SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ การรักษา สืบทอด และเผยแพร่นาฏศิลป์ที่เกิด
จากการสร้างสรรค์ สั่งสม และสืบทอดศิลปะการแสดงของท้องถิ่นต่างๆอันเป็นศิลปะพื้นบ้านที่ประดิษฐ์ขึ้น
โดยคนในท้องถิ่นนั้นๆ ถือว่าการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสาคัญต่อการส่งเสริมให้ศิลปวัฒนธรรมของ
ชาติดารงสืบไป เพราะการแสดงนาฏศิลป์ไทยล้วนมีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่นในหลายลักษณะ
ได้แก่
1.ศาสนาและความเชื่อ
ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติไทย คนไทยมีความเคารพศรัทธาและเชื่อในพระพุทธศาสนาจึง
นาเอาแนวคิดและหลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนาที่ใช้ในการดาเนินชีวิตมาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง
นาฏศิลป์ เช่น การแสดงชุดระบาไตรรัตน์ ที่มีบทร้องประกอบการแสดงที่เกี่ยวกับความเคารพนับถือพระ
รัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ และผลที่เกิดจากการเคารพหลักธรรมของ
พระพุทธศาสนา เป็นต้น
วัดหรือศาสนา
ระบาไตรรัตน์
ด้านความเชื่อ การฟ้อนผีฟ้า
ฟ้อนผีฟ้า เป็นการเซ่นสรวงต่อผีฟ้า “พญาแถน” หรือเทวดาที่สถิตอยู่บนท้องฟ้า เพื่อขอความเป็นสิริ
มงคล อันเชิญท่านเข้าร่างทรงให้ลงมาช่วยปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัยแก่ชาวบ้านที่มา ชุมนุมในพิธี นอกจากนี้
เพื่อเชิญเจ้าเข้าทรงรักษาอาการเจ็บไข้ของผู้ป่วยเป็นรายๆไป www.prapayneethai.com
พิธีเหยา
เป็นพิธีกรรมที่เกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนาของไทยแถบภาคอีสาน โดยจะนิยมทาในแถบภูไท (จ.กาฬสินธุ์
นครพนม มุกดาหาร สกลนคร พิธีกรรมนี้เป็นการเสี่ยงทาย เมื่อมีการเจ็บป่วยในครอบครัว โดยการ
เจ็บป่วยนี้จะเชื่อว่าเป็นการกระทาของผี จึงต้องทาการเหบาเพื่อแก้ผี และเพื่อจะได้ทราบว่าผีต้องการอะไร
หรือผู้เจ็บป่วยทาผิดผีอะไร จะได้ทาตาม เชื่อว่าหากแก้ผีแล้ว อาการเจ็บป่วยจะหายเป็นปกติ
( ที่มาข้อมูล) th.m.wikipedia.org/wiki/พิธีเหยา
2.ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมที่สาคัญในแต่ละท้องถิ่นของไทย เช่น วันลอยกระทง วันสงกรานต์
เป็นต้น มีคุณค่าและแฝงไปด้วยคติความเชื่อ ธรรมเนียมปฏิบัติ และความรื่นเริงสนุกสนานอันนามาซึ่ง
ความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยนามาสร้างสรรค์ประดิษฐ์เป็นชุดการแสดงขึ้น เช่น
ระบาประทีปทอง ระบาสุโขทัย ใช้แสดงในวันลอยกระทง ระบานางสงกรานต์ใช้แสดงในวันสงกรานต์
การราบวงสรวงพระธาตุนาดูน การราบวงสรวงพระธาตุพนม
ระบาลพบุรี ระบาสุโขทัย
ระบาสุโขทัย
ประเพณี บุญคุณลาน
ประเพณีบุญบั้งไฟ
ประเพณีแห่เทียนพรรรษา
3.ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม
การแสดงบางชุดได้สร้างสรรค์ท่ารามาจากภาพจาหลักของโบราณสถานต่างๆ เช่น ระบาสุโขทัย ที่
ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์ ได้ประดิษฐ์ท่ารามาจากภาพนางอัปสรในเครื่องทรงที่สวยงามที่อยู่รอบๆเจดีย์ทรง
