ตัวแปรนี้ไม่สามารถจัดลาดับก่อนหรือหลังบอกระยะห่างกันได้ เช่น เพ ศ แบ่ง ได้เป็ น 2 ก ลุ่ม เพ ศ ช าย เพ ศห ญิ ง คุณ ส มบัติที่ ส าคัญ ขอ ง มาต รานี้ ก็คื อ ตั ว เ ล ข ที่ ก า ห น ด ใ ห้ เ พี ย ง ชี้ ถึ ง ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง คื อ ชี้ว่าไม่ใช้สิ่งเดียวกันไม่ได้แทนอันดับขนาดปริมาณหรือคุณภาพใดๆซึ่งตัวเลขหรือค่าต่างๆที่กาหนดให้นั้ นนามา บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ จากแบบสอบถามข้างต้นหลักการจัดนามบัญญัติ ประกอบด้วยเพศชาย ให้แทนด้วยเลข 0 และเพสหญิงให้แทนด้วยเลข1 สถาน ภาพโสดให้แทนด้วยเลข 1 สมรสให้แทน ด้วยเลข 2 ห ม้าย/ห ย่าร้าง ใ ห้ แท น ด้วยเล ข 3 อ าชี พ นั ก เรี ยน /นั กศึ กษ าใ ห้ แท น ด้วยเล ข 1 รับราชการ/รัฐวิสาหกิจให้แทนด้วยเลข2 พนักงานเอกชนให้แทนด้วยเลข3 ค้าขายให้แทนด้วยเลข 4 เกษตรกรให้แทนด้วยเลข5 ทราบเรื่องการจัดงาน วิทยุให้แทนด้วยเลข1 หนังสือพิมพ์ให้แทนด้วยเลข 2 สื่อออน ไลน์ ให้แทน ด้วยเลข 3 โทรทัศน์ ให้ แทน ด้วยเลข 4 เพื่ อน ให้แทน ด้วยเลข 5 จุดประสงค์ที่เดินทางมาเที่ยวให้แทนด้วยเลข 1 ส่งน้าพระให้แทนด้วยเลข 2มาทาบุญให้แทนด้วยเลข 3 ช่วงเวลากลางวันให้แทนด้วยเลข 1 ช่วงเวลากลางคืนให้แทนด้วยเลข 2 ช่วงเย็นให้แทนด้วยเลข 3 ทั้งวันทั้งคืนให้แทนด้วยเลข4 ค่าใช้จ่ายค่าพาหนะให้แทนด้วยเลข1 ค่าที่พักให้แทนด้วยเลข 2 ค่าอาหารให้แทนด้วยเลข 3ค่าทาบุญให้แทนด้วยเลข 4 2.มาตรวัดจัดอันดับ (Ordinal Scale) เป็นระดับที่ใช้สาหรับจัดอันดับที่ หรือตาแหน่งของสิ่งของที่ต้องการวัด โดยตัวเลข 1,2,3 เป็นระดับตัวเลขในระดับที่ ซึ่งสามารถนามา บวก ลบ กันได้ จากตารางข้างต้น ไม่มีมาตรวัดจัดอันดับ 3.มาตรวัดช่วง (IntervalScale) เ ป็ น ข้ อ มู ล ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ จ า แ น ก ก ลุ่ ม เรียงลาดับและแบ่งเป็นช่วงโดยแต่ละช่วงมีขนาดเท่ากับศูนย์ของข้อมูลประเภทนี้เป็นศูนย์สมบัติ ไม่มีศูนย์แท้ ข้อมูลประเภทนี้สามารถนามา บก ลบ หาร กันได้ จากแบบสอบถามข้างต้นหลักการวัดแบบระดับช่วงแบ่งได้เป็นความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด ให้แทนด้วยเลข 1 ระดับความพึงพอใจน้อย ให้แทนด้วยเลข 2ระดับความพึงพอใจปานกลาง
  • 2. 2 ให้แทนด้วยเลข 3 ระดับความพึงพอใจมาก ให้แทนด้วยเลข 4และระดับความพึงพอใจมากที่สุด ให้แทนด้วยเลข 5 4.มาตรวัดอัตราส่วน (Ratio Scale) เป็นข้อมูลที่มีลักษณะจาแนกกลุ่มเรียงอันดับแบ่งช่วงเท่าๆกันและมีศูนย์แท้ สามารถเปรียบเทียบได้ในเชิงอัตราส่วนได้ การวัดระดับนี้มีความสมบูรณ์ทุกประการจึงสามารถนามาจัดทา ตามหลักคณิตศาสตร์ได้ทุกประการ เช่น บวก ลบ คูณ หาร ถอดราก และยกกาลัง จากแบบสอบถามข้างต้นหลักการวัดระดับอัตราส่วนประกอบไปด้วย รายได้ต่อเดือนและค่าใช้จ่ายที่เดินทางมาร่วมงาน (บาท) ตารางที่ 1 ลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างของการเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ข้อมูลพื้นฐาน จานวน ร้อยละ เพศ หญิง ชาย 48.00 52.00 48.00 52.00 ช่วงอายุ 13-25ปี 26-38ปี 30-51ปี 52-64ปี 65-75ปี 56.00 30.00 9.00 4.00 1.00 56.00 30.00 9.00 4.00 1.00 สถานภาพ โสด สมรส หม้าย/หย่าร้าง 65.00 34.00 1.00 65.00 34.00 1.00
