SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง วิวัฒนาการละครและนาฏศิลป์ไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน
โดย
นางสาวพนมพร ชินชนะ
ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
คานา
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วิวัฒนาการละครและนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ได้
จัดทาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และ
สามารถใช้ควบคู่ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได้ในขณะเดียวกัน โดยได้รวบรวมและสรุปเนื้อหา
สาระจากหนังสือหลายๆเล่มมาจัดทาเป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์ ช่วยให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจได้อย่าง
รวดเร็ว และสามารถนาไปศึกษาเพิ่มเติมทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนได้ในโอกาสต่อไป
พนมพร ชินชนะ
วิวัฒนาการของละครและนาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะประจาชาติอันเป็นศิลปะมรดกด้านวัฒนธรรม แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์
ของไทยมีประวัติความเป็นมายาวนานและมีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยน่านเจ้าจนถึงปัจจุบัน
สมัยน่านเจ้า
จากหลักฐานการค้นคว้าพบว่า ในสมัยน่านเจ้ามีละครเรื่องมโนห์รา ซึ่งในปัจจุบันก็ยังมีอยู่และยังมี
นิยายของพวกไตซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยอยู่ทางใต้ของประเทศจีน เรื่องนามาโนห์ราซึ่งเพี้ยนไปเป็น นางมโนห์รา
ก็รู้จักกันดีนั่นเอง นอกจากนั้นยังมีการแสดงระบาเป็นการละเล่นของพวกไต ได้แก่ ระบาหมวก ระบา
นกยูง อีกด้วย
นิยายเรื่อง นางมโนห์รา
สมันสุโขทัย
สันนิษฐานได้จากหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงหลักที่ 1 กล่าวถึง การละเล่นในเทศกาลกฐิน
เกี่ยวกับการดนตรีและนาฏศิลป์ว่า “เมื่อจักเข้าเวียงเรียงกันแต่อรัญญิกพู้นท่วมหัวลาน ตบงคกลอย ด้วย
เสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเอื้อน เสียงขับ ใครจักมันเหล้น เหล้น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื้อน
เลื้อน"
การแสดงประเภท ระบา รา ฟ้อน วิวัฒนาการมาจากการละเล่นของชาวบ้านเพื่อเป็นการพักผ่อน
หย่อนใจหลังจากเสร็จงาน หรือแสดงในงานบุญ งานรื่นเริงประจาปี ดังปรากฏข้อความในหนังสือไตรภูมิพระ
ร่วงของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) กล่าวว่า “ บ้างเต้น บ้างรา บ้างฟ้อน ระบาบรรลือ”
สมัยนี้ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับละครนัก เป็นสมัยที่เริ่มมีความสัมพันธ์กับชาติที่นิยมอารยธรรมของ
อินเดีย เช่น พม่า มอญ ขอม และละว้า เมื่อไทยได้รับวัฒนธรรมด้านการละครของอินเดียเข้า ศิลปะแห่ง
การละเล่นพื้นเมืองของไทย คือ รา และระบา ก็ได้วิวัฒนาการขึ้นมีการกาหนดแบบแผนแห่ง