พุ่มข้าวบิณฑ์ วัดมหาธาตุ ในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ระบาลพบุรีประดิษฐ์ท่าราโดยคุณครูลมุล
ยมะคุปต์ และคุณครูเฉลย ศุขวณิช นาท่ารามาจากภาพจาหลักทับหลังประตูปราสาทหินพิมาย ศิลปะ
แบบขอม เป็นต้น
ภาพจาหลัก
ภาพนางอัปสรในเครื่องทรงที่สวยงาม
4.วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น
การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุดนาวิถีชีวิตการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่นต่างๆมาประดิษฐ์
สร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง ได้แก่
1) ภาคเหนือ เช่น ระบาเก็บใบชา ฟ้อนสาวไหม เป็นต้น
2) ภาคกลาง เช่น เต้นการาเคียว ระบาชาวนา ระบาพระแม่โพสพ เป็นต้น
3) ภาคอีสาน เช่น เซิ้งสวิง เซิ้งกระหยัง เซิ้งแพรวากาฬสินธุ์ เป็นต้น
4) ภาคใต้ เช่น ระบาปาเต๊ะ ระบากรีดยาง ระบาร่อนแร่ เป็นต้น
จะเห็นได้ว่าการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยกับภูมิปัญญาท้องถิ่นนั้นมีส่วนช่วยในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม
ของชาติให้เป็นที่รู้จัก โดยถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของความบันเทิง ความสนุกสนานรื่นเริง อีกทั้งยังมี
คุณค่าต่อสังคมไทยซึ่งควรค่าแก่การอนุรักษ์ให้คงอยู่สืบไป
ระบาเก็บใบชา
ฟ้อนสาวไหม
เต้นการาเคียว
ระบาชาวนา
เซิ้งสวิง
เซิ้งแพรวากาฬสินธุ์
ระบาร่อนแร่
สรุป
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น มีส่วนช่วยในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติให้เป็นที่
รู้จัก โดยถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของความบันเทิง รื่นเริง สนุกสนาน อีกทั้งยังมีคุณค่าต่อสังคมไทยซึ่ง
ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์ไทยล้วนมีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ ศาสนา
และความเชื่อ ประเพณีและวัฒนธรรม ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของ
คนในท้องถิ่น
หนังสืออ้างอิง
ดุษฎี มีป้อม.นิลวรรณ ถมังรักษ์สัตว์ คู่มือการสอน เพื่อครูผู้สอน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.6 วัฒนาพานิช.
หน้า 62
www.prapayneethai.com
th.m.wikipedia.org/wiki/พิธีเหยา
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
โดย
นางสาพนมพร ชินชนะ
ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
เทคนิคการจัดการแสดง
เทคนิคการจัดการแสดงมีความสาคัญที่จะทาให้การแสดงนั้นสมบูรณ์และมีความ
สมจริงมากขึ้น อีกทั้งเป็นการช่วยเสริมสร้างจินตนาการให้กับผู้ชม ซึ่งเทคนิคในการจัดการแสง
ประกอบด้วย
ฉาก
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของฉากไว้ว่า “ฉาก
คือ เครื่องบังหรือเครื่องกั้น มีหลายชนิด ใช้ตั้ง แขวน หรือพับได้ เครื่องประกอบเวทีละครเพื่อให้ดู
สมจริงตามเนื้อเรื่อง เช่น ฉากป่า ฉากเมือง”
สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม 10 หน้า 5890 ได้ให้ความหมายของฉาก