  • 3. 3 ที่มา: จากการคานวณ ตารางที่1 (ต่อ) ข้อมูลพื้นฐาน จานวน ร้อยละ ช่วงรายได้ 0-12000 12001-24000 24001-36000 36001-48000 48001-60000 63.00 20.00 13.00 1.00 3.00 63.00 20.00 13.00 1.00 3.00 ท่านทราบเรื่องการจัดงาน วิทยุ หนังสือพิมพ์ สื่อออนไลน์ โทรทัศน์ เพื่อน 18.00 6.00 42.00 5.00 29.00 18.00 6.00 42.00 5.00 29.00 อาชีพ นักเรียน รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ พนักงานเอกชน ค้าขาย เกษตรกร 51.00 7.00 12.00 13.00 17.00 51.00 7.00 12.00 13.00 17.00 จุดประสงค์ที่ท่านมาร่วมงาน มาเที่ยว ส่งน้าพระ มาทาบุญ 39.00 8.00 53.00 39.00 8.00 53.00 ช่วงเวลาที่ท่านมาร่วมงาน ช่วงเวลากลางวัน ช่วงเย็น ช่วงเวลากลางคืน ทั้งกลางวันทั้งกลางคืน 6.00 22.00 68.00 4.00 6.00 22.00 68.00 4.00
  • 4. 4 ตารางที่1 (ต่อ) ที่มา: จากการคานวณ จากตารางผลการศึกษาลักษณะประชากรของกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวที่ใช้เส้นทางการท่องเที่ยว พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย 52 คนคิดเป็ นร้อยละ 52 คนและเพศหญิง 48 คนคิดเป็นร้อยละ 48 อายุอยู่ในช่วง 13-25 ปีจานวน 56 คนคิดเป็นร้อยละ 56 รองลงมาอยู่ในช่วงอายุ 26-38 ปีจานวน 30 คน คิ ด เป็ น ร้อ ยล ะ 3 0 โ ด ยมีส ถ าน ภ าพ โ ส ด จาน วน 6 5 ค น คิ ด เป็ น ร้อ ยล ะ 6 5 มีประกอบอาชีพเป็นนักเรียน/นักศึกษาจานวน 51คนคิดเป็นร้อยละ 51 มีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 0- 12000 บาทต่อเดือนจานวน 63คนคิดเป็นร้อยละ 63โดยทราบเรื่องการจัดงานจากสื่อออนไลน์จานวน 42 คน คิด เป็ น ร้อ ยละ 42 และ รอง ลง มาจากเพื่ อน จาน วน 29 ค น คิด เป็ น ร้อ ยละ 29 มีจุดประสง ค์ที่มาร่วมง าน พ บว่าส่วน ใ หญ่มาทาบุญ จาน วน 53 คน คิดเป็ น ร้อยละ 53 มีช่วง เวลาที่มาร่วมง าน พ บ ว่ามีช่วง เวลากลาง คืน จาน วน 68 คน คิดเป็ น ร้อยละ 68 โดยค่าใช้จ่ายที่ เดิน ทาง มาร่วมง าน พ บว่าค่าทาบุ ญจาน วน 41 คน คิ ดเป็ น ร้อยละ 41 และรองลงมาเป็นค่าอาหารจานวน 35คนคิดเป็นร้อยละ 35 และมีค่าใช้จ่ายส่วนมากจะพบที่ 50-640บาท ค่าใช้จ่ายที่เดินทางมาร่วมงานมี ค่าพาหนะ ค่าอาหาร ค่าที่พัก ค่าทาบุญ 24.00 35.00 0.00 41.00 24.00 35.00 0.00 41.00 ที่มา: จากการคานวณ ข้อมูลพื้นฐาน จานวน ร้อยละ ช่วงจานวนเงิน 50-640 641-1230 1231-1820 1821-2410 2411-3000 97.00 0.00 3.00 0.00 0.00 97.00 0.00 3.00 0.00 0.00
  • 5. 5 ตารางที่2ความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่องการเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่องการเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับคว ข้อมูล ได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมงาน ชักชวน/ชักจูงให้ผู้อื่นเข้าร่วมงาน ได้ความรู้ต่างๆจากการดาเนินงาน ความทันสมัยจากงาน 4.28 3.97 3.94 3.98 0.67 0.78 0.81 0.79 มา ความพึงพอใจรวม ด้านข้อมูล 4.04 0.62 รูปแบบ การจัดรูปแบบงานดูเข้าใจง่าย มีกิจกรรมที่น่าสนใจ พื้นที่ในการจัดงานมีความเหมาะสม มีกิจกรรมหลากหลาย 4.15 3.99 3.86 3.84 0.82 0.85 0.91 0.97 มา ความพึงพอใจรวม ด้านรูปแบบ 3.96 0.75 สิ่งอานวยความสะดวก มีความปลอดภัย สถานที่จอดรถ การบริการสุขา 3.73 3.49 3.49 0.90 0.91 0.96