ศิลปะการแสดงทั้ง 3 ชนิดไว้เป็นที่แน่นอน และบัญญัติคาเรียกศิลปะแห่งการแสดงดังกล่าข้างต้นว่า “โขน
ละคร ฟ้อนรา”
การแสดงโขน
ระบาฉิ่ง
สมัยอยุธยา
ได้พัฒนาการแสดงในรูปแบบของละครรา นับเป็นต้นแบบของละครราแบบอื่นๆต่อมา คือ ละคร
โนราชาตรี ละรนอก และละครใน สาหรับละครในเป็นละครผู้หญิง แสดงเฉพาะในราชสานัก ในรัชสมัย
พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศนิยมแสดงเรื่อง “อิเหนา” ซึ่งเจ้าพินทวดีได้สืบทอดท่าราต่อมา
ละครชาตรี เรื่องรถเสน ละครในเรื่อง อิเหนา
ละครนอก เรื่องไกรทอง
ละครราสมัยนี้มีต้นกาเนิดมาจากการเล่นมโนห์ราและละครชาตรี ละครที่เล่นกันสมัยนี้เล่นกัน 3 ประเภท
คือ ละครชาตีซึ่งเป็นละครแบบเดิม ละครนอกปรับปรุงมาจากละครชาตรีและละครในซึ่งใช้ผู้หญิงแสดง
บทละครนอกที่ใช้แสดงในสมัยอยุธยา คือ การะเกด คาวี ไชยทัต พิกุลทอง ไกรทอง มโนห์รา
โคบุตร พิมพ์สวรรค์ โสวัต พิณสุริยวงศ์ ไชยเชษฐ์ มณีพิชัย โม่งป่า สังข์ทอง ศิลป์สุริวงศ์ สังข์ศิลป์ชัย
สุวรรณศิลป์ สุวรรณหงส์ และพระรถเสน
บทละครใน นอกจากเรื่อง รามเกียรติ์ อุณรุท ดาหลังหรืออิเหนาใหญ่ อิเหนาหรืออิเหนาเล็ก ซึ่ง
ทั้งสองเรื่องนี้เป็นเรื่องของวีรบุรุษคนเดียวกัน
สมัยธนบุรี
มีละครราของหลวงที่มีทั้งผู้หญิงและผู้ชายแสดง และมีละครผู้หญิงของเจ้านครศรีธรรมราช สมัยนี้
เป็นช่วงต่อเนื่องจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 เหล่าศิลปินได้กระจัดกระจายไปในที่ต่างๆ
เพราะผลจากสงคราม บางส่วนก็เสียชีวิต บางส่วนก็ถูกกวาดต้อนไปอยู่พม่า ครั้งพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ปราบ
ได้ภิเษกไปในพ.ศ. 2311 ทรงได้พื้นฟูการละครขึ้นใหม่และรวมศิลปินตลอดทั้งบทละครเก่าๆที่กระจัดกระจาย
ไปให้เข้ามาอยู่รวมกันตลอดจนพระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ขึ้นอีก 5 ตอน คือ
หนุมานเกี้ยวนางวานริน ตอนท้าวมาลีราชว่าความ ตอนทศกัณฑ์ตั้งพิธีทรายกลด (เผารูปเทวดา) ตอนพระ
ลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท ตอนปล่อยม้าอุปการ มีคณะละครหลวง และเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง เช่น ละคร
หลวงวิชิตณรงค์ ละครไทยหมื่นเสนาะภูบาล หมื่นโวหารภิรมย์ นอกจากละครไทยแล้วยังมีละครเขมรของ
หลวงวาทีอีกด้วย
สมัยรัตนโกสินทร์
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1)
ได้มีการรวบรวมตาราการฟ้อนราและเขียนภาพท่าราแม่บทบันทึกไว้เป็นหลักฐาน มีการพัฒนาโขน
เป็นรูปแบบละครใน มีการปรับปรุงระบาสี่บท ซึ่งเป็นระบามาตรฐาน สมัยนี้ได้เกิดนาฏศิลป์ขึ้นหลายชุด
เช่น “ระบาเมขลา – รามสูร” ในพระราชนิพนธ์เรื่อง รามเกียรติ์ “ระบาย่องหงิด” ในพระราชนิพนธ์เรื่อง
อุณรท การแสดงชุด “แม่บทนางนารายณ์” ในบทพระราชนิพนธ์รามเกียรติ์ การแสดง “ชุดราโคม” จาก