ว่า “ฉาก หมายถึง ภาพพื้นหลังสาหรับประกอบการแสดงต่างๆเพื่อส่งเสริมการแสดงให้เกิดอารมณ์มาก
ขึ้น ภาพพื้นหลังที่เรียกว่า ฉาก นี้จะเขียนบนผืนผ้าหรือกระดาษ หรือจะเป็นภาพนูน เป็นแผงเป็นส่วน
กลมรอบตัวอย่างของจริงก็ได้ แต่ภาพพื้นหลังซึ่งเขียนไว้ทางด้านซ้ายและขวาของการแสดงโขนหน้าจอ
ซึ่งเขียนเป็นภาพพลับพลาด้านหนึ่ง ภาพปราสาทราชวังด้านหนึ่ง ไม่เรียกว่า ฉาก แต่หากเรียกรวมว่า จอ
เพราะมีกาเนิดมาจากจอหนังใหญ่
สรุปได้ว่าฉาก คือ ภาพที่ใช้ประกอบในการแสดง ที่ช่วยในการสร้างอารมณ์และทา
ให้การแสดงนั้นดูสมจริงและมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ฉากที่ใช้ประกอบในการแสดงแบ่งออกเป็น 2
แบบ คือ
1)แบบแขวน คือ การวาดฉากลงบนผ้า เป็นสถานที่ตามเนื้อเรื่องที่แสดงแล้วขึงเอาไว้ด้านหลังสุด
ของเวที เช่น ฉากลิเก เป็นต้น จะเปลี่ยนฉากโดยการม้วนฉากขึ้นไปไว้ด้านบนแล้วเปลี่ยนฉากใหม่ลง
มาแทน เป็นการเปลี่ยนฉากตามเนื้อเรื่องซึ่งสามารถทาได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว
2)แบบตั้ง การวาดภาพลงบนแผงหลายๆชิ้น แล้วนามาประกอบเข้าด้วยกัน นาขึ้นตั้งบนเวทีที่แสดง
เป็นฉากละครตามเนื้อเรื่อง หรืออาจจะใช้อุปกรณ์จริง เช่น ต้นไม้ โต๊ะ เก้าอี้ แจกัน เป็นต้น นามา
จัดเป็นฉากประกอบในการแสดง เพื่อให้มีความสอดคล้องกับเรื่องที่แสดง เช่น การจัดฉากประกอบ
ละครโทรทัศน์ เป็นต้น
ฉากแขวน (ฉากลิเก) ฉากตั้ง
ฉากเป็นองค์ประกอบที่ช่วยให้การแสดงนั้นดูสมจริง เพราะฉากเป็นการจาลองสถานที่
ตามเนื้อเรื่องทาให้ผู้ชมมองเห็นภาพเหตุการณ์ต่างๆในการแสดงละครได้ชัดเจน เกิดความ
สนุกสนานเพลิดเพลินและมีอารมณ์ร่วมไปกับการแสดง ฉากที่ใช้ในการแสดงละครอาจจะ
เป็นการสร้างฉากที่เกิดจากนามธรรมให้เกิดเป็นรูปธรรม เช่น ฉากละครแบบจินตนาการ
ฉากสรรค์ ฉากนรก เป็นต้น ตามที่ผู้เขียนบทละครได้สร้างจินตนาการขึ้น ทาให้การแสดง
ละครเรื่องนั้นมีความสมบูรณ์มากขึ้น
สิ่งที่สาคัญที่สุดในการสร้างฉากที่ผู้สร้างจะต้องคานึงถึง คือ ต้องเลือกฉากให้
เหมาะสมกับเหตุการณ์ต่างๆในเรื่อง อีกทั้งยังต้องมีความชัดเจนและสอดคล้องกับเนื้อเรื่องที่
แสดง การออกแบบฉากประกอบในการแสดงสามารถแบ่งฉากเป็น 6 แบบ ดังนี้
1)ฉากแบบบังคับ คือ การสร้างฉากเพียงฉากเดียวแต่สามารถใช้แสดงได้ทุกเรื่องเพราะ
ถือว่าฉากเป็นเพียงตัวแบ่งระหว่างส่วนเวทีกับหลังเวทีเท่านั้น ซึ่งฉากแบบบังคับนี้ถือกาเนิดมา
จากฉากละครแบบโรมัน
2)ฉากแบบสมจริง คือฉากที่สร้างขึ้นตามสภาพความเป็นจริง ตรงตามเหตุการณ์และ
ยุคสมัยของเรื่องเพื่อให้เหมือนจริงมากที่สุด เช่น ฉากประกอบละครที่แสดงในโรงละคร
แห่งชาติ เป็นต้น
3)ฉากบรรยากาศ คือ การสร้างฉากที่อาศัยแสง สีสร้างบรรยากาศตามเนื้อเรื่อ
4)ฉากแบบสัญลักษณ์ คือ การสร้างฉากที่ให้ผู้ชมสร้างจินตนาการประกอบไปด้วย เช่น
ฉากทะเลทราย อาจจะมีการนาเอาต้นกระบองเพชรมาตั้งประกอบฉากแล้วให้ผู้ชมใช้
จินตนาการว่าเป็นท้องทะเลทราย เป็นต้น
5)ฉากแบบนามธรรม ( เกินความจริง) คือการสร้างฉากที่เกิดขึ้นมาจากความรู้สึก
ประทับใจในสิ่งที่ได้พบเจอ อาจสร้างเกินความเป็นจริง หรือสร้างในสิ่งที่ไม่เคยมีผู้ใดได้พบ