  • 6. 6 มีเจ้าหน้าที่อานวยความสะดวกในการเข้าร่วมงาน 3.57 0.90 ความพึงพอใจรวม ด้านสิ่งอานวยความสะดวก 3.57 0.78 ที่มา : จากการคานวณ จาก ต าราง ที่ 2 ผ ล การ ศึ ก ษ าค วามพึ ง พ อ ใ จที่ มีต่อ ก ารเข้าร่วมง าน เรื่ อ ง การเข้าร่วมงาน ประ เพ ณี ชักพ ระ อาเภ อเมือง จังห วัดสุ ราษ ฎร์ธานี โดยรวมพ บว่า ความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมงาน เรื่อง การเข้าร่วมงาน ประเพ ณีชักพ ระ อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานีในแต่ละด้านมีความแตกต่างกัน คือ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ร ว ม ด้ า น ข้ อ มู ล ใ น ก า ร จั ด ง า น อ ยู่ใ น ร ะ ดั บ ม า ก เช่น ได้รับ ป ระ โยช น์ จาก การเข้าร่วมง าน , ชักช วน /ชักจูง ใ ห้ ผู้อื่ น เข้าร่วมง าน , ได้ความรู้ต่างๆจากการดาเนินงาน , ความทันสมัยจากงาน ค วา มพึ ง พ อ ใ จร ว มด้าน รู ป แ บ บ ใ น ก ารจัด ง าน อ ยู่ใ น ระ ดับ มาก เช่น การจัดรูปแบบงาน ดูเข้าใจง่ายมีกิจกรรมที่น่าสนใจ ,พื้น ที่ในการจัดงานมีความเหมาะสม , มีกิจกรรมหลากหลาย และ ความพึงพ อใ จรวมด้าน สิ่ งอาน วยความสะดวกใน การจัดงาน อยู่ใน ระดับมาก เ ช่ น มี ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย , ส ถ า น ที่ จ อ ด ร ถ , ก า ร บ ริ ก า ร สุ ข า , มีเจ้าหน้าที่อานวยความสะดวกในการเข้าร่วมงาน ตารางที่3 ประเภท อายุรายได้ ค่าใช้จ่ายที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่องการเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี หน่วย : บาทต่อคน ป ร ะ เ ภ ท อ า ยุ ร า ย ไ ด้ ค่าใช้จ่ายที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่องการเข้าร่วมงานประเพณีชัก พระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐา น อายุ 27.97 10.95 รายได้ต่อเดือน 11655.0 0 12321.80 ค่าใช้จ่ายที่เดินทางมาร่วมงาน 464.50 462.77 ที่มา : จากการคานวณ จ า ก ต า ง ร า ง ที่ 3 ช่วงอายุที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่องการเข้าร่วมงานประเพณีชักพระอาเภอเมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี
  • 7. 7 พ บ ว่ า อ ยู่ ใ น ช่ ว ง อ า ยุ 27.97 ปี โดยมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน11655.00บาทและมีค่าใช้จ่ายที่เดินทางมาร่วมงานเฉลี่ย464.50บาท ตารางที่4 ผลการวิเคราะห์การทดสอบสมมติฐานของตัวอย่าง 1 กลุ่ม (เฉพาะรายได้ต่อเดือน) ทดสอบสมติฐานว่ากลุ่ มประชากรที่เข้าร่วมงานประเพณีชักพระ จังห วัดสุราษฎร์ธานีมีรายได้ต่อเดื อนโดยเฉลี่ยมากว่า 5,000 บาทต่อเดือน t Df Sig. (2-tailed) ช่วงความเชื่อมั่น 95% ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด รายได้ต่อเดือน 5.401 99 .000 4210.0877 9099.9123 ที่มา : จากการคานวณ จ า ก ต า ร า ง ที่ 4 ข้ อ มู ล ขั้ น ต้ น ต้องการทดสอบสมมติฐานว่ารายได้เฉลี่ยของผู้เข้าร่วมคาดว่ามีรายได้เฉลี่ยไม่เท่ากับ 5,000บาทต่อคน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% สามารถตั้งสมมติฐานได้ Ho : µ=5,000 ผู้เ ข้า ร่ว มง า น ป ร ะ เพ ณี ชั ก พ ร ะ อ .เ มือ ง จ .สุ ร าษ ฏ ร์ ธ า นี มีรายได้โดยเฉลี่ยเท่ากับ5,000บาท/คน Ha : µ≠5,000 ผู้เข้ าร่ว ม ง าน ป ร ะ เ พ ณี ชั ก พ ร ะ อ .