SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ รูปแบบการแสดง
เรื่อง
รูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน นาฏศิลป์นานาชาติ
โดย
นางสาวพนมพร ชินชนะ
ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์
สำรักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
คานา
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง รูปแบบการแสดง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่ง
ประกอบด้วยเรื่อง นาฏศิลป์ไทย ละครไทย ระบาเบ็ดเตล็ด นาฏศิลป์พื้นเมือง นาฏศิลป์
นานาชาติ ได้จัดทาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชา นาฏศิลป์ และ
สามารถใช้ควบคู่ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได้ในขณะเวลาเดียวกัน ช่วยให้นักเรียนมี
ความรู้ความเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว โดยได้รวบรวมและสรุปเนื้อหาสาระจากหนังสือและ
แหล่งข้อมูลต่างๆพร้อมรูปภาพมาจัดทาเป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์ ซึ่งนักเรียนสามารถนาไปศึกษา
เพิ่มเติมทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนได้ในโอกาสต่อไป
พนมพร ชินชนะ
นาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่สร้างความเพลิดเพลิน สนุกสนาน เกิดขึ้นจากการ
เลียนแบบกิริยาท่าทางของคนและสัตว์ มีจุดมุ่งหมายคล้ายกับอารยธรรมของอินเดีย คือ เป็นการละเล่นเพื่อ
ความผ่อนคลายและการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การแสดงนาฏศิลป์จะต้องประกอบด้วย การฟ้อนรา ดนตรี และ
การขับร้อง นามาผสมผสานจนเกิดเป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่สวยงาม การแสดงนาฏศิลป์ไทยแบ่งออกเป็น
โขน ละคร ราและระบา ซึ่งมีรูปแบบการแสดงที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้
1.1(โขน) โขน เป็นการแสดงนาฏศิลป์ชั้นสูง ที่ผู้เล่นจะต้องสวมศีรษะโขน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของ
การแสดงโขน มีลีลา ท่ารา ท่าเต้น ประกอบบทพากย์ เจรจา และขับร้อง การแต่งกายมีความ
สวยงามเป็นการแสดงที่มีแบบแผน เรื่องที่นิยมแสดงคือเรื่อง รามเกียรติ์ โขน เป็นนาฏศิลป์ที่ประกอบไป
ด้วยศิลปะอันประณีต และงดงามมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่มีปรากฏแสดงในงานสาคัญๆของบ้านเมือง ผู้แสดง
ต้องมีทักษะในการใช้เท้าเต้นออกท่าทางประกอบเพลงร้อง บทพากย์ บทเจรจา ตลอดจนเพลงหน้าพาทย์ที่
ใช้ประกอบการแสดง ตัวแสดงในเรื่องมี พระ นาง ยักษ์ ลิง มีการสวมหัวปิดหน้าที่เรียกว่า หัวโขน
เรื่องที่แสดงคือ เรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งเนื้อเรื่องส่วนใหญ่เป็นการทาสงเคราะห์ระหว่างพระราม กษัตริย์แห่ง
นคร อโยธยา กับทศกัณฑ์ พญายักษ์ แห่งกรุงลงกา และเนื่องจากเนื้อ
เรื่องของรามเกียรติ์ยาวมาก จึงได้มีการแบ่งเรื่องราวออกเป็นตอนๆ
เพื่อสะดวกในการนามาแสดง
กำเนิดโขน
1.โขนมาจากการแสดง “หนังใหญ่” ที่เป็น โขน รามเกียรติ์
มหรสพของไทยโบราณ มีลักษณะการแสดงประกอบไปด้วย
การเชิดตัวหนังที่ทามาจากหนังวัวแกะสลัก เป็นภาพในเรื่อง
รามเกียรติ์ ผู้แสดงจะต้องแสดงลีลาการเชิดตัวหนังไปพร้อม
กับการเต้นตามจังหวะของวงปี่พาทย์ที่หน้าจอโดยใช้แสงไฟ
จากด้านหลังจอ ทาให้ภาพเงาตัวหนังไปปรากฏบนหน้าจอหนัง หนังใหญ่
และยังต้องมีคนพากย์เจรจาด้วย ซึ่งการแสดงโขนนั้นมีทั้ง การพากย์ เจรจา การขับร้อง การเต้นและรา
ทาท่าตามบทพากย์และตามเพลงหน้าพาทย์ จึงเห็นได้ว่า การแสดงโขนได้รับอิทธิพลด้านศิลปะการแสดง
จากการแสดงหนังใหญ่
2.โขนมาจากการเล่น “กระบี่กระบอง” ซึ่งเป็นศิลปะการต่อสู้ของคนไทยโบราณที่จะต้อง
ฝึกหัดให้มีความเชี่ยวชาญกับการใช้อาวุธของไทยหลายชนิดในกระบวนท่าต่างๆไว้สาหรับป้องกันตนเองและ
เทศชาติ อีกทั้งเป็นการประชันกันในเชิงฝีมือไหวพริบในการต่อสู้การหลอกล่อหลบหลีก ยั่วยุตู่ต่อสู้ จาก
ลีลาท่าทางเหล่านี้ กรแสดงโขนในสมัยโบราณน่า
จะรับเอาแบบอบ่างที่ใช้ในศิลปะการต่อสู้
มาปรับปรุงประดิษฐ์เป็นท่าทางการเต้น
การเยื้องกรายและเป็นท่าทางร่ายรา
ของการต่อสู้ในการแสดงโขน กระบี่กระบอง
3.โขนมาจากการเล่น “ชักนาคดึกดาบรรพ์” อันเป็นการทาพิธีกรรมในตานานเรื่อง
นารายณ์ตอนกวนน้าอมฤต ที่ประกอบไปด้วยฝ่ายอสูร และฝ่ายเทวดา วานร มีการแต่งกายเป็นพวกอสูร
เทวดา วานร เข้าขบวนแห่ พร้อมด้วยเครื่องพิธีต่างๆด้วยเหตุนี้โขนจึงได้นาเอาศิลปะการแสดงจากแบ่งฝ่าย
การเล่นและศิลปะการแต่งกายมาจากการเล่นชักนาคดึกดาบรรพ์
ลักษณะการแต่งกายในการแสดงโขนนั้น ตัวละครแบ่งออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ฝายยักษ์
ฝ่ายลิง ฝ่ายมนุษย์และเทวดา ซึ่งแต่ละฝ่ายจะแต่งกายตามแบบที่เรียกว่า “ยืนเครื่อง” ทุกตัวแต่จะ
ลดหลั่นความงดงามไปตามฐานะของตัวละครในเรื่อง ตัวสาคัญแต่งกายคล้ายคลึงกัน จะต่างกันที่สีของเครื่อง
แต่งกาย และลักษณะของหัวโขน เครื่องแต่งกายฝ่านมนุษย์และเทวดา จะเป็นการแต่งกายแบบยืนเครื่อง
ตัวละครที่สาคัญมากจะระบุสีเสื้ออย่างชัดเจน
ชักนาคดึกดาบรรพ์
วิวัฒนาการของการแสดงโขน
โขนได้วิวัฒนาการดัดแปลง โดยการนาเอาศิลปะของการละเล่นหลายอย่างมาผสมกัน
ด้วยวิธีต่างๆทาให้การแสดงโขนมีลักษณะลีลาการแสดงที่แตกต่างกันออกไป แบ่งได้เป็น 5 ประเภท คือ
1.)โขนกลางแปลง 2.) โขนนั่งราว 3.)โขนหน้าจอ 4.)โขนโรงใน 5.)โขนฉาก
1.1โขนกลางแปลง คือ การแสดงโขนบนพื้นดินกลางสนามกว้างๆ ไม่มีเวที ใช้ธรรมชาติเป็นฉาก
ประกอบการแสดง นิยมแสดงการยกทัพและการรบกันเป็นส่วนใหญ่ จึงใช้ผู้แสดงจานวนมาก ไม่มีการขับ
ร้อง มีแต่ดนตรีบรรเลงหน้าพาทย์ประกอบการยกทัพ ดาเนินเรื่องด้วยคาพากย์และเจรจา
1.2โขนโรงนอกหรือโขนนั่งราว คือ การแสดงโขนที่จัดแสดงบนโรงมีหลังคาตรงหน้าฉากช่อง
สาหรับให้ตัวแสดงออก ไม่มีเตียงสาหรับผู้แสดงนั่ง แต่ราวพาดไว้ตามส่วนยาวของโรง ผู้แสดงเดินได้รอบราว
เมื่อตัวโขนแสดงบทของตัวเสร็จก็จะกลับมานั่งอยู่บนราวดามเดิม โขนชนิดนี้มีแต่ดนตรี การพากย์ และ
เจรจา ไม่มีการขับร้องเช่นเดียวกับโขนกลางแปลง
1.3โขนหน้าจอ คือ การแสดงโขนบทเวทีกลางแจ้งหน้าจอหนังใหญ่ ซึ่งฉากด้านหลังปรับปรุง
มาจากจอหนังจะเขียนเป็นรูปปราสาทราชวังสมมติว่าเป็นกรุงลงกา อีกข้างหนึ่งเขียนรูปพลับพลาที่ประทับ
ของพระรามพร
1.4โขนโรงใน คือ การแสดงโขนที่ปรับปรุงผสมผสาน โดยนาเอาการแสดงโขนและละครในมา
ผสมกัน การแสดงจึงมีทั้งการออกท่าราและท่าเต้น มีการพากย์เจรจาตามแบบโขนรวมทั้งมีเพลงร้องและ
ประกอบกิริยาต่างๆ แบบละครในและมีระบา รา ฟ้อน ผสมเข้าด้วยกัน
1.5โขนฉาก คือ การแสดงโขนที่มีการสร้างฉากประกอบ เกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 วิธีการแสดง
ผสมผสานระหว่างโขนโรงในและละครใน มีบทพากย์เจรจาขับร้องประกอบการเต้นและร่ายราโดยใช้เพลง
หน้าพาทย์แบบละครในและโขนโรงใน ฉากจะเปลี่ยนไปตามท้องเรื่องโขนฉากนี้เป็นโขนที่นิยมแสดงใน
ปัจจุบัน
โขนกลางแปลง โขนโรงใน
โขนโรงนอก(โขนนั่งราว)
โขนหน้าจอ
โขนฉาก
ประเภทของละครไทย
ละครรำ
1. ละครราแบบดั้งเดิม คือ ละครที่ใช้ศิลปะการร่ายราในการดาเนินเรื่องได้แก่ ละครชาตรี ละครนอก ละครใน
2.ละครราที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ คือ ละครที่ใช้ศิลปะการร่ายราในการดาเนินเรื่องโดยมีการปรับปรุงวิธีการแสดง
ขึ้นใหม่ ได้แก่ ละครพันทาง ละครดึกดาบรรพ์ ละครเสภา
ละครที่ไม่ใช่ละครรำ
1.ละครร้อง คือ ละครที่ใช้ศิลปะการร้องดาเนินเรื่องเป็นละครแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก
2.ละครพูด คือ ละครที่ใช้ศิลปะการพูดดาเนินเรื่องเป็นละครแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก
3.ละครสังคีต เป็นละครที่ใช้ศิลปะการพูดและการร้องดาเนินเรื่องเท่าๆกัน จะตัดส่วนใดออกเสียมิได้ เพราะ
มีถ้อยคาที่เป็นเนื้อเรื่องบรรจุอยู่
ละครรำแบบดั้งเดิม
ละครชาตรี เป็นละครที่มีอายุเก่าแก่ เป็นต้นแบบของละครชนิดต่างๆ มีลักษณะเป็นละคร
เร่มักนิยมแสดงเรื่องพระสุธน-มโนห์รา ละครชนิดนี้เป็นที่นิยมของคนภาคใต้เรียกว่า “โนรา” ส่วนความ
นิยมทางภาคกลางเรียกว่า “ชาตรี” ที่หาดูได้ในงานแก้บน ในบางครั้งอาจเรียกรวมกันว่า “โนราห์ชาตรี”
ละครชนิดนี้ได้แพร่หลายเข้ามายังกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยรัชกาลที่ 3
ละครนอก มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่เดิมคงมาจากการละเล่นละครพื้นเมืองและร้องแก้
กัน แล้วต่อมาภายหลังจับเป็นเรื่องเป็นตอนขึ้น เป็นละครที่ดัดแปลงวิวัฒนาการมาจากละครในราห์หรือ
ชาตรี โดยปรับปรุงวิธีแสดงต่างๆตลอดจนเพลงร้องและดนตรีประกอบให้แปลกออกไป
ละครใน มีหลายชื่อ เช่นละครใน ละครข้างใน ละครนางใน และละครในพระราชฐาน
สันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แสดงมาจนถึงสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์เป็นละครที่ได้รับอิทธิพล
รูปแบบวิธีการแสดงจากการแสดงละครนอก บรรดานางราในเขตพระราชฐานได้รับการฝึกหัดถ่ายทอดจากครู
ที่แสดงละครนอกเขตพระราชฐาน แล้วนาไปแสดงถวายหน้าพระที่นั่ง
ละครชาตรี (รถเสน)
ละครนอก (สังข์ทอง)
ละครใน(อิเหนา)
ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่
ละครพันทาง เป็นละครแบบผสมผสานที่เกิดจากแนวคิดของเจ้าพระยามหินทร์ศักดิ์ธารงที่
นาพงศาวดารมาแสดงละคร โดยใช้ท่าราที่ดัดแปลงมาจากชาติอื่นๆ มาผสมกับท่าราไทยและท่าที่เป็น