เห็นมาก่อน
6)ฉากแบบจินตนาการ เป็นฉากที่สร้างจากความรู้สึกหรือจินตนาการของผู้เขียนบทละคร
ตามเนื้อเรื่อง เป็นสิ่งที่ไม่มีจริง เช่น นรก สวรรค์ บาดาล เป็นต้น ซึ่งเป็นการสร้างมา
จากจินตนาการไม่เหมือนกับของจริง แต่ผู้ชมสามารถรู้และมีความเข้าใจคล้อยตาม
แสง สี เสียง
แสง สี ที่ใช้ในการแสดงละครนั้นเป็นการช่วยเน้นและเพิ่มความรู้สึกให้ผู้ชมเกิด
จินตนาการที่ดูสมจริง ทาให้เกิดอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ และแสง สี ยังช่วยเสริมสีของเครื่อง
แต่งกายและฉากให้เกิดความสวยงาม ดูกลมกลืน ไม่แข็ง อิทธิพลของแสง สี นั้นมีผลต่อ
อารมณ์และความรู้สึกต่างๆ เช่น แสง สีน้าเงินให้ความรู้สึกถึงเวลากลางคืน รุ่งเช้า หรือ
อารมณ์เศร้า , แสง สีเหลือง ให้ความรู้สึกสดชื่น รื่นเริง เบิกบานใจ แสง , สีแดงให้
ความรู้สึกสง่า ร้อนแรง ยิ่งใหญ่ เป็นต้น
การใช้แสง สีในการแสดงละคร
1.การใช้แสง สีในการสร้างบรรยากาศ แสง สีมีส่วนช่วยในการสร้างบรรยากาศของละครการ
ใช้แสง สี มีดังนี้
1) แสง สีเหลืองอ่อน แสดงบรรยากาศในเวลาเช้ามืด
2) แสง สีเหลือง แสดงบรรยากาศในเวลาเช้า
3) แสง สีส้มอ่อน แสดงบรรยากาศในเวลาสาย
4) แสง สีขาว แสดงบรรยากาศในเวลากลางวัน
5) แสง สีชมพู แสดงบรรยากาศแสง ในเวลาบ่าย
6) แสง สีม่วงแดง แสดงบรรยากาศเวลาเย็น
7) แสง สีม่วงน้าเงิน แสดงบรรยากาศเวลาค่า
8 ) แสง สีน้าเงิน แสดงบรรยากาศในเวลากลางคืน
9) แสง สีเขียว แสดงบรรยากาศในเวลากลางคืนเดือนหงาย
2.การใช้แสง สีในการสร้างอารมณ์ การกาหนดแสง สี มีส่วนช่วยในการสร้างอารมณ์ของการ
แสดง เช่น อารมณ์โกรธ จะใช้แสง สีแดง อารมณ์เศร้า เสียใจ จะใช้แสง สีน้าเงิน อารมณ์
ตื่นเต้น จะใช้แสง สีส้ม อารมณ์รัก จะใช้แสง สีเขียว เป็นต้น
นอกจากเทคนิคแสง สีแล้ว เทคนิคการใช้เสียงแบบต่างๆประกอบการแสดงจะช่วย
สร้างบรรยากาศ ทาให้การแสดงละครดูสมจริง ตัวอย่างการทาเทคนิคให้เกิดเสียงประกอบการ
แสดง เช่น เสียงฟ้าผ่า ใช้แผ่นสังกะสีตีกับไม้ เสียงรถไฟใช้กระดาษทราย 2 แผ่นถูกัน เป็น
ต้น สิ่งต่างๆเหล่านี้จึงมาความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะช่วยในการสร้างบรรยากาศและความ
สมจริงให้กับการแสดง
เครื่องแต่งกาย
เครื่องแต่งกายที่ใช้ประกอบในการแสดงละคร หมายความรวมถึงเครื่องประดับ
ศีรษะ เสื้อผ้าและเครื่องประดับร่างกาย มีความสาคัญในการบ่งบอกถึงบุคลิกลักษณะของตัว
ละคร สถานภาพอาชีพของตัวละคร ยุคสมัยในการแสดงละคร เป็นต้น การออกแบบเครื่อง
แต่งกายจะต้องคานึงถึงองค์ประกอบดังกล่าว โดยออกแบบเครื่องแต่งกายให้เหมาะสม
สอดคล้องกับฉาก แสง สี หน้าที่ของเครื่องแต่งกาย ควรประหยัด เป็นต้น
การแต่งกายตัวละคร พระ นาง ยักษ์ ลิง
นางมโนห์รา นางสุพรรณมัจฉา
พระราม พระลักษณ์
หนังสืออ้างอิง
ดุษฎี มีป้อม , นิลวรรณ ถมังรักษ์สัตว์ คู่มือการสอน เพื่อครูผู้สอน ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.5 วัฒนาพานิช
หน้า 49
อรวรรณ ชมวัฒนา , วีร์สุดา บุนนา หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) หน้า 99