เ มือ ง จ .สุ ร าษ ฏ ร์ ธ า นี มีรายได้โดยเฉลี่ยไม่เท่ากับ5,000บาท/คน ค่าสถิติที่ใช้ทดสอบมีค่าเท่ากับ 5.401 โดยมีองศาอิสระเท่ากับ 99 จากตารางค่า Sig(2-tailed) เป็นการทดสอบสมมติฐานสอง ค่า Sig(2-tailed) เท่ากับ 0.000ซึ้งมีค่าน้อยกว่าระดับนัยสาคัญ (2-0.05) ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานหลัก (Ho) คือ ผู้เข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อ.เมือง จ.สุราษฏร์ธานี มีรายได้โดยเฉลี่ยไม่เท่ากับ 5,000 บาท/คน นั้นเป็นจริง การประมาณรายได้โดยเฉลี่ยสาหรับผู้เข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อ.เมือง จ.สุราษฏร์ธานี โดยเฉลี่ยด้วยความเชื่อมั่น 95% โดยรายได้สาหรับผู้เข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อ.เมือง จ.สุราษฏร์ธานี โดยเฉลี่ยจะอยู่ระหว่าง 4,210.0877≤ µ-5,000 ≤9,099.9123 4,210.0877+5,000 ≤ µ≤9,099.9123+5,000 9,210.0877 ≤ µ ≤14,099.9123
  • 8. 8 จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบสมมติฐานและการประมาณค่า ณ ระดับวามเชื่อมั่น 95%สามารถ ส รุ ป ได้ คื อ ผู้เข้าร่วมง าน ป ระ เพ ณี ชักพ ระ อ.เมือง จ.สุ ราษ ฏ ร์ ธ านี มีรายได้โดยเฉลี่ยไม่เท่ากับ 5,000บาท/คน สามารถประมาณรายได้สาหรับผู้เข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อ.เมือง จ.สุราษฏร์ธานี โดยเฉลี่ยด้วยความเชื่อมั่น 95% อยู่ใน ช่วง 9,210.0877 บาทต่อคน ถึง 14,099.9123บาทต่อคน ตารางที่ 5จากการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการเข้าร่วมงาน ประเพณีชักพระ อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปัจจัยส่วนบุคคล ช่วงเวลาที่ท่านมาร่วมงาน รวม 𝑥2 sigช่วงกลางวั น ช่วง เย็น ช่วง กลางคื น ทั้งวันทั้งคื น ค่าใช้จ่ายในการมาเข้าร่วมงาน มี ค่าพาหนะ ค่าอาหาร ค่าทาบุญ 3 3.0% 3 3.0% 0 0.0% 5 5.0% 5 5.0% 12 12.0 14 14.0% 26 26.0% 28 28.0% 2 2.0% 1 1.0% 1 1.0% 24 24.0% 35 35.0% 41 41.0%
  • 9. 9 % รวม 6 6.0% 22 22.0 % 68 68.0% 4 4.0% 100 100.0 % 8.50 6 0.02 3 ที่มา : จากการคานวณ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติการทดสอบไคสแควส์ (Chisquare test) โดยมีสมมติฐานเพื่อทดสอบดังนี้ Ho: ค่าใช้จ่ายต่างๆไม่มีความสัมพันธ์กับช่วงเวลาที่เข้าร่วมงาน Ha:ค่าใช้จ่ายต่างๆมีความสัมพันธ์กับช่วงเวลาที่เข้าร่วมงาน สามารถอธิบายได้ P-Value=0.203 ระดับความเชื่อมั่น95% (α=0.005) P-Value=0.203>0.05 จึงไม่ปฏิเสธHo ดังนั้นค่าใช้จ่ายไม่มีความสัมพันธ์กับช่วงเวลาที่เข้าร่วมงานมีความเชื่อมั่นระดับนัยสาคัญที่95% การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ ตัวแปรอิสระ : รายได้ ตัวแปรตาม : ค่าใช้จ่าย สมการถดถอย ค่าใช้จ่าย=321.089 + 0.012(รายได้) (5.296)*** (3.433)*** ถ้ารายได้เปลี่ยนแปลงไป1บาท/เดือนส่งผลต่อค่าใช้จ่ายเปลี่ยนแปลงไป0.012บาท/เดือน โดยมีจานาวนข้อมูล=100 ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ(R)2 =0.004 หมายความว่าการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายเป็นผลมาจากรายได้=0.4%
