SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 1
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์
โดย
นางสาวพนมพร ชินชนะ
ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์
อาเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
กระทรวงศึกษาธิการ
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 2
คานา
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย ได้จัดทาขึ้นเพื่อ
แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชา นาฏศิลป์ และสามารถใช้ควบคู่ประกอบกิจกรรม
การเรียนการสอนได้ในขณะเวลาเดียวกัน ช่วยให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว
โดยได้รวบรวมและสรุปเนื้อหาสาระจากหนังสือและแหล่งข้อมูลต่างๆพร้อมรูปภาพมาจัดทา
เป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์ ซึ่งนักเรียนสามารถนาไปศึกษาเพิ่มเติมทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
ได้ในโอกาสต่อไป
พนมพร ชินชนะ
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 3
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์และการละครของไทยในสมัยต่างๆ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชาย
วรวรรณากร ประสูติเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาเขียน และทรงเป็นต้นราชสกุล วรวรรณ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ได้รับยกย่องว่าเป็นปราชญ์ทาง
วิทยาการเพราะพระองค์ทรงเป็นทั้งกวีและศิลปิน พระองค์ทรงมีแนวคิดในการสร้างละครรูปแบบใหม่ทรง
นาเอาวิธีการแสดงละคร “บังสาวัน” มาดัดแปลงและปรับปรุงขึ้นใหม่เรียกว่า “ละครร้อง” พระองค์ทรง
ได้รับยอย่องว่าเป็น “พระบิดาแห่งละครร้อง” ทรงตั้งคณะละครชื่อว่า “คณะละครนฤมิตร” หรือ “ละคร
หม่อมหลวงต่วน” โดยมีผู้ที่ช่วยในการก่อตั้งอีกสองคนคือ เจ้าจอมมารดาเขียน และหม่อมหลวงต่วนศรี
วรวรรณ ณ อยุธยา ละครเรื่องแรกที่คณะละครนฤมิตรแสดง คือเรื่อง “อาหรับราตรี” ต่อมาพระเจ้าบรม
วงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงไม่มีเวลาว่างติดราชการต่างๆ จึงทาให้คณะละครนฤมิตรได้เลิก
ไป ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ
นราธิปประพัน์พงศ์จัดการแสดงละครถวายเพื่อเป็นการทาขวัญต้นลิ้นจี่ ตามที่พระองค์เคยตรัสไว้ว่า ถ้า
หากต้นลิ้นจี่ออกผลเมื่อใดจะทรงหาละครหม่อมต่วนมาทาขวัญ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาคณะละครนฤมิตรจึง
จัดตั้งขึ้นอีกครั้งในพระบรมราชูปถัมภ์ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ
พระราชทานให้เป็นละครหลวง จึงเปลี่ยนชื่อมาเป็น “คณะละครหลวงนฤมิตร” ละครหลวงนฤมิตรได้จัด
แสดงในพระราชฐานบ่อยครั้งและเป็นที่ชื่นชอบของเจ้านายฝ่ายในและบรรดาชาววัง
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 ตุลามคม
2474 ซึ่งตรงกับรัชกาลที่ 7 สิริรวมพระชันษาได้ 70 ปี
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 4
คณะละครปรีดาลัย เป็นคณะละครของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์มีพระ
นามเดิมว่า "พระองค์เจ้าวรวรรณากร" ทรงเป็นพระราชโอรสลาดับที่ 56 ในเจ้าจอมมารดาเขียน
ประสูติเมื่อวันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 ในรัชกาลที่ 5 ทรงได้รับโปรดเกล้าให้ดารงตาแหน่ง
รองเสนาบดีกรมพระคลังมหาสมบัติ ผลงานโดดเด่นของพระองค์ก็คือ ทรงเป็นผู้บุกเบิกละครร้อง
เป็นครั้งแรกในเมืองไทย โดยทรงแก้ไขปรับปรุงละครบังสาวันที่ได้เข้ามาแสดงที่กรุงเทพ แล้ว
ก่อตั้ง "คณะละครปรีดาลัย" ละครปรีดาลัยเป็นละครร้องสลับพูด เป็นละครร้องเล่นที่โรงละคร
ปรีดาลัย (เดิมสร้างอยู่ในวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ถนนตะนาว)
คณะละครปรีดาลัยนี้ ต่อมาภายหลังได้เปลี่ยนเรียกชื่อว่า "ละครหลวงนฤมิตร" บางครั้งคนยังนิยม
เรียกว่า "ละครปรีดาลัย" อยู่งานพระนิพนธ์ที่มีชื่อเสียงของพระองค์จนเป็นที่เกรียวกราวในสมัย
รัชกาลที่ 5 ก็คือ ละคร "สาวเครือฟ้า" ทรงได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งการละครร้อง"
เสด็จในกรมสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 7 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2474 มีพระชันษา 70 ปี และหนึ่ง
ในพระธิดาของท่าน ที่ทรงได้เป็นถึงพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวก็คือ
"พระนางเธอลักษมีลาวัลย์" ซึ่งได้รับการยกย่องว่าทรงเป็นกุลสตรีที่งามเพริศพริ้งที่สุดในยุคนั้น
นอกจากนั้นยังทรงได้สืบทอดการละครต่อจากพระบิดาในเวลาต่อมา
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงเป็นองค์ต้นราชสกุล"วรวรรณ ณ อยุธยา"
http://203.172.205.25/ftp/intranet/anurakthai/anecdote/question4c81.html?QID=5
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 5
นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก
นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก มีชื่อเดิมว่า ด่วน เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.