การเล่นโคมญวนของพวกญวน บทพระราชนิพนธ์ที่เกิดขึ้นโดยพระราชดาริในฐานะพระประมุขของกวี มี 4
เรื่อง คือ รามเกียรติ์ อุณรุท อิเหนา ดาหลัง
ทรงพัฒนาโขนโดยนาละครในเข้ามาผสมผสานในการดาเนินเรื่อง ได้เพิ่มบทร้อง ปรับปรุงเครื่อง
แต่งตัวและศิราภรณ์ โดยให้ผู้แสดงเปิดหน้าและสวมมงกุฎหรือชฎาเหมือนละครใน ในตอนปลายรัชกาลที่ 1
พระเจ้ากรุงกัมพูชาได้ให้ครูละครไทยไปฝึกหัดละครหลวงในราชสานักกัมพูชา ซึ่งนับวาเป็นเกียรติ์ประวัติของ
ละครไทยที่ประชาชนคนไทยควรภาคภูมิใจ
ละครใน เรื่อง อุณรุท ละครใน เรื่อง อิเหนา
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2)
เป็นสมัยที่วรรณคดีรุ่งเรืองมาก พระองค์ทรงสนพระทัยในการละครเป็นอย่างยิ่ง เมื่อพระราชนิพนธ์
บทละครเรื่องใดก็โปรดเกล้าฯให้เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี ซึ่งเป็นผู้รอบรู้ในกระบวนราไปลองราดูก่อน ถ้า
ตอนใดราแล้วขัดไม่งดงาม ก็ทรงแก้ไขบทใหม่จนกว่าจะกลมกลืนงดงาม พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร
ไว้ทั้งบทละครในและบทละครนอก พระองค์ทรงพัฒนาละครนอกโดยให้ละครผู้หญิงของหลวงฝึกท่าราให้
ประณีตงดงามขึ้น และเปลี่ยนแปลงกากรแต่งกายเป็นแบบยืนเรื่องแบบละครใน พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์
บทละครเรื่อง อิเหนา ซึ่งเป็นบทละครที่ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็น ยอดของบทละครรา คือ
การแสดงครบองค์ห้าของละครดี ได้แก่ ตัวละครงาม รางาม พร้องเพราะ พิณพาทย์เพราะ กลอน
เพราะ นับว่าเป็นยุคทองแห่งวรรณคดี องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
(ยูเนสโก) ถวายพระเกียรติคุณแด่ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยในฐานะบุคคลสาคัญที่มีผลงาน
ดีเด่นทางวัฒนธรรมโลก
นาฏศิลป์ไทยในสมัยนี้ท่ารางดงามประณีตตามแบบราชสานักมีการฝึกหัดทั้งโขน ละครใน ละคร
นอก นอกจากนี้นาฏศิลป์ไทยยังได้รับอิทธิพลจากนาฏศิลป์เอเชีย ได้มีการนาลีลาท่าราท่าเต้นของแขก ฝรั่ง
และจีน มาใช้ในการแสดง ชุดฝรั่งราเท้า และยังเกิดระบาดาวดึงส์ ลงสรงโทน บุษบาชมศาล รจนาเสี่ยง
พวงมาลัย เป็นต้น
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3 )
โปรดให้ยกเลิกละครหลวง ทาให้นาฏศิลป์ไทยเป็นที่นิยมแพร่หลายในหมู่ประชาชน และเกิดการ
แสดงออกเอกชนขึ้นหลายคณะ ศิลปินที่มีความสามารถได้สืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่เป็นแบบแผนกัน
ต่อมา
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 4 )
โปรดเกล้าให้มีละครหลวงขึ้นใหม่ ให้ตั้งภาษีมหรสพขึ้นเป็นครั้งแรก เรียกว่า ภาษีโขนละคร ซึ่งแต่
เดิมละครในจะแสดงได้แก่เฉพาะในวังเท่านั้น โปรดให้มีละครราผู้หญิงในราชสานักตามเดิมและให้เอกชนมี
การแสดงละครผู้หญิงและผู้ชายได้ ด้วยเหตุที่ละครแพร่หลายไปสู่ประชาชนจึงมีการบัญญัติข้อห้ามในการ
แสดงละครที่มิใช่ละครหลวงคือ