ธรรมชาติของสามัญชนเข้ามาผสมด้วย ให้มีแนวแปลกออกไป
ละครดึกดาบรรพ์ เป็นละครที่เกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 เกิดจากการที่เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์
วิวัฒน์เดินทางไปยุโรปและได้มีโอกาสชมละครโอเปร่า เมื่อกลับมาท่านจึงคิดทาละครโอเปร่าแบบไทยออก
แสดง ณ โรงละครของท่านชื่อว่า “โรงละครดึกดาบรรพ์” จึงเรียกชื่อละครรูปแบบใหม่นี้ตามชื่อโรงละคร
ละครเสภา มีลักษณะของการแสดงคล้ายละครนอก แต่ต้องมีขับเสภาแทรกอยู่ด้วยจึงจะเป็น
ละครเสภา ก่อนที่จะเกิดมีละครเสภาขึ้น เข้าใจว่ามีการขับเสภาเป็นเรื่องเป็นราวมาก่อน เรื่องที่นามาขับ
เสภาและนิยมก้นอย่างแพร่หลายคือเรื่อง ขุนช้างขุนแผน การขับเสภาตั้งแต่สมัยโบราณนั้นไม่มีเครื่องดนตรี
ชนิดใดประกอบนอกจากกรับ ครั้นต่อมาจัดวงปีพาทย์เข้าเป็นอุปกรณ์การขับเสภาโดยให้แทรกเพลงร้องส่ง
ให้ปี่พาทย์รับและบรรเลงเพลงหน้าพาทย์เหมือนอย่างการแสดงละครนอก ตอนใดดาเนินเรื่องก็ขับเสภา
ตอนใดเป็นถ้อยคาราพันหรือข้อความอื่นที่ควรแก่การร้องส่งก็ร้อง ตอนใดเป็นบทไปมาหรือรบกัน ปี่พาทย์ก็
บรรเลงเพลิงเชิดประกอบ ต่อมาวิวัฒนาการให้มีผู้แสดงออกมาแสดงตามบทเสภาและบทร้อง
ละครดึกดาบรรพ์ (สังข์ทอง) ละครพันทาง (ราชาธิราช)
ละครเสภา (ขุนช้างขุนแผน)
ละครที่ไม่ใช่ละครรา
ละครร้อง เป็นละครที่ใช้การร้องเป็นหลักในการดาเนินเรื่อง ทั้งบอกกิริยาอาการบทคานึงที่
ใช้ลูกคู่ร้องอยู่ในโรง และบทคาพูดที่ตัวละครจะต้องร้องเอง ไม่มีการรา แต่ใช้ท่าทางหรือกิริยาอาการอย่าง
สามัญชนทั่วไป เดิมที่ใช้ผู้หญิงแสดงล้วน ต่อมาใช้ผู้แสดงทั้งหญิงและชาย มีการเปลี่ยนฉากไปตามท้องเรื่อง
และนิยมนา นวนิยายเรื่องต่างๆมาประพันธ์เป็นบทละครใช้เป็นการแสดงละครในประเภทนี้
ละครพูด เป็นละครสมัยใหม่ที่ได้รูปแบบมาจากการแสดงละครตะวันตก ใช้การพูดดาเนิน
เรื่อง แสดงท่าทางประกอบคาพูดอย่างสามัญชน เดิมที่ใช้ผู้หญิงแสดงล้วน ต่อมาใช้ผู้แสดงทั้งหญิงและชาย
มีการเปลี่ยนฉากไปตามท้องเรื่อง บทละครพูดพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์
บทละครไว้หลายลักษณะได้แก่ ละครพูดปลุกใจ ละครพูดชวนหัว ละครพูดกินใจ
ละครสังคีต เป็นละครที่ดาเนินเรื่องด้วยบทพูดและบทร้องถ้าตัดส่วนใดส่วนหนึ่งออกก็จะทา
ให้ไม่สามารถดาเนินเรื่องได้ เพลงไพเราะ เดิมทีใช้ผู้ชายแสดงล้วน ต่อมาใช้ผู้แสดงทั้งชายและหญิงมีการ
เปลี่ยนฉากไปตามท้องเรื่อง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์บทละครสังคีตไว้
หลายเรื่องด้วยกัน ได้แก่ เรื่องวิวาห์พระสมุทร วั่งตี่ เป็นต้น
ละครร้อง (สาวเครือฟ้า) ละครพูด ( มัทนะพาธา )
ละครสังคีต( หงส์ทอง )
การแสดง ระบา รา ฟ้อน
ระบา หมายถึงศิลปะการร่ายราที่แสดงพร้อมกันเป็นหมู่เป็นชุด ไม่มีการดาเนินเรื่องราว ท่า
ราอาจมีความหมายเข้ากับเนื้อเรื่อง หรือไม่มีความหมาย เป็นศิลปะที่มุ่งถึงความพร้อมเพรียง ความ
สวยงามในการใช้ลีลาท่ารา ความสวยงามของการแต่งกาย และการรื่นเริงบันเทิงใจ
ระบามาตรฐาน คือระดับที่ปรมาจารย์ทางนาฏศิลป์ได้คิดประดิษฐ์ท่าราขึ้นไว้อย่างสวยงาม
สอดคล้องกับบทร้องและการบรรเลงเหมาะสมเป็นแบบฉบับ เมื่อนาไปแสดงจะต้องรักษาไว้ซึ่งท่าราที่ได้ศึกษา
เล่าเรียนมา ไม่ควรนาไปเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือเพิ่มเติมการแต่งกาย นิยมแต่งแบบ “ยืนเครื่อง” พระนาง
การแสดงระบามาตรฐานมีด้วยกันหลายชุด เช่น ระบาสี่บท ระบากฤษดาภินิหาร ระบาดาวดึงส์ ระบา
เทพบันเทิง ระบาย่องหงิด เป็นต้น
ระบาเบ็ดเตล็ด คือ ระดับที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ตามประสงค์ ที่มีลักษณะท่าราไม่ตายตัว
เปลี่ยนแปลงท่าราได้ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ราและคานึงถึงการนาไปใช้
ระบำเบ็ดเตล็ด
ระบำ คือ การแสดงที่ใช้คนจานวนมาก ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป การแสดงระบาจะมีเนื้อร้อง
ประกอบการแสดงหรือไม่มีเนื้อร้องประกอบก็ได้ การแสดงระบามุ่งที่ความงดงามของการแต่งกาย ความ
พร้อมเพรียงและการปรับขบวนหรือแปรแถวเป็นหลัก เพื่อให้ผู้ชมเกิดความเพลิดเพลิน ถ้าต้องการให้ระบา
ชุดนั้นดึงดูดใจผู้ชม ควรนาเสนอภายในเวลาไม่เกิน 15 นาที มิฉะนั้นจะยาวเกินไป ถ้ามีผู้แสดงน้อยเวลาที่
แสดงควรสั้นลง สิ่งที่ควรคานึงถึงในการจัดระบา มีดังนี้
1. ลีลาท่าทาง ควรให้เหมาะสมกับเนื้อร้องที่ประกอบเพลง (นาการรีบทมาใช้) และทานองเพลง
ดังนั้นควรศึกษาหรือทาความเข้าใจกับเพลงที่นามาประกอบกับระบาชุดนั้นว่ามีท่วงทานองไปใน
แนวใด เช่น อ่อนหวาน รื่นเริง ปลุกใจ เพื่อแสดงท่าทางประกอบบทเพลงนั้นให้เหมาะสม
2. เครื่องแต่งกาย มีส่วนสาคัญที่จะช่วยให้ระบาชุดนั้น เป็นที่ดึงดูดสายตาผู้ชมในแง่มุมต่างๆ
ตามแต่จุดมุ่งหมายของผู้จัดระบาต้องการและบอกถึงชนิดของระบาชุดนั้นๆด้วย
3. ความพร้อมเพรียงกัน เนื่องจากใช้ผู้แสดงมากกว่า 2 คน ผู้แสดงจึงต้องมีระเบียบในการแสดง
เป็นการเน้นให้เห็นถึงความสามัคคีของผู้แสดงและความสามารถในกากรกากับการแสดง
4. การแปรแถวและการวางระยะ เรื่องนี้เป็นความสามารถของผู้สอนที่จะบอกผู้แสดงให้แน่นอนว่า
ต้องการรูปแบบใด แก้ไขในการฝึกซ้อมให้ชัดเจน นอกจากนี้ยังเน้นไหวพริบของผู้แสดง และ
เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสามารถและระยะเวลาการฝึกซ้อมของผู้แสดงระบาชุดนั้น
5. ไหวพริบของผู้แสดง มีส่วนที่จะช่วยให้ระบาชุดนั้นๆ มีความผิดพลาดน้อยที่สุด
ระบำเบ็ดเตล็ด คือ ระบาที่มีการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นใหม่ เพื่อให้ทันสมัยต่อเหตุการณ์ และเนื้อเรื่องระบา
เบ็ดเตล็ดแบ่งออกเป็น ดังนี้
1. ระบาเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงจากมาตรฐาน คือ ระบาที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยยึดท่าทาง ลีลาตามเดิมไว้
แต่อาจเปลี่ยนแปลงในเรื่องของการแปรแถวและบทเพลงที่นามาใช้สอดแทรก เพื่อให้เหมาะสม
กับงานและสถานที่
2. ระบาเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงจากพื้นบ้าน คือระบาที่คิดประดิษฐ์ขึ้นจากการดารงชีวิตของคนใน
ท้องถิ่น ประเพณี วัฒนธรรมที่มีรูปแบบเป็นระบา และเป็นเอกลักษณ์การแสดงประจาท้องถิ่น
เช่น เต้นการาเคียว ระบาชาวนา ระบากะลา ระบาตารีกีปัส เป็นต้น
3. ระบาเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงจากลักษณะท่าทางของสัตว์ คือ ระบาที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อเลียนแบบ
ลักษณะท่าทางของสัตว์ มีลีลาท่าราเหมือนสัตว์ เช่น ระบาม้า ระบานกเขา ระบาบันเทิง
กาสร(ระบาควาย) ระบามฤคระเริง เป็นต้น
ระบาเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงตามเหตุการณ์ต่างๆ คือ ระบาที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้ในงานหรือโอกาสต่างๆ เช่น
ระบาโคมแสดงในวันลอยกระทง ระบานางสงกรานต์แสดงในวันสงกรานต์ เป็นต้น
ระบาเบ็ดเตล็ด หมายถึง การแสดงที่แต่งกายตามรูปแบบลักษณะการแสดง
นั้นๆ หรือการแสดงที่เป็นศิลปะเฉพาะท้องถิ่น ต่อมามีผู้คิดแต่งเพลงและประดิษฐ์ท่ารา และระบามาก
ขึ้น โดยนามาประกอบการแสดงโขนหรือละครบ้าง ประดิษฐ์ท่าราเป็นชุดเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ บ้าง เช่น
ระบาชุดโบราณคดี ระบาเริงอรุณ ระบาดอกบัว
ระบานพรัตน์ ระบาสี่ภาค ระบาชุมนุมเผ่าไทย
ระบาไตรภาคี ระบาตรีลีลา ระบาไกรลาศสาเริง ฯลฯ
ระบาสี่ภาค
ที่มาของภาพ ichat.in.th
นอกจากนี้ยังมีระบาที่คิดประดิษฐ์โดยเลียนอิริยาบถของสัตว์ต่าง ๆ ในท่วงท่านาฏศิลป์ เช่น
ระบามยุราภิรมย์ ระบากุญชรเกษม ระบามฤคระเริง
ระบาบันเทิงกาสร ระบาไก่ ระบานกสามหมู่
ระบาเงือก ระบาม้า ระบากินรีร่อน เป็นต้น
ระบากินรีร่อน
ที่มาของภาพ http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=abird&month=31-05-
2010&group=35&gblog=30
ครั้นต่อมาเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.2498 ได้มีการจัดการแสดงนาฏศิลป์ไทยไปเผยแพร่ในฐานะทูตวัฒนธรรมเพื่อ
เจริญสัมพันธไมตรีอันดีงามกับต่างประเทศ ตลอดจนแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม จึงมีระบามิตรสัมพันธ์
ต่างประเทศเกิดขึ้นอีก ได้แก่
ระบาจีน - ไทยไมตรี
ระบาพม่า - ไทยอธิษฐาน
ระบาลาว - ไทยปณิธาน
ระบามิตรไมตรีญี่ปุ่น - ไทย
ระบาจีน ไทยไมตรี
ที่มาของภาพ http://www.korattheatre.go.th
นอกจากนี้ยังได้มีการประดิษฐ์ชุดวีระชัยและกราวต่าง ๆ เช่น
ระบาวีระชัยลิง (สิบแปดมงกุฎ) ระบาวีระชัยยักษ์ (เสนายักษ์)
ระบาครุฑ ระบากราววีรสตรี
ระบากราวชัย เป็นต้น
ระบาวีระชัยยักษ์
ที่มาของภาพ http://www.korattheatre.go.th
ระบาอัศวลีลา
ระบาอัศวลีลาหรือระบาม้า จัดเป็นระบาในนาฏศิลป์ไทยที่เรียกว่า ระบาเบ็ดเตล็ด กรม
ศิลปากรได้สร้างสรรค์ขึ้นและใช้แสดงเป็นระบาแทรกอยู่ในละครเรื่อง รถเสน ตอนพระรถเสนจับม้า ระบาชุด
นี้ผู้ออกแบบท่าเต้น คือ หม่อมแผ้ว สนิทวงศ์เสนีย์ ผู้ประพันธ์เพลงประกอบ คือ อาจารย์มนตรี ตราโมท
ระบาอัศวลีลา เป็นการแสดงที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงความสง่า สวยงาม ความแข็งแรง ปราด
เปรียวของม้า ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงของมนุษย์ที่ใช้เป็นพาหนะ และในละครของไทย ม้าจะเป็นสัตว์ที่มีบทบาท