More Related Content

What's hot

เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1sasi SAsi
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะSuriyawaranya Asatthasonthi
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 

What's hot (20)

เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 

Viewers also liked

ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4pageภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
สไลด์ ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1page
สไลด์  ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1pageสไลด์  ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1page
สไลด์ ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆPanomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงครูเย็นจิตร บุญศรี
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 

Viewers also liked (10)

ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4pageภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
สไลด์ ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1page
สไลด์  ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1pageสไลด์  ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1page
สไลด์ ประเพณีพื้นเมืองภาคกลาง ป.4+474+dltvsocp4+55t2soc p04 f14-1page
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
 
[นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน
[นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน [นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน
[นาฏศิลป์] รำวงมาตรฐาน
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 

More from Panomporn Chinchana

เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...Panomporn Chinchana
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 

More from Panomporn Chinchana (15)

เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 

การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557

  • 1.
  • 2. การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ การรักษา สืบทอด และเผยแพร่นาฏศิลป์ที่เกิด จากการสร้างสรรค์ สั่งสม และสืบทอดศิลปะการแสดงของท้องถิ่นต่างๆอันเป็นศิลปะพื้นบ้านที่ประดิษฐ์ขึ้น โดยคนในท้องถิ่นนั้นๆ ถือว่าการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสาคัญต่อการส่งเสริมให้ศิลปวัฒนธรรมของ ชาติดารงสืบไป เพราะการแสดงนาฏศิลป์ไทยล้วนมีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่นในหลายลักษณะ ได้แก่ 1.ศาสนาและความเชื่อ ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติไทย คนไทยมีความเคารพศรัทธาและเชื่อในพระพุทธศาสนาจึง นาเอาแนวคิดและหลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนาที่ใช้ในการดาเนินชีวิตมาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง นาฏศิลป์ เช่น การแสดงชุดระบาไตรรัตน์ ที่มีบทร้องประกอบการแสดงที่เกี่ยวกับความเคารพนับถือพระ รัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ และผลที่เกิดจากการเคารพหลักธรรมของ พระพุทธศาสนา เป็นต้น วัดหรือศาสนา ระบาไตรรัตน์