  • 10. 10 จากค่าใช้จ่าย=321.089+0.012(รายได้) Ho: b1=0รายได้ไม่มีความสัมพันธ์กับค่าใช้จ่าย Ha:b1≠0 รายได้มีความสัมพันธ์กับค่าใช้จ่าย P-Value=0.001 <α = 0.05 ปฏิเสธHo ดังนั้นค่าใช้จ่ายมีความสัมพันธ์กับช่วงเวลาที่เข้าร่วมงาน ที่ระดับความเชื่อมั่น95%
  • 11. 11 ภาคผนวก แบบสอบถาม เรื่อง การเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อาเภอเมือง จังหวัด สุราษฎร์ธานี แบบสอบถามนี้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลการเข้าร่วมงานเรื่อง การเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อ า เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี โดยมีมีวัตถุป ระ สง ค์เพื่ อศึกษ าข้อมูลพื้ น ฐาน ของ ผู้เข้าร่วมง าน ประ เพ ณี ชักพ ระ ซึ่งได้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้เข้าร่วมงาน และความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมงานเรื่อง ก า ร เ ข้ า ร่ว ม ง า น ป ร ะ เพ ณี ชั ก พ ร ะ อ า เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วัด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี โดยมิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อการอื่นใดนอกจากที่กล่าวมาข้างต้นการนาเสนอข้อมูลที่ได้จากท่าน จะไม่มีการเปิดเผยข้อมูลเป็นรายบุคคล แต่จะเสนอข้อมูลโดยภาพรวม จึงข้อความร่วมมือจากท่านในการตอบแบบสอบถามเป็ นประโยช น์ทางการศึกษา จึงขอขอบคุณทุกท่านที่มีความร่วมมือ
  • 12. 12 ส่วนที่1 ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม โปรดทาเครื่องหมาย / ลงในช่อง ตามความเป็นจริง 1.เพศ ชาย หญิง 2.อายุ...................ปี 3.สถานภาพ โสด หม้าย/หย่าร้าง สมรส 4.อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา ค้าขาย รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ เกษตรกร พนักงานเอกชน 5.รายได้.......................บาท/เดือน ส่วนที่2ข้อมูลเกี่ยวกับการเข้าร่วมงาน 6. ท่านทราบเรื่องการจัดงานประเพณีงานชักพระมาจากทางใด (สามารถตอบได้1ข้อ) วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เพื่อน สื่อออนไลน์ 7. จุดประสงค์ที่ท่านเดินทางมาร่วมงานประเพณีชักพระ (สามารถตอบได้1ข้อ) มาเที่ยว มาทาบุญ ส่งน้าพระ 8. ช่วงเวลาที่ท่านมาร่วมงานประเพณีซักพระ อาเภอเมือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (สามารถตอบได้1ข้อ) ช่วงเวลากลางวัน ช่วงเวลากลางคืน ช่วงเย็น ทั้งวันทั้งคืน 9. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาเข้าร่วมงานมีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง (สามารถตอบได้1ข้อ) ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าอาหาร ค่าทาบุญ 10. จากข้อ9ท่านใช้ค่าใช้จ่าย รวมเป็นเงิน.................................บาท ส่วนที่3ความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมพิธีการ โดยมีระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ ดังนี้ (5)=มากที่สุด (4)=มาก (3)=ปานกลาง (2)=น้อย (1)=น้อยที่สุด