1. ห้ามฉุดบุตรชาย-หญิงผู้อื่นมาฝึกหัดละคร
2. ห้ามใช้รัดเกล้ายอดเป็นเครื่องประดับศีรษะ
3. ห้ามใช้เครื่องประดับลงยา
4. ห้ามใช้เครื่องประกอบการแสดงที่เป็นพานทอง หีบทอง
5. ห้ามเป่าแตรสังข์
6. หัวช้างที่เป็นอุปกรณ์ในการแสดงห้ามใช้สีเผือก ยกเว้นช้างเอราวัณ
ในสมัยนี้มีบรมครูทางนาฏศิลป์ได้ชาระพิธีไหว้ครู โขนละคร ทูลเกล้าฯ ถวายตราไว้เป็นฉบับหลวง
และมีการดัดแปลงการราเบิกโรงชุดประเลงมาเป็น “ราดอกไม้เงินทอง”
รากิ่งไม้เงินทอง (ราดอกไม้เงินทอง)
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 5 )
การละครในสมัยนี้พัฒนาขึ้นอย่างมาก มีการรับเอาวัฒนธรรมของตะวันตกเข้ามาผสมผสานกับ
นาฏศิลป์และการละครของไทยเกิดเป็นละครชนิดใหม่ขึ้น เช่น ละครพันทาง ละครดึกดาบรรพ์ ละครร้อง
ละครพูด ลิเก เป็นต้น อีกทั้งพระองค์ยังทรงยกเลิกการเก็บภาษี โขนละคร ละครร้องซึ่งเป็นละครที่ใช้
ศิลปะในการร้องดาเนินเรื่อง เรียกว่า ละครปรีดาลัย เป็นต้นแบบของละครร้องในสมัยต่อมา
ในสมัยนี้มีทั้งอนุรักษ์และพัฒนานาฏศิลป์ไทยเพื่อให้ทันสมัย เช่น มีการพัฒนาละครในมาเป็นละคร
ดึกดาบรรพ์ พัฒนาละครราที่มีอยู่เดิมมาเป็นละครพันทางและละครเสภา และได้กาเนิดนาฏศิลป์ที่เป็นบท
ระบาแทรกอยู่ในละครเรื่องต่างๆ เช่น ระบาเทวดา-นางฟ้า ในเรื่องกรุงพานชมทีป ระบาบุษบาชมศาล ใน
เรื่องอิเหนา ระบาไก่ในเรื่องพระลอ ระบานางกอย ในบทพระราชนิพนธ์เรื่อง เงาะป่า เป็นต้น
ละครเรื่องสังข์ทอง
ละครเรื่องพระลอ
ละครพันทาง เรื่องราชาธิราช
ละครโอเปร่า
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 6 )
เป็นสมัยที่โขน ละคร ปี่พาทย์เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด พระองค์ทรงเป็นราชาแห่งศิลปิน สมัยนี้เกิด
คาเรียกโขนหลวงว่า “โขนบรรดาศักดิ์” และโขนเอกชนว่า “โขนเชลยศักดิ์” นอกจากนี้ยังตั้งโรงเรียนฝึกหัด
ศิลปะในกรมมหรสพ เรียกว่า “โรงเรียนทหารกระบี่หลวง” ต่อมาเปลี่ยนเป็น “โรงเรียนพรานหลวง “ ทรง
ตั้งกองเสือป่าในกรมมหรสพเป็นเสือป่ากองพิเศษ เรียกว่า “ทหารกระบี่” โปรดเกล้าฯให้จัดพิมพ์ตาราฟ้อน
รา ซึ่งนับว่าเป็นตาราฟ้อนราเล่มแรกที่สมบูรณ์ และได้พระราชนิพนธ์ละครนอก ได้แก่ พระร่วง ท้าวแสน
ปม ศกุนตลา
เป็นสมัยที่ศิลปะทางด้านนาฏศิลป์เจริญรุ่งเรืองมาก พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดให้ตั้งกรมมหรสพ
ขึ้น มีการทานุบารุงศิลปะโขน ละคร และดนตรีปี่พาทย์ ทาให้ศิลปินได้รับการฝึกหัดอย่างมีระเบียบแบบ
แผน และโปรดเกล้าฯให้ตั้งโรงเรียนฝึกหัดนาฏฺศิลป์ในกรมมหรสพ นอกจากนี้ยังได้มีการปรับปรุงวิธีการแสดง
โขนเป็นละครดึกดาบรรพ์ เรื่อง รามเกียรติ์ และได้เกิดโขนบรรดาศักดิ์ที่พวกมหาดเล็กแสดงคู่กับโขนเชลย
ศักดิ์ที่เอกชนแสดง
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 7 )