2426 เป็นธิดาของนายกลั่น กับนางลาไย ภัทรนาวิก มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน เมื่อบิดาถึงแก่กรรม
มารดาจึงพาไปอาศัยอยู่กับนางจาด แถวสี่แยกบ้านหม้อ เมื่อนางศุภลักษณ์อายุได้ 9 ปี ได้เข้ารับฝึกหัด
ละครที่บ้านเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ ได้ฝึกหัดละครจนเป็นตัวนางที่มีฝีมือในการรา และเป็นที่เมตตา
ของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ จนกระทั่งอายุ 16 ปี จึงได้เป็นหม่อมของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์
นางศุภลักษณ์มีความจาดีเลิศ สามารถท่องจาบทร้องและบทเจรจาของตัวละครที่เล่นได้ทุก
ตัว สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์จึงโปรดให้นางศุภลักษณ์ฝึกหัดแสดงเป็นตัวนางยุบล(ค่อม)
ในเรื่องอิเหนา และตัวนางในเรื่องอุณรุท ซึ่งนางศุภลักษณ์ได้ฝึกฝนและแสดงเป็นอย่างดีโดยเฉพาะบท
นางยุบล (ค่อม) ซึ่งนางศุภลักษณ์ยังได้นามาถ่ายทอดให้กับลูกศิษย์ในโรงเรียนนาฏศิลป์ (วิทยาลัยนาฏศิลป์
ในปัจจุบัน)
นางศุภลักษณ์นั้นได้เริ่มช่วยสอนนาฏศิลป์ตั้งแต่อยู่ที่บ้านเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ตั้งกรมพิณพาทย์และโขนหลวงขึ้นมาใหม่ คุณหญิงเทศ นัฎ
กานุรักษ์ จึงชักชวนให้นางศุภลักษณ์มารับราชการในกรม และมอบหมายให้เป็นคนฝึกหัดการแสดง
ละครดึกดาบรรพ์และละครหลวง ต่อมาเมื่อกระทรวงถูกยุบนางศุภลักษณ์ จึงต้องออกจากราชการ
ใน พ.ศ. 2478 มีการจัดตั้งกรมศิลปากรขึ้นมาแทนกรมมหรสพ มีพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ
ดารงตาแหน่งเป็นอธิบดี จึงได้เชิญนางศุภลักษณ์ มาเป็นครูพร้อมกับนางลมุล ยมะคุปต์ นางศุภลักษณ์
ได้รับราชการที่โรงเรียนนาฏศิลป์ หรือวิทยาลัยนาฏศิลปจนกระทั่งถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน
2499
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 6
http://www.monnut.com/board/index.php?topic=2261.0
http://www.monnut.com/board/index.php?topic=2261.0
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 7
นายอาคม สายาคม
นายอาคม สายาคม มีชื่อเดิมว่า บุญสม เกิดเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2460 เป็น
บุตรของนายเจือกับนางผาด ศรียาภัย ต่อมานายสายกับ นางเพี้ยน สายาคม ซึ่งมีศักดิ์เป็นลุงและป้าไม่มี
บุตรจึงขอนายอาคม มาเป็นบุตรตั้งแต่ยังเล็ก และให้ใช้นามสกุล สายาคม นายอาคมได้สมรสกับนางสาว
เรณู วิเชียรน้อย มีบุตร 3 คน
นายอาคมเข้ารับราชการเมื่อ พ.ศ. 2472 ในตาแหน่งโขนหลวง กองมหรสพ ในรัชกาลที่
7 ต่อมาได้โอนมารับราชการเป็นศิลปินของกรมศิลปากรโดยแสดงเป็นตัวเอก เช่น พระราม อิเหนา
ขุนแผน พระอภัยมณี พระไวย ไกรทอง พระลอ อุณรุท เป็นต้น นอกจากนั้นยังได้ประดิษฐ์ท่ารา
ประกอบเพลงต่างๆ เช่น เพลงหน้าพาทย์ตระนาฎราช เพลงหน้าพาทย์โปรยข้าวตอก เพลงเชิดจีน
เป็นต้น นอกจากความสามารถดังกล่าวแล้วนายอาคมได้เขียนบทความ คาอธิบายนาฏยศัพท์ ความสาคัญ
ของหัวโขน ระบา รา เต้น เป็นต้น รวมทั้งยังได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้ประกอบพิธีไหว้ครู ครอบครูโขน-
ละคร และได้รับเชิญเป็นประธานไหว้ครูของสถาบันต่างๆทั้งราชการและเอกชน
นายอาคม สายาคม ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2525 ขณะที่กาลังจะไป
ประกอบพิธีไหว้ครูโขน – ละคร ที่วิทยาลัยนาฏศิลปะเชียงใหม่ ซึ่งนับว่า นายอาคม สายาคมเป็นครูที่
สาคัญในวงการนาฏศิลป์โขน – ละครอีกท่านหนึ่ง (มีผลงานด้านการแสดง ด้านการประดิษฐ์ท่าราและด้าน
วิชาการ)
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 8
http://www.digitalrarebook.com/index.php?lay=show&ac=cat_show_pro_detail&pid=79974
http://www.missladyboys.com/webboard/lofiversion/index.php?t11774.html
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 9
นางลมุล ยมะคุปต์
นางลมุล ยมะคุปต์ เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2448 เป็นธิดาของร้อยโท นายแพทย์
จีน กันนางคามอย อัญธัญภาติ เป็นชาวจังหวัดน่าน เข้ารับการศึกษาวิชาสามัญที่โรงเรียนสตรีวิทยา เมื่อ
อายุ 5 ปี ได้ถวายตัวฝึกหัดเป็นนางละคร ณ วังสวนกุหลาบ ของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าอัษฎางค์
เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา และได้กราบบังคมทูลลาจากวังสวนกุหลาบไปรับพระราชทานสนองพระ
ราชกรุณาเป็นนางละครใน ในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย
ณ วังเพชรบูรณ์ พร้อมกับเพื่อนละครอีกหลายท่าน นางลมุล ได้แสดงเป็นตัวเอกในละครหลายเรื่อง เช่น
เรื่องอิเหนา แสดงเป็นอิเหนา สียะตรา สังคามาระตา วิหยาสะกา เรื่องอุณรุท แสดงเป็นอุณรุท เรื่อง
รามเกียรติ์แสดงเป็นพระราม พระมงกุฎ อินทรชิต เรื่องสังข์ทอง แสดงเป็นพระสังข์ เจ้าเงาะ เรื่อง
เงาะป่า แสดงเป็นชมพลา ฮเนา เรื่องพระลอ แสดงเป็นพระลอ เป็นต้น