  • 13. 13 ลาดับที่ ความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมงานเรื่อง การเข้าร่วมงานประเพณีชักพระ อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ระดับความพอใจ 5 4 3 2 1 ด้านข้อมูล 1 ได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมงาน 2 ชักชวน/ชักจูงให้ผู้อื่นเข้าร่วมงาน 3 ได้ความรู้ต่างๆจากการดาเนินงาน 4 ความทันสมัยจากงาน ด้านรูปแบบ 1 การจัดรูปแบบงานดูเข้าใจง่าย 2 มีกิจกรรมที่น่าสนใจ 3 พื้นที่ในการจัดงานมีความเหมาะสม 4 มีกิจกรรมหลากหลาย ด้านสิ่งอานวยความสะดวก 1 มีความปลอดภัย 2 สถานที่จอดรถ 3 การบริการสุขา 4 มีเจ้าหน้าที่อานวยความสะดวกในการเข้าร่วมงาน ค่าความถี่ Sex Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid lady 48 48.0 48.0 48.0 man 52 52.0 52.0 100.0 Total 100 100.0 100.0
  • 14. 14 age2 Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid 13-25 56 56.0 56.0 56.0 26-38 30 30.0 30.0 86.0 39-51 9 9.0 9.0 95.0 52-64 4 4.0 4.0 99.0 65-75 1 1.0 1.0 100.0 Total 100 100.0 100.0 Status Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid single 65 65.0 65.0 65.0 marry 34 34.0 34.0 99.0 divorce 1 1.0 1.0 100.0 Total 100 100.0 100.0 job Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid students 51 51.0 51.0 51.0 service 7 7.0 7.0 58.0 staff 12 12.0 12.0 70.0 traed 13 13.0 13.0 83.0 farmer 17 17.0 17.0 100.0 Total 100 100.0 100.0 income2
  • 15. 15 evnts Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid radio 18 18.0 18.0 18.0 newspaper 6 6.0 6.0 24.0 tv 42 42.0 42.0 66.0 frind 5 5.0 5.0 71.0 online 29 29.0 29.0 100.0 Total 100 100.0 100.0 purpose Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid traveling 39 39.0 39.0 39.0 holy water 8 8.0 8.0 47.0 merit 53 53.0 53.0 100.0 Total 100 100.0 100.0 duration Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid day 6 6.0 6.0 6.0 evening 22 22.0 22.0 28.0 nisht 68 68.0 68.0 96.0 Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid 0-12000 53 53.0 58.9 58.9 12001-24000 20 20.0 22.2 81.1 24001-36000 13 13.0 14.4 95.6 36001-48000 1 1.0 1.1 96.7 48001-60000 3 3.0 3.3 100.0 Total 90 90.0 100.0 Missing System 10 10.0 Total 100 100.0
  • 16. 16 day and night 4 4.0 4.0 100.0 Total 100 100.0 100.0 vehicle Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid vehicle 24 24.0 24.0 24.0 food 35 35.0 35.0 59.0 the merit 41 41.0 41.0 100.0 Total 100 100.0 100.0 Expenses Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid 50-640 97 97.0 97.0 97.0 1231-1820 3 3.0 3.0 100.0 Total 100 100.0 100.0 ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสด ค่าต่าสุด และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Descriptive Statistics อายุ รายได้ ค่าใช้จ่าย N Mean Std. Deviation age 100 27.9700 10.95487 income 100 11655.0000 12321.79948 expenses 100 464.5000 462.77026 Valid N (listwise) 100
  • 17. 17 ระดับความพึงพอใจ Descriptive Statistics (ด้านข้อมูล ด้านรูปแบบ ด้านสิ่งอานวยความสะดวก) N Mean Std. Deviation z1 100 4.0425 .62062 z2 100 3.9600 .74850 z3 100 3.5700 .78341 Valid N (listwise) 100