สาคัญตัวหนึ่งในหลายเรื่อง เช่น รถเสน ขุนช้างขุนแผน รามเกียรติ์ เป็นต้น ดังนั้น ลีลาท่าทางการเต้น
ของระบาชุดนี้จึงเลียนแบบกิริยาอาการของม้า ทั้งท่าเดินย่อง ย่างเท้า กระทืบเท้า โขยกเท้า และกระโดด
ดีดเท้า มีการใช้นาฏยศัพท์ เช่น ลักคอ วิ่งเหยาะ เป็นต้น สามารถแสดงได้ทั้งชายและหญิง วงดนตรีที่ใช้
ประกอบการบรรเลง คือ วงปี่พาทย์ ไม่มีบทขับร้อง ลักษณะการแต่งกายของระบาชุดนี้จะตัดเย็บเป็นรูป
ชุดเสื้อและกางเกงติดกัน สวมศีรษะเป็นรูปม้า สวมกระพรวนม้า บางครั้งใส่รองเท้าหุ้มส้นเตี้ยๆเพื่อให้เสียง
ดังเหมือนเกือกม้า
ระบาอัศวลีลา (ระบาม้า)
1.2(ละคร) ละครเป็นศิลปะการแสดงที่ถ่ายทอดออกเป็นเรื่องราว มีลีลาท่าราเข้ากับเนื้อร้อง บท
ร้อง
ทานองเพลง โดยจะใช้วงปี่พาทย์ในการบรรเลง มีทั้งละครชาวบ้านและละครหลวง เรื่องที่นามาแสดงเช่น
สังข์ทอง อุณรุท เป็นต้น แสดงในงานพิธีสาคัญและงานรื่นเริงต่างๆ
การแสดงละครเรื่อง สังข์ทอง การแสดงละครเรื่อง อุณรุท
1.3(รำและระบำ) ราและระบา เป็นการแสดงประกอบดนตรีและบทขับร้อง ไม่เล่นเป็นเรื่องราว
เน้นท่าราที่สวยงามและพร้อมเพรียง
รา เป็นการแสดงที่มีผู้แสดง 1-2 คน แบ่งเป็น ราเดี่ยวและราคู่
*ราเดี่ยว เช่น ราฉุยฉาย รามโนราห์บูชายัญ เป็นต้น
*ราคู่ เช่น หนุมานจับนางเบญกาย ราอวยพร ราเมขลารามสูร เป็นต้น
ระบา เป็นการแสดงที่มีผู้แสดงตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป เช่น ระบามฤคระเริง ระบาดาวดึงส์ ระบา
กฤดาภินิหาร ระบาเทพบันเทิง เป็นต้น
รา หมายถึง การแสดงที่มุ่งความงามของการร่ายรา จะมีบทร้องหรือไม่มีก็ได้จุดมุ่งหมาย
เป็นการแสดงความสามารถในการร่ายรา จาแนกออกได้ 2 ประเภท
ราเดี่ยว ใช้ผู้แสดงเพียงคนเดี่ยว แสดงถึงความสามารถของผู้ราศิลปะและลีลาของการร่ายรา
ตามแบบนาฏศิลป์ไทย เครื่องแต่งกาย ที่งดงามโดดเด่น การราเดี่ยวมักนิยมใช้เป็นชุดเบิกโรง ใช้แสดง
สลับฉาก หรือใช้แสดงในโอกาสต่างๆ เช่น ราฉุยฉายพราหมณ์ ราฉุยฉายทศกัณฑ์ลงสวน ราฉุยฉายวัน
ทอง ราพลายชุมพล รากริชสุหรานากง รามโนห์ราบูชายัญ
ราคู่ การราที่ใช้ผู้แสดง 2 คน ลักษณะการราคู่มี 2 ประเภท คือ การราคู่เชิงศิลปะการ
ต่อสู้ และการราคู่ชุดสวยงาม
ราเดี่ยว ฉุยฉายพราหมณ์ ราคู่ หย้าหรันตามนกยูง
1.4(การแสดงพื้นเมือง) การแสดงพื้นเมืองเป็นการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น เกิดจากภูมิ
ปัญญาของคนในท้องถิ่นมีทั้งราและระบา มีขึ้นเพื่อจุดประสงค์ที่แตกต่างกันไป เช่น มีการแสดงขึ้นเพื่อบูชา
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพื่อความสนุกสนานเพื่อผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อย เป็นต้น
การแสดงพื้นเมือง แบ่งออกเป็น 4 ภูมิภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ในแต่ละภูมิภาคจะมีการแสดงที่แตกต่างกันออกไปตามวัฒนธรรมความ
เป็นอยู่ของคนในภูมิภาคนั้น
นาฏศิลป์พื้นเมือง
ศิลปวัฒนธรรมการแสดงที่หลากหลายเป็นเอกลักษณ์ประจาถิ่น ภาษาทางนาฏศิลป์เรียกว่าการแสดง
พื้นเมืองหรือนาฏศิลป์พื้นเมือง เป็นการแสดงที่สะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละภูมิภาคในลักษณะของ
การร้อง รา ทาเพลง และระบา รา ฟ้อน มีนักวิชาการได้แบ่งประเภทการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองตามการ
กาเนิดพอสรุปได้
1. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากพิธีกรรมและความเชื่อ เช่น การราแม่ศรี การฟ้อนผีปู่ย่า เป็นต้น
2. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากการต่อสู้ เช่นกระบี่กระบอง การฟ้อนดาบ เป็นต้น
3. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากการเลียนแบบธรรมชาติ เช่น กิ่งกะหร่า เป็นต้น
4. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากวรรณกรรม เช่น การแสดงหมอลา ฟ้อนม่านมงคล ฟ้อนมโนห์รา
เล่นน้า ฟ้อนลาวแพน เป็นต้น
5. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากการแสดงของเผ่าต่างๆ เช่น ฟ้อนภูไท ฟ้อนเงี้ยว กิ่งกะหร่า มอง
เซิง
6. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากโบราณคดี เช่น ระบาสุโขทัย ระบาเชียงแสน ระบาลพบุรี ระบา
ทวาราวดี ระบาศรีวิชัย เป็นต้น
7. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากการประกอบอาชีพ เช่น ฟ้อนสาวไหม ระบาร่อนแร่ ระบาเก็บใบ
ชา เต้นการาเคียว เซิ้งกระติ๊บ เซิ้งแหย่ไข่มดแดง เป็นต้น
8. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่ประดิษฐ์ขึ้นตามเหตุการณ์ เช่น ฟ้อนเทียน ราโคม ฟ้อนเมือง เป็นต้น
9. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากประเพณีการละเล่นท้องถิ่น เช่น เซิ้งบั้งไฟ ดึงครกดึงสาก เป็นต้น
การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง ตามลักษณะภูมิประเทศ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ
วิถีชีวิตแบ่งเป็น 4 ภูมิภาคดังนี้
1. นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือ จากสภาพแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ที่เต็มไปด้วยทุ่งหญ้า
และภูเขานั้น ทาให้อากาศเย็นสบาย ผู้คนที่อาศัยอยู่ในภาคเหนือมีกิริยาท่าทางที่นุ่มนวลอ่อนหวานจึงทาให้
ศิลปะการแสดงมีความนุ่มนวลอ่อนช้อยสวยงาม
1.1 การฟ้อนบายศรี เป็นนาฏศิลป์ที่แสดงให้เห็นถึงการต้อนรับและการรับขวัญด้วยการ
ฟ้อนในพิธี บายศรีสู่ขวัญ ซึ่งจะมีการทาบายศรีที่ประดับด้วยดอกไม้และเครื่องหอมอย่างสวยงามมีการผูก
ด้ายสายสิญจน์ที่ข้อมือ หลังจากนั้นก็จะทาการเชิญขวัญและฟ้อนบายศรี โดยท่าราจะเป็นท่าราของชาวเหนือ
ต่อมาก็ได้วิวัฒนาการดัดแปลง โดยมีการผสมท่าราของภาคกลางด้วย แต่ยังคงความนุ่มนวลอ่อนช้อย การ
แต่งกายจะนุ่งผ้าที่มีเชิงที่ชายของผ้านุ่ง เสื้อแขนกระบอกยาวจรดข้อมือมีผ้าแพรคาดไขว้ที่เสื้อยาวจรดเข่า
ผมเกล้าสูงทัดดอกไม้และอุบะ การฟ้อนบายศรีจะใช้งานมงคลเท่านั้น
1.2 การฟ้อนเล็บ ผู้ฟ้อนเล็บจะต้องสวมเล็บยาวที่ทาขึ้นจากกระดาษวัสดุอื่น ยกเว้น
นิ้วหัวแม่มือ การฟ้อนเล็บจะแตกต่างกันออกไปตามแต่ละท้องถิ่น เช่น การฟ้อนเล็บของเชียงใหม่ การฟ้อน
เล็บของน่าน เป็นต้น การแต่งกายจะนุ่งผ้ามีเชิงที่ชายผ้านุ่ง เสื้อที่ใส่จะมีเสื้อข้างในและมีเสื้อนอกแขน
กระบอกยาวทับ ผมเกล้าเป็นมวยติดตอกไม้และห้อยอุบะ นิ้วมือทุกนิ้วจะสวมเล็บยาว ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือ
มักจะใช้แสดงในโอกาสต้อนรับแขกต่างเมือง หรือในเทศกาลสงกรานต์
1.3 ระบาเก็บใบชา เป็นชุดระบาที่เป็นผลงานประดิษฐ์ของนักศึกษานาฏศิลป์ กรมศิลปากร
โดยความควบคุมของอาจารย์ปราณี สาราญวงษ์ ลักษณะการแสดงชุดระบาเก็บใบชา เป็นการนาเสนอ
กรรมวิธีในการเก็บใบชาของชาวเขา ตั้งแต่เริ่มออกเดินทางไปเก็บใบชาในตอนเช้า นาใบชาคัดเลือกมาตาก
แล้วเดินทางกลับในตอนเย็น ผู้ประพันธ์เพลง คือ นายปกรณ์ รอดช้างเผื่อน ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง
ใช้ดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ ได้แก่ สะล้อ ซึง ปี่จุม และเครื่องประกอบจังหวะ
1.4 กลองสะบัดชัย เป็นกลองพื้นเมืองเหนือที่มีประเพณีนิยมการสร้างกลองประจาเมือง
เรียกว่า “กลองอุ่นเมือง” เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมือง ต่อมานิยมสร้างไว้ประจาวัด เรียกว่า กลอง
บูชากลองสะบัดชัยคงจะเป็นกลองที่ดัดแปลงมาภายหลัง เพื่อให้เคลื่อนย้ายได้สะดวกจึงมีขนาดเล็กลง และ
สามารถแบกหามไปในที่ที่ต้องการได้ การตีกลองสะบัดชัยผู้เล่นต้องออกลีลาท่าทางประกอบด้วย จึงจะเกิด
ความสนุกสนานเร้าใจ ปัจจุบันนิยมใช้ในงานแห่ขบวนต่างๆ
ฟ้อนเล็บ ระบาเก็บใบชา
2. นาฏศิลป์พื้นเมืองของภาคกลาง เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงวัฒนธรรมประเพณี
และอุปนิสัยของชาวภาคกลาง ที่นิยมเล่นสนุกสนานรื่นเริงกันเมื่อเสร็จจากการประกอบอาชีพในไร่นา หรือ
เทศกาลวันสาคัญต่างๆ เช่น ตรุษสงกรานต์ เข้าพรรษา เป็นต้น
2.1 รากลองยาวหรือเถิดเทิง เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่ใช้กลองยาวหลายใบพร้อมทั้งเครื่องตี
ที่ใช้ประกอบจังหวะ ได้แก่ ฉิ่ง กรับ โหม่ง และฉาบเคาะจังหวะประกอบเสียงกลองยาว ท่าทางการร่ายรา
จะมีหลายท่า จึงจาเป็นที่ผู้ราต้องฝึกหัดให้มีความชานาญจึงจะแสดงเข้ากับจังหวะได้ดี เชื่อกันว่ากลองยาวมี
ถิ่นกาเนิดจากชนบท ต่อมากรมศิลปากรได้นามาปรับปรุงและประดิษฐ์ท่าราและจังหวะกลองให้สอดคล้อง
กลมกลืน ซึ่งก็ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย
2.2 ราสีนวล เป็นการแสดงที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงท่วงท่าการร่ายราที่เป็นนาฏศิลป์พื้นเมือง
ของไทย ที่แสดงให้เห็นถึงความรื่นเริง และเป็นการชักชวนกันมาร่ายราอย่างสนุกสนานเริ่มต้นการแสดงด้วย
การขับร้องเพลงสีนวล ซึ่งมีความหมายเกี่ยวกับบรรยากาศ และแสงสว่างในตอนเช้าที่มีลักษณะเป็นสีเหลือง
นวล ทาให้คิดถึงบรรยากาศที่สดชื่น ผู้แสดงก็จะแสดงท่วงท่าการร่ายราที่สื่อความหมายไปตามบทเพลง
2.3 เต้นการาเคียว เป็นเพลงพื้นเมืองของชาวบ้านจังหวัดนครสวรรค์ นิยมเล่นตามท้องนา
ในฤดูกาลลงแขกเกี่ยวข้าว ร้องเล่นเพื่อความรื่นเริงสนุกสนาน ผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อยเมื่อ พ.ศ. 2504
ศิลปินของกรมศิลปากร ได้ไปฝึกหัดการเล่นเต้นการาเคียว จากชาวบ้านตาบลย่านมัทรี อาเภอพยุหะคีรี
จังหวัดนครสวรรค์ ต่อมากรมศิลปากรได้ปรับปรุงการเล่นเพื่อให้เหมาะกับการนาออกแสดงในงานบันเทิง