นางลมุลมีบทบาทที่สาคัญต่อวงการนาฎศิลป์ ไทย คือ เป็นผู้ร่างหลักสูตรการเรียนให้กับ
วิทยาลัยนาฏศิลป เพื่อที่จะทาให้การเรียนการสอนนาฏศิลป์นั้นมีขั้นตอนในการฝึกหัด จึงนับได้ว่า นาง
ลมุล ยมะคุปต์ เป็นบุคคลที่มีความสาคัญต่อวงการนาฏศิลป์ ไทยอย่างยิ่ง
นางลมุล ยมะคุปต์ ถึงแก่กรรมด้วยภาวะระบบหัวใจล้อมเหลว เมื่อวันที่ 30 มกราคม
พ.ศ 2526 สิริรวมอายุได้ 77 ปี 7 เดือน 28 วัน(ผู้เชี่ยวชาญการสอนและวางหลักสูตรการเรียนการสอน
นาฏศิลป์)
http://www.weloveshopping.com/portal/plaza/detail.php?shopid=202238&productid=1705
0622
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 10
ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี มีชื่อเดิมว่า แผ้ว สุทธิบูรณ์ เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม
พ.ศ. 2446 เป็นธิดาของนายเฮง กับนางสุทธิ สุทธิบูรณ์ เมื่ออายุ 8 ปี ได้เข้ารับการฝึกหัดละครใน
วังสวนกุหลาบ และวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
ต่อมาได้ถวายตัวในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวง
นครราชสีมาและได้รับการฝึกหัดจากคุณท้าววรจันทร์บรมธรรมิกภักดี (เจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 4 ) ซึ่ง
เป็นครูที่มีความสาคัญกับท่านผู้หญิงแผ้ว เจ้าจอมมารดาเขียน เจ้าจอมมารดาทับทิม หม่อมแย้ม และ
หม่อมอึ่ง จนสามารถแสดงละครเป็นตัวเอก และมีโอกาสได้แสดงถวายหน้าพระที่นั่งพระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวหลายครั้ง
ท่านผู้หญิงแผ้วได้แสดงเป็นตัวอิเหนา นางดรสา พระพิราพ นางเมขลา เป็นต้น และ
มีความสามารถในการราอาวุธได้อย่างเชี่ยวชาญ คือ กระบี่ ทวน และกริช อีกทั้งยังได้นาเอานาฏศิลป์
ของต่างชาติเข้ามาผสมผสานกับนาฏศิลป์ไทย ท่านยังได้ประดิษฐ์การแสดงไว้หลายชุดการแสดงด้วยกัน
เช่น รามโนห์ราตอนบูชายัญ โดยท่านได้แปลงท่ามาจากราดรสาแบหลา ราไทยจีนไมตรี ราเถิดเทิง
ระบาโบราณคดีชุดสุโขทัย ระบาครุฑ ระบานพรัตน์ ฟ้อนลาวดวงเดือน ฟ้อนมาลัย เป็นต้น
ท่านผู้หญิงแผ้วได้รับเหรียญดุษฎีมาลา หรือเข็มศิลปวิทยาซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่
แสดงถึงเกียรติสูงสุด ท่านผู้หญิงแผ้วได้สร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏศิลป์ไทยไว้มากมายจนได้รับยกย่อง
ขนานนามว่า “ปรมาจารย์แห่งนาฎศิลป์ไทย” เป็นศิลปินแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2528 สาขาศิลปะการแสดง
(นาฏศิลป์ไทย)
http://th.wikipedia.org/wik
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 11
ครูรงภักดี ( เจียร จารุวรณ์ )
ศิลปินแห่งชาติ สานานาฏศิลป์ พ.ศ. 2529
ครูรงภักดี เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2442 ที่จังหวัดนครปฐม เป็นบุตรของ
จางวางจอน และนางพริ้ง
ครูรงภักดี ฝึกหัดโขน (ยักษ์) กับพระยานัฎกานุรักษ์ และคุณหญิงนัฎกานุรักษ์ เมื่ออายุ
13 ปี ที่กรมมหรสพ สมัยรัชกาลที่ 6 ต่อมาเข้ารับราชการเป็นศิลปินในกรมมหรสพ สมัยรัชกาลที่ 7
นอกจากรับราชการเป็นตารวจแล้ว ท่านยังมีหน้าที่เป็นครูสอนนาฏศิลป์โขนด้วย
ครูรงภักดี เป็นผู้มีความสามารถราเพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราพ ซึ่งเป็นนาฏศิลป์สูงสุด
ได้ สมัยรัชกาลที่ 9 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้นายรงภักดีประกอบพิธีครอบองค์พระ เมื่อวันที่ 24
มกราคม พ.ศ. 2506 บริเวณโรงละครพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต
ต่อมาได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีพิธีต่อท่าราหน้าพาทย์องค์พระพิราพเป็นครั้งที่ 2
ในวันพฤหัสบดีที่ 25 พ.ศ. 2527 ณ ศาลาดุสิตาลัยสวนจิตรลดา แก่ศิลปินกรมศิลปากรที่ได้รับการ
คัดเลือกว่าเป็นผู้ที่มีฝีมือเยี่ยม ในขณะนั้นครูรงภักดีชราภาพมากแล้ว มีอายุได้ 86 ปี โดยให้ศิลปินต่อท่า
ราจากภาพยนตร์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงบันทึกท่าราของครูรงภักดีไว้ เมื่อปี พ.ศ. 2506
ด้วยเหตุนี้หน้าพาทย์องค์พระพิราพ จึงไม่สูญไปจากนาฏศิลป์ไทย นับว่าครูรงภักดีได้เป็น
ผู้สืบทอดเพลงหน้าพาทย์สูงสุดของวิชานาฏศิลป์ไว้เป็นมรดกของแผ่นดิน เพื่อเยาวชนไทยรุ่นหลังจะได้
ศึกษาเรียนรู้ต่อไป (ผู้สืบทอดเพลงหน้าพาทย์)
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 12
http://th.wikipedia.org/wiki
http://board.postjung.com/534830.html
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 13
นางเฉลย ศุขะวนิช
(ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ. 2530)
ครูเฉลย ศุขะวนิช เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477 ท่านเข้ารับราชการฝึกหัด
นาฏศิลป์ที่วังสวนกุหลาบตั้งแต่อายุ 7 ขวบ แล้วย้ายไปศึกษาด้านการแสดงละครดึกดาบรรพ์ที่วัง
เพชรบูรณ์
ผลงานด้านการแสดงท่านมีฝีมือและความสามารถในการแสดงเป็นตัวนางเอก เช่น นางสี