ในตอนต้นรัชกาลที่ 7 เกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจจึงได้มีการยกเลิกกรมมหรสพ ได้รวบรวมกรม
มหาดเล็กและกรมมหรสพเข้าอยู่ในกระทรวงวัง โอนไปสังกัดกรมศิลปากร จึงเป็น “โขนกองศิลปากร” เกิด
ละครแบบใหม่ขึ้น คือละครเพลง หรือที่รู้จักกันในชื่อ “ละครจันทโรภาส” และ “ละครหลวงวิจิตรวาทการ”
ทรงพระกรุณาโปรดให้มีการจัดตั้งกรมศิลปากรขึ้นแทนกรมมหรสพที่ถูกยุบไป ทาให้ศิลปะโขน ละคร ระบา
รา ฟ้อน ยังคงปรากฏอยู่ เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนาสืบต่อไป
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ( รัชกาลที่ 8 )
ทรงขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ทรงพระเยาว์และไปศึกษาต่างประเทศจึงมีผู้สาเร็จราชการแทนอยู่ในการ
กากับของกรมศิลปากร หลวงวิจิตรวาทการ อธิบดีคนแรกของกรมศิลปากร ในสมัยนี้ได้เกิดละครที่เรียกกัน
ว่า “ละครหลวงวิจิตรวาทการ” ได้ก่อตั้งโรงเรียนดุริยางคศาสตร์ขึ้น เพื่อป้องกันมิให้ศิลปะทางด้านนาฏศิลป์
สูญหาย ยังเกิด ราวงมาตรฐาน ซึ่งประชาชนนิยมเล่นเรียกว่า “ราโทน” ในรัฐบาล สมัยจอมพล. ป. พิบูล
สงครามและยังเป็นการยกฐานะของศิลปินเพื่อให้พ้นจากคาว่า “เต้นกิน รากิน”เพราะนักเรียนได้เรียนวิชา
สามัญด้วย
ราวงมาตรฐาน
ในสมัยนี้เกิดละครหลวงวิจิตร ซึ่งเป็นละครปลุกใจให้รักชาติ และเป็นสร้างแรงจูงใจให้คนไทยหันมา
สนใจนาฏศิลป์ไทย โดยปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้ถูกกับรสนิยมของคนไทย และได้มีการตั้งโรงเรียนนาฏศิลป์
แทนโรงเรียนดุริยางคศาสตร์ ซึ่งถูกทาลายตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อเป็นสถานศึกษานาฏศิลป์และดุริ
ยางคศิล์ของทางราชการ และเพื่อเป็นการทานุบารุง เผยแพร่นาฏศิลป์ไทยให้เป็นที่ยกย่องของนานาประเทศ
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ( รัชกาลที่ 9 )
โปรดเกล้าฯให้บันทึกภาพยนตร์สีส่วนพระองค์ บันทึกท่าราหน้าพาทย์องค์พระพิราพ ท่าราเพลง
หน้าพาทย์ของ พระ นาง ยักษ์ ลิง โปรดเกล้าฯให้จัดพิธีไหว้ครู ได้ทรงพระราชนิพนธ์เพลงไว้จานวนมาก
เช่น เพลงพระราชนิพนธ์ใกล้รุ่ง เพลงพระราชนิพนธ์แสงเทียน และทรงพระราชนิพนธ์เพลงที่ใช้ในการ
แสดงบัลเลต์ เรื่องมโนห์รา พระองค์ทรงพระราชทานนามเพลงว่า “กินรีสวีท”
นาฏศิลป์ การละคร ฟ้อนรา ได้อยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาล ได้มีการส่งเสริมให้ผู้เชี่ยวชาญ
นาฏศิลป์ไทยคิดประดิษฐ์ท่ารา ระบาชุดใหม่ ได้แก่ ระบาพม่าไทยอธิษฐาน ต่อมาเกิดระบาชุดพิเศษที่มี
ความหมายในการเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ เช่น ระบาจีน-ไทยไมตรี ระบามิตรไมตรีญี่ปุ่น-ไทย
ปัจจุบันได้มีการนานาฏศิลป์นานาชาติมาประยุกต์ใช้ในการประดิษฐ์ท่ารา รูปแบบของการแสดงมี
การนาเทคนิค แสง สี เสียง เข้ามาเป็นองค์ประกอบในการแสดงชุดต่างๆ ด้านวิชาการมีการพัฒนา