โดยให้นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญนาฏดุริยางค์ไทยกรมศิลปากร และศิลปินแห่งชาติแต่งทานองเพลง
ประกอบการแสดงตอนต้นก่อนร้องบทโต้ตอบและตอนจบบทร้อง ผู้แสดงทั้งชายและหญิงมือขวาถือเคียว มือ
ซ้ายถือการวงข้าว ทาท่าตามกระบวนเพลงร้องเย้าหยอกเกี้ยวพาราสีกัน บทร้องมีอยู่ 11 บท คือ บทมา
ไป เดิน รา ร่อน บิน ยัก ย่อง ย่าง แถ ถอง และเพลงในกระบวนนี้ ผู้เล่นอาจดันกลอนพลิกเพลงบท
ร้องสลับรับกันด้วยความสนุกสนาน บางครั้งในการแสดงอาจตัดบทร้องบางบทเพื่อความกระชับ ใช้วงปี่
พาทย์บรรเลงเพลงนา และตอนจบ ( บทเพลง มาเถิดเอย เอยราแม่มา มารามาแม่มา ฯ)
เต้นการาเคียว เถิดเทิง
3.นาฏศิลป์พื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภาคที่มีประเพณีที่เน้นความสนุกสนานรื่นเริง เช่น
งานบุญบั้งไฟ งานแห่นางแมว ศิลปะการแสดงจึงมีลักษณะที่สนุกสนาน
3.1 เซิ้งบั้งไฟ เป็นประเพณีสืบทอดมาจากการจุดบั้งไฟเพื่อบูชาพระยาแถนบนสรวงสวรรค์
ให้ช่วยบันดาลให้ฝนตกตามฤดูกาล และสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน การฟ้อนรา และท่าราต่างๆจะไม่มี
เป็นแบบแผนตายตัว แต่จะเป็นเพียงการยกมือร่ายราไปตามจังหวะการราเซิ้งบั้งไฟ
3.2 หมอลา แบ่งเป็นหมอลากลอน และหมอลาหมู่
หมอลำกลอน แบ่งได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ หมอลาเชิงชู้และหมอลาประชันกัน
หมอลาเชิงชู้ จะมีผู้แสดงเป็นผู้หญิง 1 คน และผู้แสดงชาย 2-3 คน สมมุติบทบาทของ
ตนเองให้เป็นพ่อค้า ข้าราชการ ชาวนา โดยให้ผู้หญิงเป็นผู้เลือก ผู้แสดงชาย 2-3 คนจะต้องโต้คารมบอก
ความดีของตนเอง
หมอลาประชันกัน แบ่งเป็นคู่ชาย หญิง และทีละหลายคนแล้วปะทะคารมกัน ส่วนใหญ่จะ
เป็นเรื่องของนิทาน
หมอลำหมู่ ซึ่งเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หมอลาเพลิน จะแสดงคล้ายคลึงกับการเล่นลิเก
ของภาคกลาง เรื่องที่เล่นก็จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับนิทานจักรๆ วงศ์ๆ
3.3 เซิ้งแหย่ไข่มดแดง อาหารอีสานส่วนใหญ่จะได้มาจากธรรมชาติ ทั้งที่เป็นสัตว์เล็กสัตว์
น้อยและพืชพันธ์ต่างๆ นับได้ว่าชาวอีสานเป็นนักกินผู้หนึ่งทีเดียว ไข่มดแดงถือเป็นอาหารประจาถิ่นอีสานจน
สามารถนามาขายกลายเป็นอาชีพได้ ทางภาควิชานาฏศิลป์ วิทยาลัยครูบุรีรัมย์เห็นว่าควรจะอนุรักษ์อาชีพ
แหย่ไข่มดแดงนี้ในรูปของการแสดง จึงได้ทาการศึกษาถึงขั้นตอนการนาไข่มดแดงลงมาของชาวบ้าน โดย
อาจารย์ประชัน คะเนวัน และอาจารย์ดรรชนี อุบลลิศ เป็นผู้เขียนรายละเอียดของขั้นตอนการแหย่ไข่มด
แดงโดยละเอียด การแสดงเซิ้งแหย่ไข่มดแดงเป็นการอนุรักษ์อาชีพของชาวอีสานอย่างหนึ่ง
เซิ้งแหย่ไข่มดแดง เซิ้งโปงลาง
4.นาฏศิลป์พื้นเมืองของภาคใต้ นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคใต้นับเป็นเอกลักษณ์การแสดงพื้นบ้านที่โดดเด่นเพราะ
ชาวใต้มีภาษาท้องถิ่น ประเพณีและวัฒนธรรมการแต่งกายและการแสดงที่ผสมผสานกับเพื่อนบ้านชาวมลายู
ดังนั้นนาฏศิลป์พื้นเมืองของชาวใต้จึงมีทั้งความสวยงามที่เป็นท้องถิ่นและการผสมผสานวัฒนธรรม
4.1 โนรา เป็นนาฏศิลป์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในบรรดาศิลปะการแสดงของภาคใต้ มี
ความยั่งยืนมานับเป็นเวลาหลายร้อยปี การแสดงในโนราเน้นท่าราเป็นสาคัญ ต่อมาได้นาเรื่องราวจาก
วรรณคดีหรือนิทานท้องถิ่นมาใช้ในการแสดง เรื่อง พระสุธน-มโนห์รา เป็นเรื่องที่มีอิทธิพลต่อการแสดงมาก
ที่สุดจนเป็นเหตุให้เรียกว่าการแสดงนี้ว่า มโนห์รา
การราโนรา เป็นการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองของชาวไทยในภาคใต้ที่ถ่ายทอดต่อกันมา ทั้งนี้การราโนรามีท่า
ราซึ่งเชื่อว่าได้มาจากความประทับใจต่อธรรมชาติ ผู้ร่ายราจะต้องมีความสามารถในการทรงตัว การทอด
แขน ตั้งวง หรือลีลาการใช้ช่วงขาในรูปแบบต่างๆ
การแต่งกายของโนราจะใช้ลูกปัดประดับประดาห้อยร้อยเป็นพื้น ทาให้มีความสวยงามคล้ายกับขน
นกที่ศีรษะจะสวม เทริด (อ่านว่า เซิด) การแต่งกายของโนรานั้นจะต้องผ่าน พิธีไหว้ครู โดยจะต้องนาเทริด
และเครื่องแต่งกายชิ้นอื่นๆตั้งบูชาไว้บนหิ้ง เมื่อสวมใส่เครื่องแต่งกายจะต้องใช้คาถากากับ โดยเฉพาะการ
สวมเทริดนั้นจะต้องใช้ผ้ายันต์สีขาวโพกศีรษะก่อนสวมเทริดทับ การแสดงโนราจะแสดงเพื่อความบันเทิง
ทั่วๆไป หรืองานกุศล แต่ไม่นิยมแสดงในงานศพ และงานมงคลสมรส
4.2 รองเง็ง เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่เน้นความงดงามของลีลาการใช้เท้าให้เข้ากับจังหวะ
กลองรามะนา ฆ้อง และไวโอลิน โดยแบ่งฝ่ายเป็นชาย หญิง เริ่มแรกฝ่ายหญิงจะร้องเพลงเชิญชวนให้ผู้ชม
ร่วมเต้นด้วย เพลงที่ร้องจะเป็นเพลงพื้นเมืองของภาคใต้ และเพลงเหล่านี้จะมีท่าเต้นประกอบที่กาหนดเป็น
แบบแผนคลายกับราวงมาตรฐาน การเต้นจะเน้นลีลาการเต้นที่หลบหลีกหลอกล่อ มีการเล่นหูเล่นตากัน
ระหว่างผู้แสดงชายและหญิง รวมทั้งแสดงให้เห็นถึงความพร้อมเพรียงของการแสดง
ราโนห์รา ระบาร่อนแร่
นาฏศิลป์นานาชาติ
การแสดงนาฏศิลป์เป็นศิลปวัฒนธรรมแขนงหนึ่ง ที่มีความงดงามมีแบบแผน สะท้อนถึงเอกลักษณ์
ความเป็นเชื้อชาติที่เด่นชัดของเจ้าของลักษณะการแสดงนั้น ตัวอย่างเช่น นาฏศิลป์อินเดีย นาฏศิลป์จีน
นาฏศิลป์ญี่ปุ่น บัลเล่ต์ การแสดงระบาพื้นเมือง
1. นาฏศิลป์อินเดีย กาเนินจากความเชื่อและความศรัทธาในตัวเทพเจ้าตามลัทธิฮินดู ตามคัมภีร์
นาฏยศาสตร์ (ตาราการฟ้อนรา)
พระภาระตะมุนีได้รับพระราชทานถ่ายทอดท่าทางการฟ้อนราจากพระพรหมและพระศิวะ เทพเจ้าที่
ชาวฮินดูยกย่องว่าเป็นเทพเจ้าแห่งการฟ้อนรา นาฏศิลป์อินเดียเป็นต้นแบบของนาฏศิลป์ในชาติตะวันออก
เช่น ไทย เขมร พม่า อินโดนีเซีย นาฏศิลป์อินเดียวเป็นต้นแบบ ได้แก่ การแสดงชุดภารตะนาฏยัม ชุ
ดกถักกฬิ ชุดมณีปุระ
2. นาฏศิลป์จีน กาเนิดจากพิธีกรรมทรงเจ้า การบวงสรวงบูชาด้วยระบาที่เรียกว่า “รามาอู๋อู”
เนื่อง
จากแผ่นดินจีนประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติอยู่เป็นประจา การแสดงระบาทรงเจ้าในพิธีศาสตร์เพื่อบาบัด
ความทุกข์ เจ็บไข้ เดือดร้อนของประชาชนชาวจีน เป็นศิลปะที่มีการสืบทอดมาอย่างยาวนาน มีความเก่าแก่
มากที่สุด และพัฒนามาเป็นละครแบบต่างๆในราชสานักและเป็นที่นิยมของชาวจีนมากที่สุด คือ อุปรากรจีน
หรือที่คนไทยเรียกว่า งิ้ว อุปรากรจีนที่มีชื่อเสียงเป็นแบบมาตรฐานเป็นที่ยอมรับและนับเป็นศิลปะประจา
ชาติ คือ อุปรากรจีนปักกิ่ง
3. นาฏศิลป์ญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ได้รับการรุกรานทางวัฒนธรรมจากจีนจักรพรรดิญี่ปุ่นจึงมี
นโยบายที่จะปลูกฝังให้ประชาชนรักชาติและเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมประจาชาติ นาฏศิลป์ญี่ปุ่นในสมัย
โบราณมาจากความเชื่อทางศาสนาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์การแสดงออกมาจากวัด และขยายตัวเข้าสู่ราชสานัก
นาฏศิลป์ญี่ปุ่น ได้แก่ ละครคาบูกิ ละครโนะ และเคียวเง็น
ละครคาบูกิ มีต้นกาเนิดมาจากการแสดงหุ่นรากุชา และละครโนะ มีการนาเสนอเรื่อง
เช่นเดียวกับ โขน ละคร ของไทย จุดเด่นอยู่ที่ศิลปะในการแสดงที่ต้องได้รับการฝึกฝนเป็นอย่างดี มีแบบ
แผนในการแสดง เช่น การแต่งกายของผู้แสดง ตัวพระเอกแต่งหน้าสีขาว ผู้ร้ายจะแต่งหน้าสีแดง เส้นทุก
เส้นที่เขียนหน้าจะบอกอายุ อารมณ์ และตาแหน่งของตัวละคร
ละครโนะ เป็นศิลปะชั้นสูงประจาชาติของประเทศญี่ปุ่น มีแบบแผนการแสดงเป็นเอกลักษณ์
เช่น ผู้แสดงสวมหน้ากากมีสีสันสวยสดสร้างด้วยความประณีต เสื้อผ้าหรูหราสัมพันธ์ กับหน้ากาก ส่วน
ละครเง็นเคียว เป็นละครที่แสดงสลับฉากกับละครโนะ เพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด
4. บัลเลต์ คือการเต้นระบาปลายเท้าที่เน้นการใช้ความสามารถของเท้าเป็นหลักประกอบกับการใช้
ลีลาของมือและแขน กาเนิดขึ้นใน ค.ศ.ที่ 15 ในราชสานักฝรั่งเศส
5. การแสดงระบำพื้นเมือง เป็นการเต้นราประจาท้องถิ่นหรือของประเทศ แสดงออกด้วยความสนุก
สนานระหว่างการทามาหากิน หรือในพิธีตามโอกาสต่างๆแสดงให้เห็นถึงสภาพวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี
เช่น ระบาสเปน ระบาสก๊อต การราดาบ การเต้นของอินเดียวแดง ฯลฯ
การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุดการแสดงก็ได้รับอิทธิพลของนาฏศิลป์นานาชาติมาใช้ในการสร้างสรรค์
ท่ารา โดยที่เห็นได้เชิงประจักษ์ในการแสดงนาฏศิลป์นานาชาติ ชุด “ระบาชุมนุมเผ่าไทย”
การแสดงงิ้ว (อุปรากรจีน) ระบาชุมนุมเผ่าไทย
การแสดงบัลเลย์ นาฎศิลป์ญี่ปุ่น
รายการอ้างอิง
อาจารย์จินตนา สายทองคา หัวหน้าภาควิชานาฏศิลป์ คณะศิลปนาฏดุริยางค์
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 , หน้า 673.
มนตรี ตราโมท. เอกสารประกอบการสอนวิชาประวัติการละครไทย,วิทยาลัยนาฏศิลป, พ.ศ.2527.
อาภรณ์ มนตรีศาสตร์ และ จตุรงค์ มนตรีศาสตร์.วิชานาฏศิลป์, หน้า 74.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525,หน้า 285.
เรณู โกศินานนท์ และคณะ,ดนตรีศึกษา,หน้า 86.
อาภรณ์ มนตรีศาสตร์ และ จาตุรงค์ มนตรีศาสตร์,วิชานาฏศิลป์,หน้า 74.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525,หน้า 703.
นิตยา จามรมาน และคณะ,ศ 035 การแสดงละคร 1 , หน้า 1.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ศิลปะการละครเบื้องต้น 1 , 2 ตอนที่ 1 ,หน้า 1.
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3