ดา นางสุวรรณมาลี นางเบญกาย นางดรสา นางมณโฑ มะเดหวี ประไหมสุหรี นางมณฑา
ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารา ได้แก่ ราแม่บทสลับคา ราพัด รัตนโกสินทร์
ชุดศุภลักาณ์อุ้มสม ฉุยฉายวันทองแปลง ฉุยฉายศูรปนขา ฉุยฉายยอพระกลิ่น รากริชดรสา ฝรั่งคู่
ระบาศรีชัยสิงห์ ระบากาญจนาภิเษก ระบาเทพอัปสรพนมรุ้ง ระบาขอม ฟ้อนลาวสมเด็จ เซิ้งสราญ
นอกจากนี้ยังประดิษฐ์ท่าราให้ตัวละครนางเอกของศิลปินกรมศิลปากรนับว่าเป็นผู้หนึ่งที่สืบทอดวิชา
นาฏศิลป์ไทยอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐาน (เป็นศิลปินแห่งชาติที่สืบทอดวิชานาฏศิลป์อย่างมีคุณภาพ)
http://www.nara-rarebook.com/product.detail_601013_th_4385109
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 14
ครูจาเรียง พุธประดับ
(ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ ละคร) พ.ศ. 2531
ครูจาเรียง พุธประดับ เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2459 บิดาชื่อนายเปี่ยม มารดา
ชื่อนางเจิม เป็นชาวจังหวัดเพชรบุรี เริ่มต้นเข้ารับราชการถวายตัวเป็นละครหลวงสมัยรัชกาลที่ 7 ได้รับ
การฝึกหัดนาฎศิลป์ที่สังสวนกุหลาบเป็นเวลา 2 ปี เมื่อ พ.ศ. 2478 ได้โอนกองมหรสพ กระทรวงวังมายัง
กรมศิลปากร ครูจาเรียง พุธประดับ จึงได้ย้ายมาเป็นข้าราชการกรมศิลปากร และเป็นศิลปินคนแรกของ
กรมศิลปากรที่ได้รับชั้นพิเศษ เป็นผู้บริหาร เป็นผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฎศิลป์ไทยระดับปริญญา เป็น
อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สอนนาฏศิลป์ ให้แก่ยุวศิลปินมูลนิธิ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จังหวัดสมุทรสงคราม ถ่ายทอดละครในให้แก่คณะละคร
สมัครเล่น วังปลายเนิน ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ สอนนาฏศิลป์ให้แก่นานาชาติ เช่น
ญี่ปุ่น พม่า เขมร ลาว เวียดนาม เป็นหัวหน้าคณะไปเผยแพร่นาฏศิลป์ ไทยในต่างประเทศ เป็นผู้
พิจารณาหลักสูตรนาฏศิลป์ระดับปริญญาเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์ของนักศึกษา
ผลงานที่สืบทอดนาฎศิลป์ ไทยแบบมาตรฐานมิให้สูญหาย ได้แก่ เชิดฉิ่งเมขลา นาง
นารายณ์เบญกายแปลง พราหมณ์เกศสุริยง นางจันทร์ รจนา บุษบา นางพญาคาปิน ล้วนเป็น
บทบาทที่ครูจาเรียงแสดงมาแล้วทั้งสิ้น
ท่านเป็นกาลังสาคัญในการสืบสานพัฒนาอนุรักษ์นาฎศิลป์ ไทย และยังได้รับการยกย่อง
ว่าเป็นครูนาฎศิลป์ของลูกศิษย์ทั่วแผ่นดินไทย(เป็นศิลปินคนแรกที่ได้รับชั้นพิเศษเป็นผู้บริหารเชี่ยวชาญ)
http://natpiyaacademic.igetweb.com/index.php?mo=3&art=314118
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 15
นายกรี วรศะริน
(ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง นาฏศิลป์ -โขน)
นายกรี วรสะริน เกิดเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2457 ที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร เป็น
ศิลปินที่เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ โขน ของวิทยาลัยนาฏศิลปะ กรมศิลปากร ท่านมีความสามารถใน
การแสดงโขนทุกประเภท โดยเฉพาะโขนตัวลิง อีกทั้งยังสร้างสรรค์และประดิษฐ์ผลงานด้านโขน – ละคร
หลายชุด จนเป็นที่ยอมรับนับถือในวงการนาฏดุริยางคศิลป์ นายกรี วรศะริน ได้รับการยกย่องเชิดชู
เกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์-โขน) ประจาปี พ.ศ.2531
http://fon-julalak.blogspot.com/2010/11/40_15.html
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 16
นางสมพันธ์ โชตนา
(ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง นาฏศิลป์ พื้นเมืองล้านนา )
นางสมพันธ์ โชตนา เกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2464 ที่คุ้มเจ้าหลวงนครเชียงใหม่
เข้ารับการฝึกอบรมนาฏศิลป์ในคุ้มเจ้าหลวงเชียงใหม่ เมื่ออายุ 9 ปี โดยท่านหัดเป็นตัวพระกับครูหม่อม
แส ณ เชียงใหม่ โดยแสดงเป็นตัวพระและตัวพ่อ ในละครเรื่อง ไชยเชษฐ์ คาวี สุวรรณหงส์ ต่อมา
ท่านได้ตั้งคณะช่างฟ้อนประดิษฐ์ท่าเต้นของชาวเขาเผ่าต่างๆ เช่น ชุดราไทยเขิน ฟ้อนวี ฟ้อนกมผัด จน
ท่านได้รับยกย่องว่าเป็นผู้สืบสานพัฒนานาฏศิลป์พื้นเมืองล้านนา และอนุรักษ์ดนตรีการแสดงพื้นเมือง
ภาคเหนือ จึงได้รับยกย่องและเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์พื้นเมือง
ล้านนา) ประจาปี พ.ศ. 2542
http://cdacm.bpi.ac.th/Best_Person/Kru_SumPun/Kru_SumPun_Main.htm
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 17
อ้างอิง
หนังสือเรียน ดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สานักพิมพ์วัฒนาพานิช หลักสูตร 2551
หนังสือเรียน ศิลปะ นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษา ม.4-ม.6 อักษรเจริญทัศน์ พิมพ์ครั้งที่ 16
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานนาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ
(พว.)
บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 18

More Related Content

What's hot

แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติPanomporn Chinchana
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4Sombom
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdfประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdfPhichayaP
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557Panomporn Chinchana
 
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"Krujanppm2017
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกThassanee Buasri
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 56
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 56 อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 56
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 56 Patpong Lohapibool
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจTindanai
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมOrapan Chamnan
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4 (20)

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdfประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
 
หน้า 1
หน้า 1หน้า 1
หน้า 1
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
หลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะหลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 56
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 56 อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 56
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 56
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจ
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 

More from Panomporn Chinchana

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯPanomporn Chinchana
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...Panomporn Chinchana
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 

More from Panomporn Chinchana (16)

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 

เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4

  • 1. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 1 บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ โดย นางสาวพนมพร ชินชนะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ อาเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 2 คานา เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย ได้จัดทาขึ้นเพื่อ แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชา นาฏศิลป์ และสามารถใช้ควบคู่ประกอบกิจกรรม การเรียนการสอนได้ในขณะเวลาเดียวกัน ช่วยให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว โดยได้รวบรวมและสรุปเนื้อหาสาระจากหนังสือและแหล่งข้อมูลต่างๆพร้อมรูปภาพมาจัดทา เป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์ ซึ่งนักเรียนสามารถนาไปศึกษาเพิ่มเติมทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ได้ในโอกาสต่อไป พนมพร ชินชนะ
  • 3. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 3 บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์และการละครของไทยในสมัยต่างๆ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชาย วรวรรณากร ประสูติเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาเขียน และทรงเป็นต้นราชสกุล วรวรรณ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ได้รับยกย่องว่าเป็นปราชญ์ทาง วิทยาการเพราะพระองค์ทรงเป็นทั้งกวีและศิลปิน พระองค์ทรงมีแนวคิดในการสร้างละครรูปแบบใหม่ทรง นาเอาวิธีการแสดงละคร “บังสาวัน” มาดัดแปลงและปรับปรุงขึ้นใหม่เรียกว่า “ละครร้อง” พระองค์ทรง ได้รับยอย่องว่าเป็น “พระบิดาแห่งละครร้อง” ทรงตั้งคณะละครชื่อว่า “คณะละครนฤมิตร” หรือ “ละคร หม่อมหลวงต่วน” โดยมีผู้ที่ช่วยในการก่อตั้งอีกสองคนคือ เจ้าจอมมารดาเขียน และหม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ ณ อยุธยา ละครเรื่องแรกที่คณะละครนฤมิตรแสดง คือเรื่อง “อาหรับราตรี” ต่อมาพระเจ้าบรม วงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงไม่มีเวลาว่างติดราชการต่างๆ จึงทาให้คณะละครนฤมิตรได้เลิก ไป ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ นราธิปประพัน์พงศ์จัดการแสดงละครถวายเพื่อเป็นการทาขวัญต้นลิ้นจี่ ตามที่พระองค์เคยตรัสไว้ว่า ถ้า หากต้นลิ้นจี่ออกผลเมื่อใดจะทรงหาละครหม่อมต่วนมาทาขวัญ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาคณะละครนฤมิตรจึง จัดตั้งขึ้นอีกครั้งในพระบรมราชูปถัมภ์ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้เป็นละครหลวง จึงเปลี่ยนชื่อมาเป็น “คณะละครหลวงนฤมิตร” ละครหลวงนฤมิตรได้จัด แสดงในพระราชฐานบ่อยครั้งและเป็นที่ชื่นชอบของเจ้านายฝ่ายในและบรรดาชาววัง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 ตุลามคม 2474 ซึ่งตรงกับรัชกาลที่ 7 สิริรวมพระชันษาได้ 70 ปี