มากมาย สถาบันการศึกษาทั้งของเอกชนและของรัฐ และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสาขานาฏศิลป์ เปิดสอน
นาฏศิลป์ไทยในระดับปริญญาเอกอีกหลายแห่ง
การแสดงบัลเลต์ การแสดงกินรีสีท
การแสดงกินรีสวีท
ละครไทย
ละคร หมายถึง การแสดงที่ผูกเป็นเรื่อง แม้จะใช้ท่าราก็ต้องดาเนินเป็นเรื่อง จึงแยกการละคร
ไทยออกเป็น ละครรา และละครที่ไม่ใช้ท่ารา องค์ประกอบสาคัญของละครไทยประกอบดังนี้
(1) ต้องมีเรื่อง ตัวละครจะเจรจาไปตามเนื้อเรื่องของบทละคร
(2) มีเนื้อหาสรุป หรือแนวคิดของเรื่อง เช่น บ่งบอกความรัก ความเสียสละ หรือมุ่งสอนคติธรรม
(3) บุคลิกลักษณะของตัวละคร กิริยาท่าทางของตัวละคร ต้องสอดรับกับเนื้อหา
(4) บรรยากาศ สร้างบรรยากาศให้กลมกลืนกับการแสดง
พระบทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้มีการบัญญัติคาขึ้นเพื่อใช้แบ่งประเภท
ละครไทย โดยยึดหลักในการแสดงเป็นสาคัญ แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆได้ ละครรา ละครร้อง ละครพูด
ละครรำ หมายถึง ละครที่ใช้ศิลปะการร่ายราดาเนินเรื่อง มี 2 ประเภท คือละครราแบบดั้งเดิม
และละครที่ปรับปรุงขึ้นมาใหม่
ละครราแบบดั้งเดิม ได้แก่ ละครชาตรี ละครนอก ละครใน
ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ ได้แก่ ละครดึกดาบรรพ์ ละครพันทาง ละครเสภา
ละครรำแบบดั้งเดิม
ละครชาตรี
เป็นละครราแบบแรกของละครไทย กาเนิดขึ้นในสมัยอยุธยาโดยได้รับอิทธิพลจากอินเดีย มีผู้แสดง
เป็นหลัก 3 ตัว คือ ตัวนายโรง ตัวนาง และตัวตลก นิยมแสดงเรื่องพระสุธนและนางมโนห์รา (มโนราห์)
จึงเรียกละครประเภทนี้ว่า “โนราห์ชาตรี” ทางภาคใต้เรียกว่า “โนรา”ส่วนภาคกลางเรียกว่า “ชาตรี”
ละครชาตรีมีลักษณะ 2 รูปแบบ คือ แบบที่ได้รับการปรับปรุง (แบบละครปนลิเก กรมศิลปากร) คือ
เรื่อง มโนราห์ และ รถเสน และแบบพื้นบ้าน เรื่องที่นามาแสดงละครชาตรีแบบพื้นบ้าน เป็นเรื่องจักรๆวงศ์ๆ
เช่น ไชยเชษฐ์ โม่งป่า โกมินทร์ พิกุลทอง จาปาสี่ต้น แก้วหน้าม้า การแสดงทุกรั้งต้องราซัดไหว้ครู
โดยตัวพระหรือตัวพระ-นางคู่หนึ่งจะขึ้นนั่งเตียงราซัดไหว้ครู ผู้แสดงร้องเอง ใช้ท่าราซัดชาตรีจากนั้นดาเนิน
เรื่อง ตัวละครที่สาคัญมีเพียง 3 คือ นางมโนราห์ พระสุธน และม้าเป็นตัวตลก สาหรับตัวตลกในละคร
ชาตรีจะแสดงเป็นตัวเบ็ดเตล็ดอื่นๆด้วย เช่น ยักษ์ ฤาษี ยาย ตา สัตว์ เป็นต้น
ละครนอก
มาจากการเล่นพื้นเมืองของชาบ้านที่ร้องแก้กัน จับเป็นเรื่องขึ้นเหมือนละครชาตรี การแสดงละคร
นอกมุ่งดาเนินเนื้อเรื่องให้รวดเร็วไม่เคร่งครัดต่อขนบธรรมเนียมประเพณี ตัวพระยามหากษัตริย์และมเหสี
เล่นตลกกับข้าราชบริพารได้ ใช้ถ้อยคาตลาด อิริยาบถของคนธรรมดาสามัญ เป็นละครที่ชาวบ้านเรียกกันว่า
“ละครตลาด”
ละครใน
มีที่มาจากคาว่า “ละครนางใน” ผู้แสดงเป็นผู้หญิงล้วนที่ได้รับการฝึกหัดเพื่อแสดงในราชสานัก เป็น