More Related Content

What's hot

การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
Panomporn Chinchana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
kalayatookta
 
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
Parit_Blue
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
Panomporn Chinchana
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
bmbeam
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
 
ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
คีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยคีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทย
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
โขน
โขนโขน
โขน
 
โทรทัศน์และภาพยนตร์ - กรวยประสบการณ์ของ Edgar Dale
โทรทัศน์และภาพยนตร์ - กรวยประสบการณ์ของ Edgar Daleโทรทัศน์และภาพยนตร์ - กรวยประสบการณ์ของ Edgar Dale
โทรทัศน์และภาพยนตร์ - กรวยประสบการณ์ของ Edgar Dale
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
Panomporn Chinchana
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
Panomporn Chinchana
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
Yatphirun Phuangsuwan
 
เล่มที่1
เล่มที่1เล่มที่1
เล่มที่1
Art Nan
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2
Kruanchalee
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
Yatphirun Phuangsuwan
 
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
Prankthip Dao
 

Viewers also liked (16)

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
นาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทยนาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทย
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
เล่มที่1
เล่มที่1เล่มที่1
เล่มที่1
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3

ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
nasaporn
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
อำนาจ ศรีทิม
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2
Kruanchalee
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
อำนาจ ศรีทิม
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
PUy Praputsron
 
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
Anawat Supappornchai
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
Kruanchalee
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
0898230029
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
0894239045
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่น
FaRung Pumm
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3 (20)

หน้า 1
หน้า 1หน้า 1
หน้า 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
 
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
หนังสือประกอบการเรียนการสอนทัศนศิลป์ ป4 2557 02
หนังสือประกอบการเรียนการสอนทัศนศิลป์ ป4  2557 02หนังสือประกอบการเรียนการสอนทัศนศิลป์ ป4  2557 02
หนังสือประกอบการเรียนการสอนทัศนศิลป์ ป4 2557 02
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdfประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่น
 