  • 4. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 4 คณะละครปรีดาลัย เป็นคณะละครของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์มีพระ นามเดิมว่า "พระองค์เจ้าวรวรรณากร" ทรงเป็นพระราชโอรสลาดับที่ 56 ในเจ้าจอมมารดาเขียน ประสูติเมื่อวันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 ในรัชกาลที่ 5 ทรงได้รับโปรดเกล้าให้ดารงตาแหน่ง รองเสนาบดีกรมพระคลังมหาสมบัติ ผลงานโดดเด่นของพระองค์ก็คือ ทรงเป็นผู้บุกเบิกละครร้อง เป็นครั้งแรกในเมืองไทย โดยทรงแก้ไขปรับปรุงละครบังสาวันที่ได้เข้ามาแสดงที่กรุงเทพ แล้ว ก่อตั้ง "คณะละครปรีดาลัย" ละครปรีดาลัยเป็นละครร้องสลับพูด เป็นละครร้องเล่นที่โรงละคร ปรีดาลัย (เดิมสร้างอยู่ในวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ถนนตะนาว) คณะละครปรีดาลัยนี้ ต่อมาภายหลังได้เปลี่ยนเรียกชื่อว่า "ละครหลวงนฤมิตร" บางครั้งคนยังนิยม เรียกว่า "ละครปรีดาลัย" อยู่งานพระนิพนธ์ที่มีชื่อเสียงของพระองค์จนเป็นที่เกรียวกราวในสมัย รัชกาลที่ 5 ก็คือ ละคร "สาวเครือฟ้า" ทรงได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งการละครร้อง" เสด็จในกรมสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 7 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2474 มีพระชันษา 70 ปี และหนึ่ง ในพระธิดาของท่าน ที่ทรงได้เป็นถึงพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวก็คือ "พระนางเธอลักษมีลาวัลย์" ซึ่งได้รับการยกย่องว่าทรงเป็นกุลสตรีที่งามเพริศพริ้งที่สุดในยุคนั้น นอกจากนั้นยังทรงได้สืบทอดการละครต่อจากพระบิดาในเวลาต่อมา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงเป็นองค์ต้นราชสกุล"วรวรรณ ณ อยุธยา" http://203.172.205.25/ftp/intranet/anurakthai/anecdote/question4c81.html?QID=5
  • 5. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 5 นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก มีชื่อเดิมว่า ด่วน เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 เป็นธิดาของนายกลั่น กับนางลาไย ภัทรนาวิก มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน เมื่อบิดาถึงแก่กรรม มารดาจึงพาไปอาศัยอยู่กับนางจาด แถวสี่แยกบ้านหม้อ เมื่อนางศุภลักษณ์อายุได้ 9 ปี ได้เข้ารับฝึกหัด ละครที่บ้านเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ ได้ฝึกหัดละครจนเป็นตัวนางที่มีฝีมือในการรา และเป็นที่เมตตา ของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ จนกระทั่งอายุ 16 ปี จึงได้เป็นหม่อมของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ นางศุภลักษณ์มีความจาดีเลิศ สามารถท่องจาบทร้องและบทเจรจาของตัวละครที่เล่นได้ทุก ตัว สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์จึงโปรดให้นางศุภลักษณ์ฝึกหัดแสดงเป็นตัวนางยุบล(ค่อม) ในเรื่องอิเหนา และตัวนางในเรื่องอุณรุท ซึ่งนางศุภลักษณ์ได้ฝึกฝนและแสดงเป็นอย่างดีโดยเฉพาะบท นางยุบล (ค่อม) ซึ่งนางศุภลักษณ์ยังได้นามาถ่ายทอดให้กับลูกศิษย์ในโรงเรียนนาฏศิลป์ (วิทยาลัยนาฏศิลป์ ในปัจจุบัน) นางศุภลักษณ์นั้นได้เริ่มช่วยสอนนาฏศิลป์ตั้งแต่อยู่ที่บ้านเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ตั้งกรมพิณพาทย์และโขนหลวงขึ้นมาใหม่ คุณหญิงเทศ นัฎ กานุรักษ์ จึงชักชวนให้นางศุภลักษณ์มารับราชการในกรม และมอบหมายให้เป็นคนฝึกหัดการแสดง ละครดึกดาบรรพ์และละครหลวง ต่อมาเมื่อกระทรวงถูกยุบนางศุภลักษณ์ จึงต้องออกจากราชการ ใน พ.ศ. 2478 มีการจัดตั้งกรมศิลปากรขึ้นมาแทนกรมมหรสพ มีพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ดารงตาแหน่งเป็นอธิบดี จึงได้เชิญนางศุภลักษณ์ มาเป็นครูพร้อมกับนางลมุล ยมะคุปต์ นางศุภลักษณ์ ได้รับราชการที่โรงเรียนนาฏศิลป์ หรือวิทยาลัยนาฏศิลปจนกระทั่งถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2499
  • 6. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 6 http://www.monnut.com/board/index.php?topic=2261.0 http://www.monnut.com/board/index.php?topic=2261.0
  • 7. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 7 นายอาคม สายาคม นายอาคม สายาคม มีชื่อเดิมว่า บุญสม เกิดเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2460 เป็น บุตรของนายเจือกับนางผาด ศรียาภัย ต่อมานายสายกับ นางเพี้ยน สายาคม ซึ่งมีศักดิ์เป็นลุงและป้าไม่มี บุตรจึงขอนายอาคม มาเป็นบุตรตั้งแต่ยังเล็ก และให้ใช้นามสกุล สายาคม นายอาคมได้สมรสกับนางสาว เรณู วิเชียรน้อย มีบุตร 3 คน นายอาคมเข้ารับราชการเมื่อ พ.ศ. 2472 ในตาแหน่งโขนหลวง กองมหรสพ ในรัชกาลที่ 7 ต่อมาได้โอนมารับราชการเป็นศิลปินของกรมศิลปากรโดยแสดงเป็นตัวเอก เช่น พระราม อิเหนา ขุนแผน พระอภัยมณี พระไวย ไกรทอง พระลอ อุณรุท เป็นต้น นอกจากนั้นยังได้ประดิษฐ์ท่ารา ประกอบเพลงต่างๆ เช่น เพลงหน้าพาทย์ตระนาฎราช เพลงหน้าพาทย์โปรยข้าวตอก เพลงเชิดจีน เป็นต้น นอกจากความสามารถดังกล่าวแล้วนายอาคมได้เขียนบทความ คาอธิบายนาฏยศัพท์ ความสาคัญ ของหัวโขน ระบา รา เต้น เป็นต้น รวมทั้งยังได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้ประกอบพิธีไหว้ครู ครอบครูโขน- ละคร และได้รับเชิญเป็นประธานไหว้ครูของสถาบันต่างๆทั้งราชการและเอกชน นายอาคม สายาคม ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2525 ขณะที่กาลังจะไป ประกอบพิธีไหว้ครูโขน – ละคร ที่วิทยาลัยนาฏศิลปะเชียงใหม่ ซึ่งนับว่า นายอาคม สายาคมเป็นครูที่ สาคัญในวงการนาฏศิลป์โขน – ละครอีกท่านหนึ่ง (มีผลงานด้านการแสดง ด้านการประดิษฐ์ท่าราและด้าน วิชาการ)
  • 8. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 8 http://www.digitalrarebook.com/index.php?lay=show&ac=cat_show_pro_detail&pid=79974 http://www.missladyboys.com/webboard/lofiversion/index.php?t11774.html