ละครราที่มุ่งให้เห็นความประณีตงดงามของศิลปะการรามากกว่าเนื้อเรื่อง เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา แผ่นดินพระ
เจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าฟ้าพินทวดีพระราชธิดา เป็นผู้สืบทอดแบบแผนการแสดงไว้ พระบาทสมเด็จพระพุทธ
เลิศหล้านภาลัย ทรงเป็นผู้สร้างสรรค์การแสดงละครใน มีการแสดงเพียง 3 เรื่อง คือ รามเกียรติ์ อิเหนา
อุณรุท ละครในนับว่าเป็นต้นแบบของศิลปะการร่ายราของไทย แสดงถึงความเคร่งครัดในเรื่อง
ขนบธรรมเนียมประเพณีท่ารา
ละครชาตรีเครื่องใหญ่ (มโนห์รา) ละครใน เรื่อง อิเหนา
ละครนอก เรื่อง ไกรทอง
การแสดงโขน
โขน คือ การแสดงท่าราเต้าเข้ากับจังหวะ ประกอบด้วย ตัวละครที่เป็น ยักษ์ ลิง มนุษย์ และ
เทวดา ผู้แสดงสวมหัวโขนไม่ร้องและเจรจา แต่ปัจจุบันผู้แสดงเป็นมนุษย์และเทวดาไม่สวมหัวโขน
โขน พัฒนามาจากการละเล่นชักนาคดึกดาบรรพ์ การแสดงหนังใหญ่ และการแสดงกระบี่กระบอง
การแสดงโขนเป็นการแสดงที่คล้ายละคร แต่สวมศีรษะที่เรียกว่า “หัวโขน” โขนแต่เดิมมีเฉพาะโขนหลวง
ประจาราชสานัก พระมหากษัตริย์ทรงถือว่าโขนเป็นราชูปโภคส่วนพระองค์ สมัยรัชกาลที่ 6 ทรงปรับปรุง
และทานุบารุงศิลปะทางโขน ทรงสนับสนุนศิลปินโขน พระราชทานบรรดาศักดิ์ให้จนมีคาเรียนโขนหลวงว่า
“โขนบรรดาศักดิ์” คู่กับโขนเอกชน เรียกว่า “โขนเชลยศักดิ์” และโปรดเกล้าฯตั้งโรงเรียนฝึกหัดทางโขนใน
กรมมหรสพครั้งแรก เรียกว่า “โรงเรียนทหารกระบี่หลวง” ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนพรานหลวง”
รูปแบบการแสดงโขนแบ่งออกเป็น 5 ชนิด
1)โขนกลางแปลง คือ การแสดงโขนบนพื้นสนาม ไม่มีเวทีใช้ธรรมชาติเป็นฉาก เนื้อเรื่องที่นิยม
นามาแสดง คือ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอนยกทัพจับศึก การแสดงโขนกลางแปลงมีรูปแบบในการแสดง
เหมือนกับโขนโรงในเพียงแต่ผิดกันที่สถานที่ในการจัดการแสดงเท่านั้น เพราะโขนโรงในแสดงบนเวที ส่วนโขน
กลางแปลงแสดงที่สนามหญ้า
2)โขนนั่งราวหรือโขนโรงนอก คือ การยกโขนกลางแปลงมาไว้บนเวที มีหลังคาตรงหน้าฉาก มี
ช่องสาหรับให้ตัวละครออก ไม่มีเตียงสาหรับตัวโขนนั่ง แต่มีราวพาดไว้ตามส่วนยาวของโรงตรงหน้าฉาก(ม่าน)
มีช่อให้ตัวละครเดินได้รอบราวแทนเตียง เมื่อตัวละครแสดงบทบาทเสร็จจะกลับมานั่งบนราว
3)โขนโรงใน คือ การแสดงโขนปนกับละครใน มีบทพากย์เจรจาอย่างโขน โขนโรงในสืบทอดมา
ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย ฉากตกแต่งเหมือนละครใน มีเตียงเป็นที่นั่งของตัวละคร
4)โขนหน้าจอ คือ การแสดงโขนที่เปลี่ยนลักษณะโรงแสดงโขนไปเป็นโรงแสดงหนังใหญ่ เป็นการ
แสดงบนเวทีหน้าจอผ้าขาว ซึ่งแต่เดิมเป็นจอสาหรับการแสดงหนังใหญ่ เพียงแต่เจาะช่องทั้งสองข้างทาเป็น
ประตูสาหรับตัวโขนเข้า-ออก ทางด้านขวามือของเวที จากขอบประตูเขียนภาพเป็นพลับพลาพระราม
ทางด้านซ้ายมือของเวทีเขียนภาพปราสาท สมมติเป็นกรุงลงกา