  • 3. ด้านความเชื่อ การฟ้อนผีฟ้า ฟ้อนผีฟ้า เป็นการเซ่นสรวงต่อผีฟ้า “พญาแถน” หรือเทวดาที่สถิตอยู่บนท้องฟ้า เพื่อขอความเป็นสิริ มงคล อันเชิญท่านเข้าร่างทรงให้ลงมาช่วยปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัยแก่ชาวบ้านที่มา ชุมนุมในพิธี นอกจากนี้ เพื่อเชิญเจ้าเข้าทรงรักษาอาการเจ็บไข้ของผู้ป่วยเป็นรายๆไป www.prapayneethai.com พิธีเหยา เป็นพิธีกรรมที่เกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนาของไทยแถบภาคอีสาน โดยจะนิยมทาในแถบภูไท (จ.กาฬสินธุ์ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร พิธีกรรมนี้เป็นการเสี่ยงทาย เมื่อมีการเจ็บป่วยในครอบครัว โดยการ เจ็บป่วยนี้จะเชื่อว่าเป็นการกระทาของผี จึงต้องทาการเหบาเพื่อแก้ผี และเพื่อจะได้ทราบว่าผีต้องการอะไร หรือผู้เจ็บป่วยทาผิดผีอะไร จะได้ทาตาม เชื่อว่าหากแก้ผีแล้ว อาการเจ็บป่วยจะหายเป็นปกติ ( ที่มาข้อมูล) th.m.wikipedia.org/wiki/พิธีเหยา
  • 4. 2.ประเพณีและวัฒนธรรม ประเพณีและวัฒนธรรมที่สาคัญในแต่ละท้องถิ่นของไทย เช่น วันลอยกระทง วันสงกรานต์ เป็นต้น มีคุณค่าและแฝงไปด้วยคติความเชื่อ ธรรมเนียมปฏิบัติ และความรื่นเริงสนุกสนานอันนามาซึ่ง ความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยนามาสร้างสรรค์ประดิษฐ์เป็นชุดการแสดงขึ้น เช่น ระบาประทีปทอง ระบาสุโขทัย ใช้แสดงในวันลอยกระทง ระบานางสงกรานต์ใช้แสดงในวันสงกรานต์ การราบวงสรวงพระธาตุนาดูน การราบวงสรวงพระธาตุพนม ระบาลพบุรี ระบาสุโขทัย
  • 6. 3.ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม การแสดงบางชุดได้สร้างสรรค์ท่ารามาจากภาพจาหลักของโบราณสถานต่างๆ เช่น ระบาสุโขทัย ที่ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์ ได้ประดิษฐ์ท่ารามาจากภาพนางอัปสรในเครื่องทรงที่สวยงามที่อยู่รอบๆเจดีย์ทรง พุ่มข้าวบิณฑ์ วัดมหาธาตุ ในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ระบาลพบุรีประดิษฐ์ท่าราโดยคุณครูลมุล ยมะคุปต์ และคุณครูเฉลย ศุขวณิช นาท่ารามาจากภาพจาหลักทับหลังประตูปราสาทหินพิมาย ศิลปะ แบบขอม เป็นต้น ภาพจาหลัก ภาพนางอัปสรในเครื่องทรงที่สวยงาม
  • 7. 4.วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุดนาวิถีชีวิตการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่นต่างๆมาประดิษฐ์ สร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง ได้แก่ 1) ภาคเหนือ เช่น ระบาเก็บใบชา ฟ้อนสาวไหม เป็นต้น 2) ภาคกลาง เช่น เต้นการาเคียว ระบาชาวนา ระบาพระแม่โพสพ เป็นต้น 3) ภาคอีสาน เช่น เซิ้งสวิง เซิ้งกระหยัง เซิ้งแพรวากาฬสินธุ์ เป็นต้น 4) ภาคใต้ เช่น ระบาปาเต๊ะ ระบากรีดยาง ระบาร่อนแร่ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยกับภูมิปัญญาท้องถิ่นนั้นมีส่วนช่วยในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ของชาติให้เป็นที่รู้จัก โดยถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของความบันเทิง ความสนุกสนานรื่นเริง อีกทั้งยังมี คุณค่าต่อสังคมไทยซึ่งควรค่าแก่การอนุรักษ์ให้คงอยู่สืบไป ระบาเก็บใบชา ฟ้อนสาวไหม
  • 10. สรุป การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น มีส่วนช่วยในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติให้เป็นที่ รู้จัก โดยถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของความบันเทิง รื่นเริง สนุกสนาน อีกทั้งยังมีคุณค่าต่อสังคมไทยซึ่ง ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์ไทยล้วนมีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ ศาสนา และความเชื่อ ประเพณีและวัฒนธรรม ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของ คนในท้องถิ่น