  • 9. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 9 นางลมุล ยมะคุปต์ นางลมุล ยมะคุปต์ เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2448 เป็นธิดาของร้อยโท นายแพทย์ จีน กันนางคามอย อัญธัญภาติ เป็นชาวจังหวัดน่าน เข้ารับการศึกษาวิชาสามัญที่โรงเรียนสตรีวิทยา เมื่อ อายุ 5 ปี ได้ถวายตัวฝึกหัดเป็นนางละคร ณ วังสวนกุหลาบ ของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าอัษฎางค์ เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา และได้กราบบังคมทูลลาจากวังสวนกุหลาบไปรับพระราชทานสนองพระ ราชกรุณาเป็นนางละครใน ในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย ณ วังเพชรบูรณ์ พร้อมกับเพื่อนละครอีกหลายท่าน นางลมุล ได้แสดงเป็นตัวเอกในละครหลายเรื่อง เช่น เรื่องอิเหนา แสดงเป็นอิเหนา สียะตรา สังคามาระตา วิหยาสะกา เรื่องอุณรุท แสดงเป็นอุณรุท เรื่อง รามเกียรติ์แสดงเป็นพระราม พระมงกุฎ อินทรชิต เรื่องสังข์ทอง แสดงเป็นพระสังข์ เจ้าเงาะ เรื่อง เงาะป่า แสดงเป็นชมพลา ฮเนา เรื่องพระลอ แสดงเป็นพระลอ เป็นต้น นางลมุลมีบทบาทที่สาคัญต่อวงการนาฎศิลป์ ไทย คือ เป็นผู้ร่างหลักสูตรการเรียนให้กับ วิทยาลัยนาฏศิลป เพื่อที่จะทาให้การเรียนการสอนนาฏศิลป์นั้นมีขั้นตอนในการฝึกหัด จึงนับได้ว่า นาง ลมุล ยมะคุปต์ เป็นบุคคลที่มีความสาคัญต่อวงการนาฏศิลป์ ไทยอย่างยิ่ง นางลมุล ยมะคุปต์ ถึงแก่กรรมด้วยภาวะระบบหัวใจล้อมเหลว เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ 2526 สิริรวมอายุได้ 77 ปี 7 เดือน 28 วัน(ผู้เชี่ยวชาญการสอนและวางหลักสูตรการเรียนการสอน นาฏศิลป์) http://www.weloveshopping.com/portal/plaza/detail.php?shopid=202238&productid=1705 0622
  • 10. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 10 ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี มีชื่อเดิมว่า แผ้ว สุทธิบูรณ์ เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2446 เป็นธิดาของนายเฮง กับนางสุทธิ สุทธิบูรณ์ เมื่ออายุ 8 ปี ได้เข้ารับการฝึกหัดละครใน วังสวนกุหลาบ และวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ต่อมาได้ถวายตัวในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวง นครราชสีมาและได้รับการฝึกหัดจากคุณท้าววรจันทร์บรมธรรมิกภักดี (เจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 4 ) ซึ่ง เป็นครูที่มีความสาคัญกับท่านผู้หญิงแผ้ว เจ้าจอมมารดาเขียน เจ้าจอมมารดาทับทิม หม่อมแย้ม และ หม่อมอึ่ง จนสามารถแสดงละครเป็นตัวเอก และมีโอกาสได้แสดงถวายหน้าพระที่นั่งพระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวหลายครั้ง ท่านผู้หญิงแผ้วได้แสดงเป็นตัวอิเหนา นางดรสา พระพิราพ นางเมขลา เป็นต้น และ มีความสามารถในการราอาวุธได้อย่างเชี่ยวชาญ คือ กระบี่ ทวน และกริช อีกทั้งยังได้นาเอานาฏศิลป์ ของต่างชาติเข้ามาผสมผสานกับนาฏศิลป์ไทย ท่านยังได้ประดิษฐ์การแสดงไว้หลายชุดการแสดงด้วยกัน เช่น รามโนห์ราตอนบูชายัญ โดยท่านได้แปลงท่ามาจากราดรสาแบหลา ราไทยจีนไมตรี ราเถิดเทิง ระบาโบราณคดีชุดสุโขทัย ระบาครุฑ ระบานพรัตน์ ฟ้อนลาวดวงเดือน ฟ้อนมาลัย เป็นต้น ท่านผู้หญิงแผ้วได้รับเหรียญดุษฎีมาลา หรือเข็มศิลปวิทยาซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ แสดงถึงเกียรติสูงสุด ท่านผู้หญิงแผ้วได้สร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏศิลป์ไทยไว้มากมายจนได้รับยกย่อง ขนานนามว่า “ปรมาจารย์แห่งนาฎศิลป์ไทย” เป็นศิลปินแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2528 สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย) http://th.wikipedia.org/wik
  • 11. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 11 ครูรงภักดี ( เจียร จารุวรณ์ ) ศิลปินแห่งชาติ สานานาฏศิลป์ พ.ศ. 2529 ครูรงภักดี เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2442 ที่จังหวัดนครปฐม เป็นบุตรของ จางวางจอน และนางพริ้ง ครูรงภักดี ฝึกหัดโขน (ยักษ์) กับพระยานัฎกานุรักษ์ และคุณหญิงนัฎกานุรักษ์ เมื่ออายุ 13 ปี ที่กรมมหรสพ สมัยรัชกาลที่ 6 ต่อมาเข้ารับราชการเป็นศิลปินในกรมมหรสพ สมัยรัชกาลที่ 7 นอกจากรับราชการเป็นตารวจแล้ว ท่านยังมีหน้าที่เป็นครูสอนนาฏศิลป์โขนด้วย ครูรงภักดี เป็นผู้มีความสามารถราเพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราพ ซึ่งเป็นนาฏศิลป์สูงสุด ได้ สมัยรัชกาลที่ 9 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้นายรงภักดีประกอบพิธีครอบองค์พระ เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2506 บริเวณโรงละครพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ต่อมาได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีพิธีต่อท่าราหน้าพาทย์องค์พระพิราพเป็นครั้งที่ 2 ในวันพฤหัสบดีที่ 25 พ.ศ. 2527 ณ ศาลาดุสิตาลัยสวนจิตรลดา แก่ศิลปินกรมศิลปากรที่ได้รับการ คัดเลือกว่าเป็นผู้ที่มีฝีมือเยี่ยม ในขณะนั้นครูรงภักดีชราภาพมากแล้ว มีอายุได้ 86 ปี โดยให้ศิลปินต่อท่า ราจากภาพยนตร์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงบันทึกท่าราของครูรงภักดีไว้ เมื่อปี พ.ศ. 2506 ด้วยเหตุนี้หน้าพาทย์องค์พระพิราพ จึงไม่สูญไปจากนาฏศิลป์ไทย นับว่าครูรงภักดีได้เป็น ผู้สืบทอดเพลงหน้าพาทย์สูงสุดของวิชานาฏศิลป์ไว้เป็นมรดกของแผ่นดิน เพื่อเยาวชนไทยรุ่นหลังจะได้ ศึกษาเรียนรู้ต่อไป (ผู้สืบทอดเพลงหน้าพาทย์)
  • 12. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 12 http://th.wikipedia.org/wiki http://board.postjung.com/534830.html