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ รูปแบบการแสดง เรื่อง รูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน นาฏศิลป์นานาชาติ โดย นางสาวพนมพร ชินชนะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สำรักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
  • 2. คานา เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง รูปแบบการแสดง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่ง ประกอบด้วยเรื่อง นาฏศิลป์ไทย ละครไทย ระบาเบ็ดเตล็ด นาฏศิลป์พื้นเมือง นาฏศิลป์ นานาชาติ ได้จัดทาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชา นาฏศิลป์ และ สามารถใช้ควบคู่ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได้ในขณะเวลาเดียวกัน ช่วยให้นักเรียนมี ความรู้ความเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว โดยได้รวบรวมและสรุปเนื้อหาสาระจากหนังสือและ แหล่งข้อมูลต่างๆพร้อมรูปภาพมาจัดทาเป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์ ซึ่งนักเรียนสามารถนาไปศึกษา เพิ่มเติมทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนได้ในโอกาสต่อไป พนมพร ชินชนะ
  • 3. นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่สร้างความเพลิดเพลิน สนุกสนาน เกิดขึ้นจากการ เลียนแบบกิริยาท่าทางของคนและสัตว์ มีจุดมุ่งหมายคล้ายกับอารยธรรมของอินเดีย คือ เป็นการละเล่นเพื่อ ความผ่อนคลายและการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การแสดงนาฏศิลป์จะต้องประกอบด้วย การฟ้อนรา ดนตรี และ การขับร้อง นามาผสมผสานจนเกิดเป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่สวยงาม การแสดงนาฏศิลป์ไทยแบ่งออกเป็น โขน ละคร ราและระบา ซึ่งมีรูปแบบการแสดงที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้ 1.1(โขน) โขน เป็นการแสดงนาฏศิลป์ชั้นสูง ที่ผู้เล่นจะต้องสวมศีรษะโขน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของ การแสดงโขน มีลีลา ท่ารา ท่าเต้น ประกอบบทพากย์ เจรจา และขับร้อง การแต่งกายมีความ สวยงามเป็นการแสดงที่มีแบบแผน เรื่องที่นิยมแสดงคือเรื่อง รามเกียรติ์ โขน เป็นนาฏศิลป์ที่ประกอบไป ด้วยศิลปะอันประณีต และงดงามมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่มีปรากฏแสดงในงานสาคัญๆของบ้านเมือง ผู้แสดง ต้องมีทักษะในการใช้เท้าเต้นออกท่าทางประกอบเพลงร้อง บทพากย์ บทเจรจา ตลอดจนเพลงหน้าพาทย์ที่ ใช้ประกอบการแสดง ตัวแสดงในเรื่องมี พระ นาง ยักษ์ ลิง มีการสวมหัวปิดหน้าที่เรียกว่า หัวโขน เรื่องที่แสดงคือ เรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งเนื้อเรื่องส่วนใหญ่เป็นการทาสงเคราะห์ระหว่างพระราม กษัตริย์แห่ง นคร อโยธยา กับทศกัณฑ์ พญายักษ์ แห่งกรุงลงกา และเนื่องจากเนื้อ เรื่องของรามเกียรติ์ยาวมาก จึงได้มีการแบ่งเรื่องราวออกเป็นตอนๆ เพื่อสะดวกในการนามาแสดง กำเนิดโขน 1.โขนมาจากการแสดง “หนังใหญ่” ที่เป็น โขน รามเกียรติ์ มหรสพของไทยโบราณ มีลักษณะการแสดงประกอบไปด้วย การเชิดตัวหนังที่ทามาจากหนังวัวแกะสลัก เป็นภาพในเรื่อง รามเกียรติ์ ผู้แสดงจะต้องแสดงลีลาการเชิดตัวหนังไปพร้อม กับการเต้นตามจังหวะของวงปี่พาทย์ที่หน้าจอโดยใช้แสงไฟ จากด้านหลังจอ ทาให้ภาพเงาตัวหนังไปปรากฏบนหน้าจอหนัง หนังใหญ่
  • 4. และยังต้องมีคนพากย์เจรจาด้วย ซึ่งการแสดงโขนนั้นมีทั้ง การพากย์ เจรจา การขับร้อง การเต้นและรา ทาท่าตามบทพากย์และตามเพลงหน้าพาทย์ จึงเห็นได้ว่า การแสดงโขนได้รับอิทธิพลด้านศิลปะการแสดง จากการแสดงหนังใหญ่ 2.โขนมาจากการเล่น “กระบี่กระบอง” ซึ่งเป็นศิลปะการต่อสู้ของคนไทยโบราณที่จะต้อง ฝึกหัดให้มีความเชี่ยวชาญกับการใช้อาวุธของไทยหลายชนิดในกระบวนท่าต่างๆไว้สาหรับป้องกันตนเองและ เทศชาติ อีกทั้งเป็นการประชันกันในเชิงฝีมือไหวพริบในการต่อสู้การหลอกล่อหลบหลีก ยั่วยุตู่ต่อสู้ จาก ลีลาท่าทางเหล่านี้ กรแสดงโขนในสมัยโบราณน่า จะรับเอาแบบอบ่างที่ใช้ในศิลปะการต่อสู้ มาปรับปรุงประดิษฐ์เป็นท่าทางการเต้น การเยื้องกรายและเป็นท่าทางร่ายรา ของการต่อสู้ในการแสดงโขน กระบี่กระบอง 3.โขนมาจากการเล่น “ชักนาคดึกดาบรรพ์” อันเป็นการทาพิธีกรรมในตานานเรื่อง นารายณ์ตอนกวนน้าอมฤต ที่ประกอบไปด้วยฝ่ายอสูร และฝ่ายเทวดา วานร มีการแต่งกายเป็นพวกอสูร เทวดา วานร เข้าขบวนแห่ พร้อมด้วยเครื่องพิธีต่างๆด้วยเหตุนี้โขนจึงได้นาเอาศิลปะการแสดงจากแบ่งฝ่าย การเล่นและศิลปะการแต่งกายมาจากการเล่นชักนาคดึกดาบรรพ์ ลักษณะการแต่งกายในการแสดงโขนนั้น ตัวละครแบ่งออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ฝายยักษ์ ฝ่ายลิง ฝ่ายมนุษย์และเทวดา ซึ่งแต่ละฝ่ายจะแต่งกายตามแบบที่เรียกว่า “ยืนเครื่อง” ทุกตัวแต่จะ ลดหลั่นความงดงามไปตามฐานะของตัวละครในเรื่อง ตัวสาคัญแต่งกายคล้ายคลึงกัน จะต่างกันที่สีของเครื่อง แต่งกาย และลักษณะของหัวโขน เครื่องแต่งกายฝ่านมนุษย์และเทวดา จะเป็นการแต่งกายแบบยืนเครื่อง ตัวละครที่สาคัญมากจะระบุสีเสื้ออย่างชัดเจน ชักนาคดึกดาบรรพ์
  • 5. วิวัฒนาการของการแสดงโขน โขนได้วิวัฒนาการดัดแปลง โดยการนาเอาศิลปะของการละเล่นหลายอย่างมาผสมกัน ด้วยวิธีต่างๆทาให้การแสดงโขนมีลักษณะลีลาการแสดงที่แตกต่างกันออกไป แบ่งได้เป็น 5 ประเภท คือ 1.)โขนกลางแปลง 2.) โขนนั่งราว 3.)โขนหน้าจอ 4.)โขนโรงใน 5.)โขนฉาก 1.1โขนกลางแปลง คือ การแสดงโขนบนพื้นดินกลางสนามกว้างๆ ไม่มีเวที ใช้ธรรมชาติเป็นฉาก ประกอบการแสดง นิยมแสดงการยกทัพและการรบกันเป็นส่วนใหญ่ จึงใช้ผู้แสดงจานวนมาก ไม่มีการขับ ร้อง มีแต่ดนตรีบรรเลงหน้าพาทย์ประกอบการยกทัพ ดาเนินเรื่องด้วยคาพากย์และเจรจา 1.2โขนโรงนอกหรือโขนนั่งราว คือ การแสดงโขนที่จัดแสดงบนโรงมีหลังคาตรงหน้าฉากช่อง สาหรับให้ตัวแสดงออก ไม่มีเตียงสาหรับผู้แสดงนั่ง แต่ราวพาดไว้ตามส่วนยาวของโรง ผู้แสดงเดินได้รอบราว เมื่อตัวโขนแสดงบทของตัวเสร็จก็จะกลับมานั่งอยู่บนราวดามเดิม โขนชนิดนี้มีแต่ดนตรี การพากย์ และ เจรจา ไม่มีการขับร้องเช่นเดียวกับโขนกลางแปลง 1.3โขนหน้าจอ คือ การแสดงโขนบทเวทีกลางแจ้งหน้าจอหนังใหญ่ ซึ่งฉากด้านหลังปรับปรุง มาจากจอหนังจะเขียนเป็นรูปปราสาทราชวังสมมติว่าเป็นกรุงลงกา อีกข้างหนึ่งเขียนรูปพลับพลาที่ประทับ ของพระรามพร 1.4โขนโรงใน คือ การแสดงโขนที่ปรับปรุงผสมผสาน โดยนาเอาการแสดงโขนและละครในมา ผสมกัน การแสดงจึงมีทั้งการออกท่าราและท่าเต้น มีการพากย์เจรจาตามแบบโขนรวมทั้งมีเพลงร้องและ ประกอบกิริยาต่างๆ แบบละครในและมีระบา รา ฟ้อน ผสมเข้าด้วยกัน 1.5โขนฉาก คือ การแสดงโขนที่มีการสร้างฉากประกอบ เกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 วิธีการแสดง ผสมผสานระหว่างโขนโรงในและละครใน มีบทพากย์เจรจาขับร้องประกอบการเต้นและร่ายราโดยใช้เพลง หน้าพาทย์แบบละครในและโขนโรงใน ฉากจะเปลี่ยนไปตามท้องเรื่องโขนฉากนี้เป็นโขนที่นิยมแสดงใน ปัจจุบัน โขนกลางแปลง โขนโรงใน
  • 7. ประเภทของละครไทย ละครรำ 1. ละครราแบบดั้งเดิม คือ ละครที่ใช้ศิลปะการร่ายราในการดาเนินเรื่องได้แก่ ละครชาตรี ละครนอก ละครใน 2.ละครราที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ คือ ละครที่ใช้ศิลปะการร่ายราในการดาเนินเรื่องโดยมีการปรับปรุงวิธีการแสดง ขึ้นใหม่ ได้แก่ ละครพันทาง ละครดึกดาบรรพ์ ละครเสภา ละครที่ไม่ใช่ละครรำ 1.ละครร้อง คือ ละครที่ใช้ศิลปะการร้องดาเนินเรื่องเป็นละครแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก 2.ละครพูด คือ ละครที่ใช้ศิลปะการพูดดาเนินเรื่องเป็นละครแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก 3.ละครสังคีต เป็นละครที่ใช้ศิลปะการพูดและการร้องดาเนินเรื่องเท่าๆกัน จะตัดส่วนใดออกเสียมิได้ เพราะ มีถ้อยคาที่เป็นเนื้อเรื่องบรรจุอยู่ ละครรำแบบดั้งเดิม ละครชาตรี เป็นละครที่มีอายุเก่าแก่ เป็นต้นแบบของละครชนิดต่างๆ มีลักษณะเป็นละคร เร่มักนิยมแสดงเรื่องพระสุธน-มโนห์รา ละครชนิดนี้เป็นที่นิยมของคนภาคใต้เรียกว่า “โนรา” ส่วนความ นิยมทางภาคกลางเรียกว่า “ชาตรี” ที่หาดูได้ในงานแก้บน ในบางครั้งอาจเรียกรวมกันว่า “โนราห์ชาตรี” ละครชนิดนี้ได้แพร่หลายเข้ามายังกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ละครนอก มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่เดิมคงมาจากการละเล่นละครพื้นเมืองและร้องแก้ กัน แล้วต่อมาภายหลังจับเป็นเรื่องเป็นตอนขึ้น เป็นละครที่ดัดแปลงวิวัฒนาการมาจากละครในราห์หรือ ชาตรี โดยปรับปรุงวิธีแสดงต่างๆตลอดจนเพลงร้องและดนตรีประกอบให้แปลกออกไป ละครใน มีหลายชื่อ เช่นละครใน ละครข้างใน ละครนางใน และละครในพระราชฐาน สันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แสดงมาจนถึงสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์เป็นละครที่ได้รับอิทธิพล รูปแบบวิธีการแสดงจากการแสดงละครนอก บรรดานางราในเขตพระราชฐานได้รับการฝึกหัดถ่ายทอดจากครู ที่แสดงละครนอกเขตพระราชฐาน แล้วนาไปแสดงถวายหน้าพระที่นั่ง
  • 9. ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ ละครพันทาง เป็นละครแบบผสมผสานที่เกิดจากแนวคิดของเจ้าพระยามหินทร์ศักดิ์ธารงที่ นาพงศาวดารมาแสดงละคร โดยใช้ท่าราที่ดัดแปลงมาจากชาติอื่นๆ มาผสมกับท่าราไทยและท่าที่เป็น ธรรมชาติของสามัญชนเข้ามาผสมด้วย ให้มีแนวแปลกออกไป ละครดึกดาบรรพ์ เป็นละครที่เกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 เกิดจากการที่เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์ วิวัฒน์เดินทางไปยุโรปและได้มีโอกาสชมละครโอเปร่า เมื่อกลับมาท่านจึงคิดทาละครโอเปร่าแบบไทยออก แสดง ณ โรงละครของท่านชื่อว่า “โรงละครดึกดาบรรพ์” จึงเรียกชื่อละครรูปแบบใหม่นี้ตามชื่อโรงละคร ละครเสภา มีลักษณะของการแสดงคล้ายละครนอก แต่ต้องมีขับเสภาแทรกอยู่ด้วยจึงจะเป็น ละครเสภา ก่อนที่จะเกิดมีละครเสภาขึ้น เข้าใจว่ามีการขับเสภาเป็นเรื่องเป็นราวมาก่อน เรื่องที่นามาขับ เสภาและนิยมก้นอย่างแพร่หลายคือเรื่อง ขุนช้างขุนแผน การขับเสภาตั้งแต่สมัยโบราณนั้นไม่มีเครื่องดนตรี ชนิดใดประกอบนอกจากกรับ ครั้นต่อมาจัดวงปีพาทย์เข้าเป็นอุปกรณ์การขับเสภาโดยให้แทรกเพลงร้องส่ง ให้ปี่พาทย์รับและบรรเลงเพลงหน้าพาทย์เหมือนอย่างการแสดงละครนอก ตอนใดดาเนินเรื่องก็ขับเสภา ตอนใดเป็นถ้อยคาราพันหรือข้อความอื่นที่ควรแก่การร้องส่งก็ร้อง ตอนใดเป็นบทไปมาหรือรบกัน ปี่พาทย์ก็ บรรเลงเพลิงเชิดประกอบ ต่อมาวิวัฒนาการให้มีผู้แสดงออกมาแสดงตามบทเสภาและบทร้อง ละครดึกดาบรรพ์ (สังข์ทอง) ละครพันทาง (ราชาธิราช) ละครเสภา (ขุนช้างขุนแผน)
  • 10. ละครที่ไม่ใช่ละครรา ละครร้อง เป็นละครที่ใช้การร้องเป็นหลักในการดาเนินเรื่อง ทั้งบอกกิริยาอาการบทคานึงที่ ใช้ลูกคู่ร้องอยู่ในโรง และบทคาพูดที่ตัวละครจะต้องร้องเอง ไม่มีการรา แต่ใช้ท่าทางหรือกิริยาอาการอย่าง สามัญชนทั่วไป เดิมที่ใช้ผู้หญิงแสดงล้วน ต่อมาใช้ผู้แสดงทั้งหญิงและชาย มีการเปลี่ยนฉากไปตามท้องเรื่อง และนิยมนา นวนิยายเรื่องต่างๆมาประพันธ์เป็นบทละครใช้เป็นการแสดงละครในประเภทนี้ ละครพูด เป็นละครสมัยใหม่ที่ได้รูปแบบมาจากการแสดงละครตะวันตก ใช้การพูดดาเนิน เรื่อง แสดงท่าทางประกอบคาพูดอย่างสามัญชน เดิมที่ใช้ผู้หญิงแสดงล้วน ต่อมาใช้ผู้แสดงทั้งหญิงและชาย มีการเปลี่ยนฉากไปตามท้องเรื่อง บทละครพูดพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ บทละครไว้หลายลักษณะได้แก่ ละครพูดปลุกใจ ละครพูดชวนหัว ละครพูดกินใจ ละครสังคีต เป็นละครที่ดาเนินเรื่องด้วยบทพูดและบทร้องถ้าตัดส่วนใดส่วนหนึ่งออกก็จะทา ให้ไม่สามารถดาเนินเรื่องได้ เพลงไพเราะ เดิมทีใช้ผู้ชายแสดงล้วน ต่อมาใช้ผู้แสดงทั้งชายและหญิงมีการ เปลี่ยนฉากไปตามท้องเรื่อง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์บทละครสังคีตไว้ หลายเรื่องด้วยกัน ได้แก่ เรื่องวิวาห์พระสมุทร วั่งตี่ เป็นต้น ละครร้อง (สาวเครือฟ้า) ละครพูด ( มัทนะพาธา ) ละครสังคีต( หงส์ทอง )