  • 11. หนังสืออ้างอิง ดุษฎี มีป้อม.นิลวรรณ ถมังรักษ์สัตว์ คู่มือการสอน เพื่อครูผู้สอน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.6 วัฒนาพานิช. หน้า 62 www.prapayneethai.com th.m.wikipedia.org/wiki/พิธีเหยา
  • 12. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดย นางสาพนมพร ชินชนะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
  • 13. เทคนิคการจัดการแสดง เทคนิคการจัดการแสดงมีความสาคัญที่จะทาให้การแสดงนั้นสมบูรณ์และมีความ สมจริงมากขึ้น อีกทั้งเป็นการช่วยเสริมสร้างจินตนาการให้กับผู้ชม ซึ่งเทคนิคในการจัดการแสง ประกอบด้วย ฉาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของฉากไว้ว่า “ฉาก คือ เครื่องบังหรือเครื่องกั้น มีหลายชนิด ใช้ตั้ง แขวน หรือพับได้ เครื่องประกอบเวทีละครเพื่อให้ดู สมจริงตามเนื้อเรื่อง เช่น ฉากป่า ฉากเมือง” สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม 10 หน้า 5890 ได้ให้ความหมายของฉาก ว่า “ฉาก หมายถึง ภาพพื้นหลังสาหรับประกอบการแสดงต่างๆเพื่อส่งเสริมการแสดงให้เกิดอารมณ์มาก ขึ้น ภาพพื้นหลังที่เรียกว่า ฉาก นี้จะเขียนบนผืนผ้าหรือกระดาษ หรือจะเป็นภาพนูน เป็นแผงเป็นส่วน กลมรอบตัวอย่างของจริงก็ได้ แต่ภาพพื้นหลังซึ่งเขียนไว้ทางด้านซ้ายและขวาของการแสดงโขนหน้าจอ ซึ่งเขียนเป็นภาพพลับพลาด้านหนึ่ง ภาพปราสาทราชวังด้านหนึ่ง ไม่เรียกว่า ฉาก แต่หากเรียกรวมว่า จอ เพราะมีกาเนิดมาจากจอหนังใหญ่ สรุปได้ว่าฉาก คือ ภาพที่ใช้ประกอบในการแสดง ที่ช่วยในการสร้างอารมณ์และทา ให้การแสดงนั้นดูสมจริงและมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ฉากที่ใช้ประกอบในการแสดงแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1)แบบแขวน คือ การวาดฉากลงบนผ้า เป็นสถานที่ตามเนื้อเรื่องที่แสดงแล้วขึงเอาไว้ด้านหลังสุด ของเวที เช่น ฉากลิเก เป็นต้น จะเปลี่ยนฉากโดยการม้วนฉากขึ้นไปไว้ด้านบนแล้วเปลี่ยนฉากใหม่ลง มาแทน เป็นการเปลี่ยนฉากตามเนื้อเรื่องซึ่งสามารถทาได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว 2)แบบตั้ง การวาดภาพลงบนแผงหลายๆชิ้น แล้วนามาประกอบเข้าด้วยกัน นาขึ้นตั้งบนเวทีที่แสดง เป็นฉากละครตามเนื้อเรื่อง หรืออาจจะใช้อุปกรณ์จริง เช่น ต้นไม้ โต๊ะ เก้าอี้ แจกัน เป็นต้น นามา จัดเป็นฉากประกอบในการแสดง เพื่อให้มีความสอดคล้องกับเรื่องที่แสดง เช่น การจัดฉากประกอบ ละครโทรทัศน์ เป็นต้น
  • 14. ฉากแขวน (ฉากลิเก) ฉากตั้ง ฉากเป็นองค์ประกอบที่ช่วยให้การแสดงนั้นดูสมจริง เพราะฉากเป็นการจาลองสถานที่ ตามเนื้อเรื่องทาให้ผู้ชมมองเห็นภาพเหตุการณ์ต่างๆในการแสดงละครได้ชัดเจน เกิดความ สนุกสนานเพลิดเพลินและมีอารมณ์ร่วมไปกับการแสดง ฉากที่ใช้ในการแสดงละครอาจจะ เป็นการสร้างฉากที่เกิดจากนามธรรมให้เกิดเป็นรูปธรรม เช่น ฉากละครแบบจินตนาการ ฉากสรรค์ ฉากนรก เป็นต้น ตามที่ผู้เขียนบทละครได้สร้างจินตนาการขึ้น ทาให้การแสดง ละครเรื่องนั้นมีความสมบูรณ์มากขึ้น สิ่งที่สาคัญที่สุดในการสร้างฉากที่ผู้สร้างจะต้องคานึงถึง คือ ต้องเลือกฉากให้ เหมาะสมกับเหตุการณ์ต่างๆในเรื่อง อีกทั้งยังต้องมีความชัดเจนและสอดคล้องกับเนื้อเรื่องที่ แสดง การออกแบบฉากประกอบในการแสดงสามารถแบ่งฉากเป็น 6 แบบ ดังนี้ 1)ฉากแบบบังคับ คือ การสร้างฉากเพียงฉากเดียวแต่สามารถใช้แสดงได้ทุกเรื่องเพราะ ถือว่าฉากเป็นเพียงตัวแบ่งระหว่างส่วนเวทีกับหลังเวทีเท่านั้น ซึ่งฉากแบบบังคับนี้ถือกาเนิดมา จากฉากละครแบบโรมัน