  • 13. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 13 นางเฉลย ศุขะวนิช (ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ. 2530) ครูเฉลย ศุขะวนิช เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477 ท่านเข้ารับราชการฝึกหัด นาฏศิลป์ที่วังสวนกุหลาบตั้งแต่อายุ 7 ขวบ แล้วย้ายไปศึกษาด้านการแสดงละครดึกดาบรรพ์ที่วัง เพชรบูรณ์ ผลงานด้านการแสดงท่านมีฝีมือและความสามารถในการแสดงเป็นตัวนางเอก เช่น นางสี ดา นางสุวรรณมาลี นางเบญกาย นางดรสา นางมณโฑ มะเดหวี ประไหมสุหรี นางมณฑา ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารา ได้แก่ ราแม่บทสลับคา ราพัด รัตนโกสินทร์ ชุดศุภลักาณ์อุ้มสม ฉุยฉายวันทองแปลง ฉุยฉายศูรปนขา ฉุยฉายยอพระกลิ่น รากริชดรสา ฝรั่งคู่ ระบาศรีชัยสิงห์ ระบากาญจนาภิเษก ระบาเทพอัปสรพนมรุ้ง ระบาขอม ฟ้อนลาวสมเด็จ เซิ้งสราญ นอกจากนี้ยังประดิษฐ์ท่าราให้ตัวละครนางเอกของศิลปินกรมศิลปากรนับว่าเป็นผู้หนึ่งที่สืบทอดวิชา นาฏศิลป์ไทยอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐาน (เป็นศิลปินแห่งชาติที่สืบทอดวิชานาฏศิลป์อย่างมีคุณภาพ) http://www.nara-rarebook.com/product.detail_601013_th_4385109
  • 14. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 14 ครูจาเรียง พุธประดับ (ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ ละคร) พ.ศ. 2531 ครูจาเรียง พุธประดับ เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2459 บิดาชื่อนายเปี่ยม มารดา ชื่อนางเจิม เป็นชาวจังหวัดเพชรบุรี เริ่มต้นเข้ารับราชการถวายตัวเป็นละครหลวงสมัยรัชกาลที่ 7 ได้รับ การฝึกหัดนาฎศิลป์ที่สังสวนกุหลาบเป็นเวลา 2 ปี เมื่อ พ.ศ. 2478 ได้โอนกองมหรสพ กระทรวงวังมายัง กรมศิลปากร ครูจาเรียง พุธประดับ จึงได้ย้ายมาเป็นข้าราชการกรมศิลปากร และเป็นศิลปินคนแรกของ กรมศิลปากรที่ได้รับชั้นพิเศษ เป็นผู้บริหาร เป็นผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฎศิลป์ไทยระดับปริญญา เป็น อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สอนนาฏศิลป์ ให้แก่ยุวศิลปินมูลนิธิ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จังหวัดสมุทรสงคราม ถ่ายทอดละครในให้แก่คณะละคร สมัครเล่น วังปลายเนิน ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ สอนนาฏศิลป์ให้แก่นานาชาติ เช่น ญี่ปุ่น พม่า เขมร ลาว เวียดนาม เป็นหัวหน้าคณะไปเผยแพร่นาฏศิลป์ ไทยในต่างประเทศ เป็นผู้ พิจารณาหลักสูตรนาฏศิลป์ระดับปริญญาเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์ของนักศึกษา ผลงานที่สืบทอดนาฎศิลป์ ไทยแบบมาตรฐานมิให้สูญหาย ได้แก่ เชิดฉิ่งเมขลา นาง นารายณ์เบญกายแปลง พราหมณ์เกศสุริยง นางจันทร์ รจนา บุษบา นางพญาคาปิน ล้วนเป็น บทบาทที่ครูจาเรียงแสดงมาแล้วทั้งสิ้น ท่านเป็นกาลังสาคัญในการสืบสานพัฒนาอนุรักษ์นาฎศิลป์ ไทย และยังได้รับการยกย่อง ว่าเป็นครูนาฎศิลป์ของลูกศิษย์ทั่วแผ่นดินไทย(เป็นศิลปินคนแรกที่ได้รับชั้นพิเศษเป็นผู้บริหารเชี่ยวชาญ) http://natpiyaacademic.igetweb.com/index.php?mo=3&art=314118
  • 15. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 15 นายกรี วรศะริน (ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง นาฏศิลป์ -โขน) นายกรี วรสะริน เกิดเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2457 ที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร เป็น ศิลปินที่เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ โขน ของวิทยาลัยนาฏศิลปะ กรมศิลปากร ท่านมีความสามารถใน การแสดงโขนทุกประเภท โดยเฉพาะโขนตัวลิง อีกทั้งยังสร้างสรรค์และประดิษฐ์ผลงานด้านโขน – ละคร หลายชุด จนเป็นที่ยอมรับนับถือในวงการนาฏดุริยางคศิลป์ นายกรี วรศะริน ได้รับการยกย่องเชิดชู เกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์-โขน) ประจาปี พ.ศ.2531 http://fon-julalak.blogspot.com/2010/11/40_15.html
  • 16. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 16 นางสมพันธ์ โชตนา (ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง นาฏศิลป์ พื้นเมืองล้านนา ) นางสมพันธ์ โชตนา เกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2464 ที่คุ้มเจ้าหลวงนครเชียงใหม่ เข้ารับการฝึกอบรมนาฏศิลป์ในคุ้มเจ้าหลวงเชียงใหม่ เมื่ออายุ 9 ปี โดยท่านหัดเป็นตัวพระกับครูหม่อม แส ณ เชียงใหม่ โดยแสดงเป็นตัวพระและตัวพ่อ ในละครเรื่อง ไชยเชษฐ์ คาวี สุวรรณหงส์ ต่อมา ท่านได้ตั้งคณะช่างฟ้อนประดิษฐ์ท่าเต้นของชาวเขาเผ่าต่างๆ เช่น ชุดราไทยเขิน ฟ้อนวี ฟ้อนกมผัด จน ท่านได้รับยกย่องว่าเป็นผู้สืบสานพัฒนานาฏศิลป์พื้นเมืองล้านนา และอนุรักษ์ดนตรีการแสดงพื้นเมือง ภาคเหนือ จึงได้รับยกย่องและเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์พื้นเมือง ล้านนา) ประจาปี พ.ศ. 2542 http://cdacm.bpi.ac.th/Best_Person/Kru_SumPun/Kru_SumPun_Main.htm
  • 17. บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยและละครไทย โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ หน้า 17 อ้างอิง หนังสือเรียน ดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สานักพิมพ์วัฒนาพานิช หลักสูตร 2551 หนังสือเรียน ศิลปะ นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษา ม.4-ม.6 อักษรเจริญทัศน์ พิมพ์ครั้งที่ 16 หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานนาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)