  • 11. การแสดง ระบา รา ฟ้อน ระบา หมายถึงศิลปะการร่ายราที่แสดงพร้อมกันเป็นหมู่เป็นชุด ไม่มีการดาเนินเรื่องราว ท่า ราอาจมีความหมายเข้ากับเนื้อเรื่อง หรือไม่มีความหมาย เป็นศิลปะที่มุ่งถึงความพร้อมเพรียง ความ สวยงามในการใช้ลีลาท่ารา ความสวยงามของการแต่งกาย และการรื่นเริงบันเทิงใจ ระบามาตรฐาน คือระดับที่ปรมาจารย์ทางนาฏศิลป์ได้คิดประดิษฐ์ท่าราขึ้นไว้อย่างสวยงาม สอดคล้องกับบทร้องและการบรรเลงเหมาะสมเป็นแบบฉบับ เมื่อนาไปแสดงจะต้องรักษาไว้ซึ่งท่าราที่ได้ศึกษา เล่าเรียนมา ไม่ควรนาไปเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือเพิ่มเติมการแต่งกาย นิยมแต่งแบบ “ยืนเครื่อง” พระนาง การแสดงระบามาตรฐานมีด้วยกันหลายชุด เช่น ระบาสี่บท ระบากฤษดาภินิหาร ระบาดาวดึงส์ ระบา เทพบันเทิง ระบาย่องหงิด เป็นต้น ระบาเบ็ดเตล็ด คือ ระดับที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ตามประสงค์ ที่มีลักษณะท่าราไม่ตายตัว เปลี่ยนแปลงท่าราได้ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ราและคานึงถึงการนาไปใช้ ระบำเบ็ดเตล็ด ระบำ คือ การแสดงที่ใช้คนจานวนมาก ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป การแสดงระบาจะมีเนื้อร้อง ประกอบการแสดงหรือไม่มีเนื้อร้องประกอบก็ได้ การแสดงระบามุ่งที่ความงดงามของการแต่งกาย ความ พร้อมเพรียงและการปรับขบวนหรือแปรแถวเป็นหลัก เพื่อให้ผู้ชมเกิดความเพลิดเพลิน ถ้าต้องการให้ระบา ชุดนั้นดึงดูดใจผู้ชม ควรนาเสนอภายในเวลาไม่เกิน 15 นาที มิฉะนั้นจะยาวเกินไป ถ้ามีผู้แสดงน้อยเวลาที่ แสดงควรสั้นลง สิ่งที่ควรคานึงถึงในการจัดระบา มีดังนี้ 1. ลีลาท่าทาง ควรให้เหมาะสมกับเนื้อร้องที่ประกอบเพลง (นาการรีบทมาใช้) และทานองเพลง ดังนั้นควรศึกษาหรือทาความเข้าใจกับเพลงที่นามาประกอบกับระบาชุดนั้นว่ามีท่วงทานองไปใน แนวใด เช่น อ่อนหวาน รื่นเริง ปลุกใจ เพื่อแสดงท่าทางประกอบบทเพลงนั้นให้เหมาะสม 2. เครื่องแต่งกาย มีส่วนสาคัญที่จะช่วยให้ระบาชุดนั้น เป็นที่ดึงดูดสายตาผู้ชมในแง่มุมต่างๆ ตามแต่จุดมุ่งหมายของผู้จัดระบาต้องการและบอกถึงชนิดของระบาชุดนั้นๆด้วย 3. ความพร้อมเพรียงกัน เนื่องจากใช้ผู้แสดงมากกว่า 2 คน ผู้แสดงจึงต้องมีระเบียบในการแสดง เป็นการเน้นให้เห็นถึงความสามัคคีของผู้แสดงและความสามารถในกากรกากับการแสดง
  • 12. 4. การแปรแถวและการวางระยะ เรื่องนี้เป็นความสามารถของผู้สอนที่จะบอกผู้แสดงให้แน่นอนว่า ต้องการรูปแบบใด แก้ไขในการฝึกซ้อมให้ชัดเจน นอกจากนี้ยังเน้นไหวพริบของผู้แสดง และ เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสามารถและระยะเวลาการฝึกซ้อมของผู้แสดงระบาชุดนั้น 5. ไหวพริบของผู้แสดง มีส่วนที่จะช่วยให้ระบาชุดนั้นๆ มีความผิดพลาดน้อยที่สุด ระบำเบ็ดเตล็ด คือ ระบาที่มีการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นใหม่ เพื่อให้ทันสมัยต่อเหตุการณ์ และเนื้อเรื่องระบา เบ็ดเตล็ดแบ่งออกเป็น ดังนี้ 1. ระบาเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงจากมาตรฐาน คือ ระบาที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยยึดท่าทาง ลีลาตามเดิมไว้ แต่อาจเปลี่ยนแปลงในเรื่องของการแปรแถวและบทเพลงที่นามาใช้สอดแทรก เพื่อให้เหมาะสม กับงานและสถานที่ 2. ระบาเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงจากพื้นบ้าน คือระบาที่คิดประดิษฐ์ขึ้นจากการดารงชีวิตของคนใน ท้องถิ่น ประเพณี วัฒนธรรมที่มีรูปแบบเป็นระบา และเป็นเอกลักษณ์การแสดงประจาท้องถิ่น เช่น เต้นการาเคียว ระบาชาวนา ระบากะลา ระบาตารีกีปัส เป็นต้น 3. ระบาเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงจากลักษณะท่าทางของสัตว์ คือ ระบาที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อเลียนแบบ ลักษณะท่าทางของสัตว์ มีลีลาท่าราเหมือนสัตว์ เช่น ระบาม้า ระบานกเขา ระบาบันเทิง กาสร(ระบาควาย) ระบามฤคระเริง เป็นต้น ระบาเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงตามเหตุการณ์ต่างๆ คือ ระบาที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้ในงานหรือโอกาสต่างๆ เช่น ระบาโคมแสดงในวันลอยกระทง ระบานางสงกรานต์แสดงในวันสงกรานต์ เป็นต้น ระบาเบ็ดเตล็ด หมายถึง การแสดงที่แต่งกายตามรูปแบบลักษณะการแสดง นั้นๆ หรือการแสดงที่เป็นศิลปะเฉพาะท้องถิ่น ต่อมามีผู้คิดแต่งเพลงและประดิษฐ์ท่ารา และระบามาก ขึ้น โดยนามาประกอบการแสดงโขนหรือละครบ้าง ประดิษฐ์ท่าราเป็นชุดเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ บ้าง เช่น ระบาชุดโบราณคดี ระบาเริงอรุณ ระบาดอกบัว ระบานพรัตน์ ระบาสี่ภาค ระบาชุมนุมเผ่าไทย ระบาไตรภาคี ระบาตรีลีลา ระบาไกรลาศสาเริง ฯลฯ
  • 13. ระบาสี่ภาค ที่มาของภาพ ichat.in.th นอกจากนี้ยังมีระบาที่คิดประดิษฐ์โดยเลียนอิริยาบถของสัตว์ต่าง ๆ ในท่วงท่านาฏศิลป์ เช่น ระบามยุราภิรมย์ ระบากุญชรเกษม ระบามฤคระเริง ระบาบันเทิงกาสร ระบาไก่ ระบานกสามหมู่ ระบาเงือก ระบาม้า ระบากินรีร่อน เป็นต้น ระบากินรีร่อน ที่มาของภาพ http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=abird&month=31-05- 2010&group=35&gblog=30 ครั้นต่อมาเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.2498 ได้มีการจัดการแสดงนาฏศิลป์ไทยไปเผยแพร่ในฐานะทูตวัฒนธรรมเพื่อ เจริญสัมพันธไมตรีอันดีงามกับต่างประเทศ ตลอดจนแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม จึงมีระบามิตรสัมพันธ์ ต่างประเทศเกิดขึ้นอีก ได้แก่ ระบาจีน - ไทยไมตรี ระบาพม่า - ไทยอธิษฐาน ระบาลาว - ไทยปณิธาน ระบามิตรไมตรีญี่ปุ่น - ไทย
  • 14. ระบาจีน ไทยไมตรี ที่มาของภาพ http://www.korattheatre.go.th นอกจากนี้ยังได้มีการประดิษฐ์ชุดวีระชัยและกราวต่าง ๆ เช่น ระบาวีระชัยลิง (สิบแปดมงกุฎ) ระบาวีระชัยยักษ์ (เสนายักษ์) ระบาครุฑ ระบากราววีรสตรี ระบากราวชัย เป็นต้น ระบาวีระชัยยักษ์ ที่มาของภาพ http://www.korattheatre.go.th ระบาอัศวลีลา ระบาอัศวลีลาหรือระบาม้า จัดเป็นระบาในนาฏศิลป์ไทยที่เรียกว่า ระบาเบ็ดเตล็ด กรม ศิลปากรได้สร้างสรรค์ขึ้นและใช้แสดงเป็นระบาแทรกอยู่ในละครเรื่อง รถเสน ตอนพระรถเสนจับม้า ระบาชุด นี้ผู้ออกแบบท่าเต้น คือ หม่อมแผ้ว สนิทวงศ์เสนีย์ ผู้ประพันธ์เพลงประกอบ คือ อาจารย์มนตรี ตราโมท ระบาอัศวลีลา เป็นการแสดงที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงความสง่า สวยงาม ความแข็งแรง ปราด เปรียวของม้า ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงของมนุษย์ที่ใช้เป็นพาหนะ และในละครของไทย ม้าจะเป็นสัตว์ที่มีบทบาท สาคัญตัวหนึ่งในหลายเรื่อง เช่น รถเสน ขุนช้างขุนแผน รามเกียรติ์ เป็นต้น ดังนั้น ลีลาท่าทางการเต้น
  • 15. ของระบาชุดนี้จึงเลียนแบบกิริยาอาการของม้า ทั้งท่าเดินย่อง ย่างเท้า กระทืบเท้า โขยกเท้า และกระโดด ดีดเท้า มีการใช้นาฏยศัพท์ เช่น ลักคอ วิ่งเหยาะ เป็นต้น สามารถแสดงได้ทั้งชายและหญิง วงดนตรีที่ใช้ ประกอบการบรรเลง คือ วงปี่พาทย์ ไม่มีบทขับร้อง ลักษณะการแต่งกายของระบาชุดนี้จะตัดเย็บเป็นรูป ชุดเสื้อและกางเกงติดกัน สวมศีรษะเป็นรูปม้า สวมกระพรวนม้า บางครั้งใส่รองเท้าหุ้มส้นเตี้ยๆเพื่อให้เสียง ดังเหมือนเกือกม้า ระบาอัศวลีลา (ระบาม้า) 1.2(ละคร) ละครเป็นศิลปะการแสดงที่ถ่ายทอดออกเป็นเรื่องราว มีลีลาท่าราเข้ากับเนื้อร้อง บท ร้อง ทานองเพลง โดยจะใช้วงปี่พาทย์ในการบรรเลง มีทั้งละครชาวบ้านและละครหลวง เรื่องที่นามาแสดงเช่น สังข์ทอง อุณรุท เป็นต้น แสดงในงานพิธีสาคัญและงานรื่นเริงต่างๆ การแสดงละครเรื่อง สังข์ทอง การแสดงละครเรื่อง อุณรุท 1.3(รำและระบำ) ราและระบา เป็นการแสดงประกอบดนตรีและบทขับร้อง ไม่เล่นเป็นเรื่องราว เน้นท่าราที่สวยงามและพร้อมเพรียง รา เป็นการแสดงที่มีผู้แสดง 1-2 คน แบ่งเป็น ราเดี่ยวและราคู่ *ราเดี่ยว เช่น ราฉุยฉาย รามโนราห์บูชายัญ เป็นต้น
  • 16. *ราคู่ เช่น หนุมานจับนางเบญกาย ราอวยพร ราเมขลารามสูร เป็นต้น ระบา เป็นการแสดงที่มีผู้แสดงตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป เช่น ระบามฤคระเริง ระบาดาวดึงส์ ระบา กฤดาภินิหาร ระบาเทพบันเทิง เป็นต้น รา หมายถึง การแสดงที่มุ่งความงามของการร่ายรา จะมีบทร้องหรือไม่มีก็ได้จุดมุ่งหมาย เป็นการแสดงความสามารถในการร่ายรา จาแนกออกได้ 2 ประเภท ราเดี่ยว ใช้ผู้แสดงเพียงคนเดี่ยว แสดงถึงความสามารถของผู้ราศิลปะและลีลาของการร่ายรา ตามแบบนาฏศิลป์ไทย เครื่องแต่งกาย ที่งดงามโดดเด่น การราเดี่ยวมักนิยมใช้เป็นชุดเบิกโรง ใช้แสดง สลับฉาก หรือใช้แสดงในโอกาสต่างๆ เช่น ราฉุยฉายพราหมณ์ ราฉุยฉายทศกัณฑ์ลงสวน ราฉุยฉายวัน ทอง ราพลายชุมพล รากริชสุหรานากง รามโนห์ราบูชายัญ ราคู่ การราที่ใช้ผู้แสดง 2 คน ลักษณะการราคู่มี 2 ประเภท คือ การราคู่เชิงศิลปะการ ต่อสู้ และการราคู่ชุดสวยงาม ราเดี่ยว ฉุยฉายพราหมณ์ ราคู่ หย้าหรันตามนกยูง 1.4(การแสดงพื้นเมือง) การแสดงพื้นเมืองเป็นการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น เกิดจากภูมิ ปัญญาของคนในท้องถิ่นมีทั้งราและระบา มีขึ้นเพื่อจุดประสงค์ที่แตกต่างกันไป เช่น มีการแสดงขึ้นเพื่อบูชา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพื่อความสนุกสนานเพื่อผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อย เป็นต้น
  • 17. การแสดงพื้นเมือง แบ่งออกเป็น 4 ภูมิภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ในแต่ละภูมิภาคจะมีการแสดงที่แตกต่างกันออกไปตามวัฒนธรรมความ เป็นอยู่ของคนในภูมิภาคนั้น นาฏศิลป์พื้นเมือง ศิลปวัฒนธรรมการแสดงที่หลากหลายเป็นเอกลักษณ์ประจาถิ่น ภาษาทางนาฏศิลป์เรียกว่าการแสดง พื้นเมืองหรือนาฏศิลป์พื้นเมือง เป็นการแสดงที่สะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละภูมิภาคในลักษณะของ การร้อง รา ทาเพลง และระบา รา ฟ้อน มีนักวิชาการได้แบ่งประเภทการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองตามการ กาเนิดพอสรุปได้ 1. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากพิธีกรรมและความเชื่อ เช่น การราแม่ศรี การฟ้อนผีปู่ย่า เป็นต้น 2. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากการต่อสู้ เช่นกระบี่กระบอง การฟ้อนดาบ เป็นต้น 3. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากการเลียนแบบธรรมชาติ เช่น กิ่งกะหร่า เป็นต้น 4. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากวรรณกรรม เช่น การแสดงหมอลา ฟ้อนม่านมงคล ฟ้อนมโนห์รา เล่นน้า ฟ้อนลาวแพน เป็นต้น 5. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากการแสดงของเผ่าต่างๆ เช่น ฟ้อนภูไท ฟ้อนเงี้ยว กิ่งกะหร่า มอง เซิง 6. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากโบราณคดี เช่น ระบาสุโขทัย ระบาเชียงแสน ระบาลพบุรี ระบา ทวาราวดี ระบาศรีวิชัย เป็นต้น 7. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากการประกอบอาชีพ เช่น ฟ้อนสาวไหม ระบาร่อนแร่ ระบาเก็บใบ ชา เต้นการาเคียว เซิ้งกระติ๊บ เซิ้งแหย่ไข่มดแดง เป็นต้น 8. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่ประดิษฐ์ขึ้นตามเหตุการณ์ เช่น ฟ้อนเทียน ราโคม ฟ้อนเมือง เป็นต้น 9. นาฏศิลป์พื้นเมืองที่มาจากประเพณีการละเล่นท้องถิ่น เช่น เซิ้งบั้งไฟ ดึงครกดึงสาก เป็นต้น การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง ตามลักษณะภูมิประเทศ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ วิถีชีวิตแบ่งเป็น 4 ภูมิภาคดังนี้ 1. นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือ จากสภาพแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ที่เต็มไปด้วยทุ่งหญ้า และภูเขานั้น ทาให้อากาศเย็นสบาย ผู้คนที่อาศัยอยู่ในภาคเหนือมีกิริยาท่าทางที่นุ่มนวลอ่อนหวานจึงทาให้ ศิลปะการแสดงมีความนุ่มนวลอ่อนช้อยสวยงาม