  • 15. 2)ฉากแบบสมจริง คือฉากที่สร้างขึ้นตามสภาพความเป็นจริง ตรงตามเหตุการณ์และ ยุคสมัยของเรื่องเพื่อให้เหมือนจริงมากที่สุด เช่น ฉากประกอบละครที่แสดงในโรงละคร แห่งชาติ เป็นต้น 3)ฉากบรรยากาศ คือ การสร้างฉากที่อาศัยแสง สีสร้างบรรยากาศตามเนื้อเรื่อ 4)ฉากแบบสัญลักษณ์ คือ การสร้างฉากที่ให้ผู้ชมสร้างจินตนาการประกอบไปด้วย เช่น ฉากทะเลทราย อาจจะมีการนาเอาต้นกระบองเพชรมาตั้งประกอบฉากแล้วให้ผู้ชมใช้ จินตนาการว่าเป็นท้องทะเลทราย เป็นต้น
  • 16. 5)ฉากแบบนามธรรม ( เกินความจริง) คือการสร้างฉากที่เกิดขึ้นมาจากความรู้สึก ประทับใจในสิ่งที่ได้พบเจอ อาจสร้างเกินความเป็นจริง หรือสร้างในสิ่งที่ไม่เคยมีผู้ใดได้พบ เห็นมาก่อน 6)ฉากแบบจินตนาการ เป็นฉากที่สร้างจากความรู้สึกหรือจินตนาการของผู้เขียนบทละคร ตามเนื้อเรื่อง เป็นสิ่งที่ไม่มีจริง เช่น นรก สวรรค์ บาดาล เป็นต้น ซึ่งเป็นการสร้างมา จากจินตนาการไม่เหมือนกับของจริง แต่ผู้ชมสามารถรู้และมีความเข้าใจคล้อยตาม แสง สี เสียง แสง สี ที่ใช้ในการแสดงละครนั้นเป็นการช่วยเน้นและเพิ่มความรู้สึกให้ผู้ชมเกิด จินตนาการที่ดูสมจริง ทาให้เกิดอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ และแสง สี ยังช่วยเสริมสีของเครื่อง แต่งกายและฉากให้เกิดความสวยงาม ดูกลมกลืน ไม่แข็ง อิทธิพลของแสง สี นั้นมีผลต่อ อารมณ์และความรู้สึกต่างๆ เช่น แสง สีน้าเงินให้ความรู้สึกถึงเวลากลางคืน รุ่งเช้า หรือ
  • 17. อารมณ์เศร้า , แสง สีเหลือง ให้ความรู้สึกสดชื่น รื่นเริง เบิกบานใจ แสง , สีแดงให้ ความรู้สึกสง่า ร้อนแรง ยิ่งใหญ่ เป็นต้น การใช้แสง สีในการแสดงละคร 1.การใช้แสง สีในการสร้างบรรยากาศ แสง สีมีส่วนช่วยในการสร้างบรรยากาศของละครการ ใช้แสง สี มีดังนี้ 1) แสง สีเหลืองอ่อน แสดงบรรยากาศในเวลาเช้ามืด 2) แสง สีเหลือง แสดงบรรยากาศในเวลาเช้า 3) แสง สีส้มอ่อน แสดงบรรยากาศในเวลาสาย 4) แสง สีขาว แสดงบรรยากาศในเวลากลางวัน 5) แสง สีชมพู แสดงบรรยากาศแสง ในเวลาบ่าย 6) แสง สีม่วงแดง แสดงบรรยากาศเวลาเย็น 7) แสง สีม่วงน้าเงิน แสดงบรรยากาศเวลาค่า 8 ) แสง สีน้าเงิน แสดงบรรยากาศในเวลากลางคืน 9) แสง สีเขียว แสดงบรรยากาศในเวลากลางคืนเดือนหงาย 2.การใช้แสง สีในการสร้างอารมณ์ การกาหนดแสง สี มีส่วนช่วยในการสร้างอารมณ์ของการ แสดง เช่น อารมณ์โกรธ จะใช้แสง สีแดง อารมณ์เศร้า เสียใจ จะใช้แสง สีน้าเงิน อารมณ์ ตื่นเต้น จะใช้แสง สีส้ม อารมณ์รัก จะใช้แสง สีเขียว เป็นต้น นอกจากเทคนิคแสง สีแล้ว เทคนิคการใช้เสียงแบบต่างๆประกอบการแสดงจะช่วย สร้างบรรยากาศ ทาให้การแสดงละครดูสมจริง ตัวอย่างการทาเทคนิคให้เกิดเสียงประกอบการ แสดง เช่น เสียงฟ้าผ่า ใช้แผ่นสังกะสีตีกับไม้ เสียงรถไฟใช้กระดาษทราย 2 แผ่นถูกัน เป็น
  • 18. ต้น สิ่งต่างๆเหล่านี้จึงมาความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะช่วยในการสร้างบรรยากาศและความ สมจริงให้กับการแสดง เครื่องแต่งกาย เครื่องแต่งกายที่ใช้ประกอบในการแสดงละคร หมายความรวมถึงเครื่องประดับ ศีรษะ เสื้อผ้าและเครื่องประดับร่างกาย มีความสาคัญในการบ่งบอกถึงบุคลิกลักษณะของตัว ละคร สถานภาพอาชีพของตัวละคร ยุคสมัยในการแสดงละคร เป็นต้น การออกแบบเครื่อง แต่งกายจะต้องคานึงถึงองค์ประกอบดังกล่าว โดยออกแบบเครื่องแต่งกายให้เหมาะสม สอดคล้องกับฉาก แสง สี หน้าที่ของเครื่องแต่งกาย ควรประหยัด เป็นต้น การแต่งกายตัวละคร พระ นาง ยักษ์ ลิง นางมโนห์รา นางสุพรรณมัจฉา พระราม พระลักษณ์
  • 19. หนังสืออ้างอิง ดุษฎี มีป้อม , นิลวรรณ ถมังรักษ์สัตว์ คู่มือการสอน เพื่อครูผู้สอน ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.5 วัฒนาพานิช หน้า 49 อรวรรณ ชมวัฒนา , วีร์สุดา บุนนา หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) หน้า 99