  • 18. 18 Descriptive Statistics (แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมงาน) N Mean Std. Deviation berefit 100 4.2800 .66788 perscade 100 3.9700 .78438 knowledse 100 3.9400 .81427 modern 100 3.9800 .79111 format 100 4.1500 .82112 activities 100 3.9900 .84680 area 100 3.8600 .91032 activities 100 3.8400 .97151 security 100 3.7300 .89730 parking 100 3.4900 .91558 toitet 100 3.4900 .95869 concierse 100 3.5700 .90179 Valid N (listwise) 100 One-SampleStatistics N Mean Std. Deviation Std. Error Mean income 100 11655.0000 12321.79948 1232.17995 One-SampleTest Test Value =5000 t ค่าสถิติทดสอบ Df องศาอิสระ Sig. (2-tailed) Mean Difference 95% Confidence Intervalof the Difference Lower Upper income 5.401 99 .000 6655.00000 4210.0877 9099.9123
  • 19. 19 ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติการทดสอบไคสแควส์ Case Processing Summary Cases Valid Missing Total N Percent N Percent N Percent vehicle * duration 100 100.0% 0 .0% 100 100.0% vehicle * duration Crosstabulation duration TotalDay evening nisht day and night vehicle vehicle Count 3 5 14 2 24 % of Total 3.0% 5.0% 14.0% 2.0% 24.0% food Count 3 5 26 1 35 % of Total 3.0% 5.0% 26.0% 1.0% 35.0% the merit Count 0 12 28 1 41 % of Total .0% 12.0% 28.0% 1.0% 41.0% Total Count 6 22 68 4 100 % of Total 6.0% 22.0% 68.0% 4.0% 100.0% Chi-Square Tests Value df Asymp. Sig. (2- sided) Pearson Chi-Square 8.506a 6 .203 Likelihood Ratio 10.350 6 .111 Linear-by-Linear Association .303 1 .582 N of Valid Cases 100 a. 6 cells (50.0%) have expected countless than 5. The minimum expected count is .96.
  • 20. 20 Symmetric Measures Value Asymp. Std. Errora Approx. Tb Approx. Sig. Interval by Interval Pearson's R .055 .099 .548 .585c Ordinal by Ordinal Spearman Correlation .012 .106 .121 .904c N of Valid Cases 100 a. Not assuming the null hypothesis. b. Using the asymptotic standard error assuming the null hypothesis. c. Based on normal approximation. สัมประสิทธิ์ Variables Entered/Removedb Model Variables Entered Variables Removed Method 1 incomea . Enter a. All requested variables entered. b. DependentVariable:expenses Model Summary Model R R Square Adjusted R Square Std. Error of the Estimate 1 .328a .107 .098 439.45369 a. Predictors:(Constant),income ANOVAb Model Sum of Squares df Mean Square F Sig. 1 Regression 2275759.565 1 2275759.565 11.784 .001a Residual 1.893E7 98 193119.545 Total 2.120E7 99 a. Predictors:(Constant),income b. DependentVariable:expenses
  • 21. 21 Coefficientsa Model Unstandardized Coefficients Standardized Coefficients t Sig. 95% Confidence Interval for B B Std. Error Beta Lower Bound Upper Bound 1 (Constant) 321.089 60.634 5.296 .000 200.762 441.415 income .012 .004 .328 3.433 .001 .005 .019 a. DependentVariable:expenses
  • 23. 23