  • 18. 1.1 การฟ้อนบายศรี เป็นนาฏศิลป์ที่แสดงให้เห็นถึงการต้อนรับและการรับขวัญด้วยการ ฟ้อนในพิธี บายศรีสู่ขวัญ ซึ่งจะมีการทาบายศรีที่ประดับด้วยดอกไม้และเครื่องหอมอย่างสวยงามมีการผูก ด้ายสายสิญจน์ที่ข้อมือ หลังจากนั้นก็จะทาการเชิญขวัญและฟ้อนบายศรี โดยท่าราจะเป็นท่าราของชาวเหนือ ต่อมาก็ได้วิวัฒนาการดัดแปลง โดยมีการผสมท่าราของภาคกลางด้วย แต่ยังคงความนุ่มนวลอ่อนช้อย การ แต่งกายจะนุ่งผ้าที่มีเชิงที่ชายของผ้านุ่ง เสื้อแขนกระบอกยาวจรดข้อมือมีผ้าแพรคาดไขว้ที่เสื้อยาวจรดเข่า ผมเกล้าสูงทัดดอกไม้และอุบะ การฟ้อนบายศรีจะใช้งานมงคลเท่านั้น 1.2 การฟ้อนเล็บ ผู้ฟ้อนเล็บจะต้องสวมเล็บยาวที่ทาขึ้นจากกระดาษวัสดุอื่น ยกเว้น นิ้วหัวแม่มือ การฟ้อนเล็บจะแตกต่างกันออกไปตามแต่ละท้องถิ่น เช่น การฟ้อนเล็บของเชียงใหม่ การฟ้อน เล็บของน่าน เป็นต้น การแต่งกายจะนุ่งผ้ามีเชิงที่ชายผ้านุ่ง เสื้อที่ใส่จะมีเสื้อข้างในและมีเสื้อนอกแขน กระบอกยาวทับ ผมเกล้าเป็นมวยติดตอกไม้และห้อยอุบะ นิ้วมือทุกนิ้วจะสวมเล็บยาว ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือ มักจะใช้แสดงในโอกาสต้อนรับแขกต่างเมือง หรือในเทศกาลสงกรานต์ 1.3 ระบาเก็บใบชา เป็นชุดระบาที่เป็นผลงานประดิษฐ์ของนักศึกษานาฏศิลป์ กรมศิลปากร โดยความควบคุมของอาจารย์ปราณี สาราญวงษ์ ลักษณะการแสดงชุดระบาเก็บใบชา เป็นการนาเสนอ กรรมวิธีในการเก็บใบชาของชาวเขา ตั้งแต่เริ่มออกเดินทางไปเก็บใบชาในตอนเช้า นาใบชาคัดเลือกมาตาก แล้วเดินทางกลับในตอนเย็น ผู้ประพันธ์เพลง คือ นายปกรณ์ รอดช้างเผื่อน ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง ใช้ดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ ได้แก่ สะล้อ ซึง ปี่จุม และเครื่องประกอบจังหวะ 1.4 กลองสะบัดชัย เป็นกลองพื้นเมืองเหนือที่มีประเพณีนิยมการสร้างกลองประจาเมือง เรียกว่า “กลองอุ่นเมือง” เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมือง ต่อมานิยมสร้างไว้ประจาวัด เรียกว่า กลอง บูชากลองสะบัดชัยคงจะเป็นกลองที่ดัดแปลงมาภายหลัง เพื่อให้เคลื่อนย้ายได้สะดวกจึงมีขนาดเล็กลง และ สามารถแบกหามไปในที่ที่ต้องการได้ การตีกลองสะบัดชัยผู้เล่นต้องออกลีลาท่าทางประกอบด้วย จึงจะเกิด ความสนุกสนานเร้าใจ ปัจจุบันนิยมใช้ในงานแห่ขบวนต่างๆ ฟ้อนเล็บ ระบาเก็บใบชา
  • 19. 2. นาฏศิลป์พื้นเมืองของภาคกลาง เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงวัฒนธรรมประเพณี และอุปนิสัยของชาวภาคกลาง ที่นิยมเล่นสนุกสนานรื่นเริงกันเมื่อเสร็จจากการประกอบอาชีพในไร่นา หรือ เทศกาลวันสาคัญต่างๆ เช่น ตรุษสงกรานต์ เข้าพรรษา เป็นต้น 2.1 รากลองยาวหรือเถิดเทิง เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่ใช้กลองยาวหลายใบพร้อมทั้งเครื่องตี ที่ใช้ประกอบจังหวะ ได้แก่ ฉิ่ง กรับ โหม่ง และฉาบเคาะจังหวะประกอบเสียงกลองยาว ท่าทางการร่ายรา จะมีหลายท่า จึงจาเป็นที่ผู้ราต้องฝึกหัดให้มีความชานาญจึงจะแสดงเข้ากับจังหวะได้ดี เชื่อกันว่ากลองยาวมี ถิ่นกาเนิดจากชนบท ต่อมากรมศิลปากรได้นามาปรับปรุงและประดิษฐ์ท่าราและจังหวะกลองให้สอดคล้อง กลมกลืน ซึ่งก็ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย 2.2 ราสีนวล เป็นการแสดงที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงท่วงท่าการร่ายราที่เป็นนาฏศิลป์พื้นเมือง ของไทย ที่แสดงให้เห็นถึงความรื่นเริง และเป็นการชักชวนกันมาร่ายราอย่างสนุกสนานเริ่มต้นการแสดงด้วย การขับร้องเพลงสีนวล ซึ่งมีความหมายเกี่ยวกับบรรยากาศ และแสงสว่างในตอนเช้าที่มีลักษณะเป็นสีเหลือง นวล ทาให้คิดถึงบรรยากาศที่สดชื่น ผู้แสดงก็จะแสดงท่วงท่าการร่ายราที่สื่อความหมายไปตามบทเพลง 2.3 เต้นการาเคียว เป็นเพลงพื้นเมืองของชาวบ้านจังหวัดนครสวรรค์ นิยมเล่นตามท้องนา ในฤดูกาลลงแขกเกี่ยวข้าว ร้องเล่นเพื่อความรื่นเริงสนุกสนาน ผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อยเมื่อ พ.ศ. 2504 ศิลปินของกรมศิลปากร ได้ไปฝึกหัดการเล่นเต้นการาเคียว จากชาวบ้านตาบลย่านมัทรี อาเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ต่อมากรมศิลปากรได้ปรับปรุงการเล่นเพื่อให้เหมาะกับการนาออกแสดงในงานบันเทิง โดยให้นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญนาฏดุริยางค์ไทยกรมศิลปากร และศิลปินแห่งชาติแต่งทานองเพลง ประกอบการแสดงตอนต้นก่อนร้องบทโต้ตอบและตอนจบบทร้อง ผู้แสดงทั้งชายและหญิงมือขวาถือเคียว มือ ซ้ายถือการวงข้าว ทาท่าตามกระบวนเพลงร้องเย้าหยอกเกี้ยวพาราสีกัน บทร้องมีอยู่ 11 บท คือ บทมา ไป เดิน รา ร่อน บิน ยัก ย่อง ย่าง แถ ถอง และเพลงในกระบวนนี้ ผู้เล่นอาจดันกลอนพลิกเพลงบท ร้องสลับรับกันด้วยความสนุกสนาน บางครั้งในการแสดงอาจตัดบทร้องบางบทเพื่อความกระชับ ใช้วงปี่ พาทย์บรรเลงเพลงนา และตอนจบ ( บทเพลง มาเถิดเอย เอยราแม่มา มารามาแม่มา ฯ) เต้นการาเคียว เถิดเทิง
  • 20. 3.นาฏศิลป์พื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภาคที่มีประเพณีที่เน้นความสนุกสนานรื่นเริง เช่น งานบุญบั้งไฟ งานแห่นางแมว ศิลปะการแสดงจึงมีลักษณะที่สนุกสนาน 3.1 เซิ้งบั้งไฟ เป็นประเพณีสืบทอดมาจากการจุดบั้งไฟเพื่อบูชาพระยาแถนบนสรวงสวรรค์ ให้ช่วยบันดาลให้ฝนตกตามฤดูกาล และสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน การฟ้อนรา และท่าราต่างๆจะไม่มี เป็นแบบแผนตายตัว แต่จะเป็นเพียงการยกมือร่ายราไปตามจังหวะการราเซิ้งบั้งไฟ 3.2 หมอลา แบ่งเป็นหมอลากลอน และหมอลาหมู่ หมอลำกลอน แบ่งได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ หมอลาเชิงชู้และหมอลาประชันกัน หมอลาเชิงชู้ จะมีผู้แสดงเป็นผู้หญิง 1 คน และผู้แสดงชาย 2-3 คน สมมุติบทบาทของ ตนเองให้เป็นพ่อค้า ข้าราชการ ชาวนา โดยให้ผู้หญิงเป็นผู้เลือก ผู้แสดงชาย 2-3 คนจะต้องโต้คารมบอก ความดีของตนเอง หมอลาประชันกัน แบ่งเป็นคู่ชาย หญิง และทีละหลายคนแล้วปะทะคารมกัน ส่วนใหญ่จะ เป็นเรื่องของนิทาน หมอลำหมู่ ซึ่งเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หมอลาเพลิน จะแสดงคล้ายคลึงกับการเล่นลิเก ของภาคกลาง เรื่องที่เล่นก็จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับนิทานจักรๆ วงศ์ๆ 3.3 เซิ้งแหย่ไข่มดแดง อาหารอีสานส่วนใหญ่จะได้มาจากธรรมชาติ ทั้งที่เป็นสัตว์เล็กสัตว์ น้อยและพืชพันธ์ต่างๆ นับได้ว่าชาวอีสานเป็นนักกินผู้หนึ่งทีเดียว ไข่มดแดงถือเป็นอาหารประจาถิ่นอีสานจน สามารถนามาขายกลายเป็นอาชีพได้ ทางภาควิชานาฏศิลป์ วิทยาลัยครูบุรีรัมย์เห็นว่าควรจะอนุรักษ์อาชีพ แหย่ไข่มดแดงนี้ในรูปของการแสดง จึงได้ทาการศึกษาถึงขั้นตอนการนาไข่มดแดงลงมาของชาวบ้าน โดย อาจารย์ประชัน คะเนวัน และอาจารย์ดรรชนี อุบลลิศ เป็นผู้เขียนรายละเอียดของขั้นตอนการแหย่ไข่มด แดงโดยละเอียด การแสดงเซิ้งแหย่ไข่มดแดงเป็นการอนุรักษ์อาชีพของชาวอีสานอย่างหนึ่ง
  • 21. เซิ้งแหย่ไข่มดแดง เซิ้งโปงลาง 4.นาฏศิลป์พื้นเมืองของภาคใต้ นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคใต้นับเป็นเอกลักษณ์การแสดงพื้นบ้านที่โดดเด่นเพราะ ชาวใต้มีภาษาท้องถิ่น ประเพณีและวัฒนธรรมการแต่งกายและการแสดงที่ผสมผสานกับเพื่อนบ้านชาวมลายู ดังนั้นนาฏศิลป์พื้นเมืองของชาวใต้จึงมีทั้งความสวยงามที่เป็นท้องถิ่นและการผสมผสานวัฒนธรรม 4.1 โนรา เป็นนาฏศิลป์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในบรรดาศิลปะการแสดงของภาคใต้ มี ความยั่งยืนมานับเป็นเวลาหลายร้อยปี การแสดงในโนราเน้นท่าราเป็นสาคัญ ต่อมาได้นาเรื่องราวจาก วรรณคดีหรือนิทานท้องถิ่นมาใช้ในการแสดง เรื่อง พระสุธน-มโนห์รา เป็นเรื่องที่มีอิทธิพลต่อการแสดงมาก ที่สุดจนเป็นเหตุให้เรียกว่าการแสดงนี้ว่า มโนห์รา การราโนรา เป็นการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองของชาวไทยในภาคใต้ที่ถ่ายทอดต่อกันมา ทั้งนี้การราโนรามีท่า ราซึ่งเชื่อว่าได้มาจากความประทับใจต่อธรรมชาติ ผู้ร่ายราจะต้องมีความสามารถในการทรงตัว การทอด แขน ตั้งวง หรือลีลาการใช้ช่วงขาในรูปแบบต่างๆ การแต่งกายของโนราจะใช้ลูกปัดประดับประดาห้อยร้อยเป็นพื้น ทาให้มีความสวยงามคล้ายกับขน นกที่ศีรษะจะสวม เทริด (อ่านว่า เซิด) การแต่งกายของโนรานั้นจะต้องผ่าน พิธีไหว้ครู โดยจะต้องนาเทริด และเครื่องแต่งกายชิ้นอื่นๆตั้งบูชาไว้บนหิ้ง เมื่อสวมใส่เครื่องแต่งกายจะต้องใช้คาถากากับ โดยเฉพาะการ สวมเทริดนั้นจะต้องใช้ผ้ายันต์สีขาวโพกศีรษะก่อนสวมเทริดทับ การแสดงโนราจะแสดงเพื่อความบันเทิง ทั่วๆไป หรืองานกุศล แต่ไม่นิยมแสดงในงานศพ และงานมงคลสมรส 4.2 รองเง็ง เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่เน้นความงดงามของลีลาการใช้เท้าให้เข้ากับจังหวะ กลองรามะนา ฆ้อง และไวโอลิน โดยแบ่งฝ่ายเป็นชาย หญิง เริ่มแรกฝ่ายหญิงจะร้องเพลงเชิญชวนให้ผู้ชม ร่วมเต้นด้วย เพลงที่ร้องจะเป็นเพลงพื้นเมืองของภาคใต้ และเพลงเหล่านี้จะมีท่าเต้นประกอบที่กาหนดเป็น แบบแผนคลายกับราวงมาตรฐาน การเต้นจะเน้นลีลาการเต้นที่หลบหลีกหลอกล่อ มีการเล่นหูเล่นตากัน ระหว่างผู้แสดงชายและหญิง รวมทั้งแสดงให้เห็นถึงความพร้อมเพรียงของการแสดง
  • 22. ราโนห์รา ระบาร่อนแร่ นาฏศิลป์นานาชาติ การแสดงนาฏศิลป์เป็นศิลปวัฒนธรรมแขนงหนึ่ง ที่มีความงดงามมีแบบแผน สะท้อนถึงเอกลักษณ์ ความเป็นเชื้อชาติที่เด่นชัดของเจ้าของลักษณะการแสดงนั้น ตัวอย่างเช่น นาฏศิลป์อินเดีย นาฏศิลป์จีน นาฏศิลป์ญี่ปุ่น บัลเล่ต์ การแสดงระบาพื้นเมือง 1. นาฏศิลป์อินเดีย กาเนินจากความเชื่อและความศรัทธาในตัวเทพเจ้าตามลัทธิฮินดู ตามคัมภีร์ นาฏยศาสตร์ (ตาราการฟ้อนรา) พระภาระตะมุนีได้รับพระราชทานถ่ายทอดท่าทางการฟ้อนราจากพระพรหมและพระศิวะ เทพเจ้าที่ ชาวฮินดูยกย่องว่าเป็นเทพเจ้าแห่งการฟ้อนรา นาฏศิลป์อินเดียเป็นต้นแบบของนาฏศิลป์ในชาติตะวันออก เช่น ไทย เขมร พม่า อินโดนีเซีย นาฏศิลป์อินเดียวเป็นต้นแบบ ได้แก่ การแสดงชุดภารตะนาฏยัม ชุ ดกถักกฬิ ชุดมณีปุระ 2. นาฏศิลป์จีน กาเนิดจากพิธีกรรมทรงเจ้า การบวงสรวงบูชาด้วยระบาที่เรียกว่า “รามาอู๋อู” เนื่อง จากแผ่นดินจีนประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติอยู่เป็นประจา การแสดงระบาทรงเจ้าในพิธีศาสตร์เพื่อบาบัด ความทุกข์ เจ็บไข้ เดือดร้อนของประชาชนชาวจีน เป็นศิลปะที่มีการสืบทอดมาอย่างยาวนาน มีความเก่าแก่ มากที่สุด และพัฒนามาเป็นละครแบบต่างๆในราชสานักและเป็นที่นิยมของชาวจีนมากที่สุด คือ อุปรากรจีน
  • 23. หรือที่คนไทยเรียกว่า งิ้ว อุปรากรจีนที่มีชื่อเสียงเป็นแบบมาตรฐานเป็นที่ยอมรับและนับเป็นศิลปะประจา ชาติ คือ อุปรากรจีนปักกิ่ง 3. นาฏศิลป์ญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ได้รับการรุกรานทางวัฒนธรรมจากจีนจักรพรรดิญี่ปุ่นจึงมี นโยบายที่จะปลูกฝังให้ประชาชนรักชาติและเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมประจาชาติ นาฏศิลป์ญี่ปุ่นในสมัย โบราณมาจากความเชื่อทางศาสนาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์การแสดงออกมาจากวัด และขยายตัวเข้าสู่ราชสานัก นาฏศิลป์ญี่ปุ่น ได้แก่ ละครคาบูกิ ละครโนะ และเคียวเง็น ละครคาบูกิ มีต้นกาเนิดมาจากการแสดงหุ่นรากุชา และละครโนะ มีการนาเสนอเรื่อง เช่นเดียวกับ โขน ละคร ของไทย จุดเด่นอยู่ที่ศิลปะในการแสดงที่ต้องได้รับการฝึกฝนเป็นอย่างดี มีแบบ แผนในการแสดง เช่น การแต่งกายของผู้แสดง ตัวพระเอกแต่งหน้าสีขาว ผู้ร้ายจะแต่งหน้าสีแดง เส้นทุก เส้นที่เขียนหน้าจะบอกอายุ อารมณ์ และตาแหน่งของตัวละคร ละครโนะ เป็นศิลปะชั้นสูงประจาชาติของประเทศญี่ปุ่น มีแบบแผนการแสดงเป็นเอกลักษณ์ เช่น ผู้แสดงสวมหน้ากากมีสีสันสวยสดสร้างด้วยความประณีต เสื้อผ้าหรูหราสัมพันธ์ กับหน้ากาก ส่วน ละครเง็นเคียว เป็นละครที่แสดงสลับฉากกับละครโนะ เพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด 4. บัลเลต์ คือการเต้นระบาปลายเท้าที่เน้นการใช้ความสามารถของเท้าเป็นหลักประกอบกับการใช้ ลีลาของมือและแขน กาเนิดขึ้นใน ค.ศ.ที่ 15 ในราชสานักฝรั่งเศส 5. การแสดงระบำพื้นเมือง เป็นการเต้นราประจาท้องถิ่นหรือของประเทศ แสดงออกด้วยความสนุก สนานระหว่างการทามาหากิน หรือในพิธีตามโอกาสต่างๆแสดงให้เห็นถึงสภาพวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี เช่น ระบาสเปน ระบาสก๊อต การราดาบ การเต้นของอินเดียวแดง ฯลฯ การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุดการแสดงก็ได้รับอิทธิพลของนาฏศิลป์นานาชาติมาใช้ในการสร้างสรรค์ ท่ารา โดยที่เห็นได้เชิงประจักษ์ในการแสดงนาฏศิลป์นานาชาติ ชุด “ระบาชุมนุมเผ่าไทย”
  • 25. รายการอ้างอิง อาจารย์จินตนา สายทองคา หัวหน้าภาควิชานาฏศิลป์ คณะศิลปนาฏดุริยางค์ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 , หน้า 673. มนตรี ตราโมท. เอกสารประกอบการสอนวิชาประวัติการละครไทย,วิทยาลัยนาฏศิลป, พ.ศ.2527. อาภรณ์ มนตรีศาสตร์ และ จตุรงค์ มนตรีศาสตร์.วิชานาฏศิลป์, หน้า 74. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525,หน้า 285. เรณู โกศินานนท์ และคณะ,ดนตรีศึกษา,หน้า 86. อาภรณ์ มนตรีศาสตร์ และ จาตุรงค์ มนตรีศาสตร์,วิชานาฏศิลป์,หน้า 74. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525,หน้า 703. นิตยา จามรมาน และคณะ,ศ 035 การแสดงละคร 1 , หน้า 1. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ศิลปะการละครเบื้องต้น 1 , 2 ตอนที่ 1 ,หน้า 1.