5)โขนฉาก คือ การวิวัฒนาการมาจากโขนฉาก คล้ายกับละครดึกดาบรรพ์ เป็นการแสดงโขนที่
สร้างฉากประกอบเรื่องเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ผู้ดาริทาโขนฉากคือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า
กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ วิธีแสดงเป็นแบบเดียวกับโขนโรงใน มีบทร้อง มีกระบวนการรา ท่าเต้น ดนตรี
บรรเลงหน้าพาทย์ตามแบบละครใน
โขนกลางแปลง โขนโรงใน
โขนนั่งราวหรือโขนโรงนอก โขนหน้าจอ
โขนฉาก
ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่
ละครดึกดำบรรพ์
เป็นละครที่ปรับปรุงขึ้นจากแบบแผนละครใน และผสมผสานกับอิทธิพลทางตะวันตก เกิดขึ้นในสมัย
รัชกาลที่ 5 โดยเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ทูลขอให้เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงปรับปรุงให้ละคร
ราแบบละครโอเปร่าของตะวันตก ละครดึกดาบรรพ์แสดงครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2442 ที่โรง
ละครดึกดาบรรพ์ จึงเรียกละครแบบนี้ว่า ละครดาดาบรรพ์ ตามชื่อโรงละคร เรื่องที่แสดงคือ เรื่อง
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทุก มีการปรับปรุงการแสดงเป็นฉากแบบตะวันตกที่สมจริง
ละครดึกดาบรรพ์ เรื่อง คาวี
ละครพันทาง
ได้มีการปรับปรุงแนวทางละครราในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงเป็นผู้ให้
กาเนิน โดยปรับปรุงจากละครของเจ้าพระยามหินทร์ศักดิ์ธารง (เพ็ญ เพ็ญกุล)ได้นาพงศาวดารของชาติต่างๆ
มาผูกเป็นเรื่อง และจัดแสดงมีความแปลกใหม่ทั้งกระบวนท่ารา การแต่งกาย การขับร้อง และดนตรี มี
ลักษณะตามสัญชาตินั้นๆ เรื่องที่นามาแสดงเช่น สามก๊ก ราชาธิราช พระลอ เป็นต้น
การแต่งกาย แต่งกายตามเชื้อชาติ แสดงครั้งแรกที่โรงละคร ชื่อ ปรินซ์เรียเตอร์ มีฉากประกอบ
ตามท้องเรื่อง การแสดลคล้ายละครนอก มีการร่ายราแบบละครในผสมผสานกัน
ละครพันทางเรื่อง สามก๊ก ละครพันทาง เรื่อง ราชาธิราช
ละครเสภา
ละครเสภามีต้นกาเนิดจากการเล่านิทาน เมื่อมีผู้นิยมเล่ามากขึ้นจึงมีการปรับปรุงให้เกิดการแข่งขัน
บางคนจึงใส่ทานอง มีเครื่องประกอบจังหวะ หรือแต่งนิทานเป็นกลอนส่งประกวด เครื่องดนตรีประกอบ
จังหวะที่นิยม คือ กรับ จึงกลายเป็นการขับเสภาขึ้น เสภามีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยอยู่ในพระราชานุกูล
ของพระเจ้าแผ่นดินดังจะเห็นได้จากข้อความกล่าวว่า “หกทุ่มเบิกเสภา ดนตรี” ซึ่งคามหมายว่า มีการนิยม
ขัดเสภาในเขตพระราชฐานนั่นเอง แสดงบนเวที มีการเปลี่ยนฉากตามท้องเรื่อง แต่งกายตามลักษณะเชื้อชาติ
แสดงเรื่องมอญก็แต่งแบบมอญ แสดงเรื่องจีนก็แต่งแบบจีน แต่เรื่องที่นิยมคือเรื่อง ขุนช้าง –ขุนแผน
กระบนการแสดงมีคนขับเสภาและเครื่องปี่พาทย์มีตัวละครออกแสดงบทตามคาขับเสภา ตามเนื้อร้อง
เรียกว่า “เสภารา” เสภารามีทั้งแบบสุภาพและแบบตลก ผู้ริเริมคือ “ขุนรามเดชะ” เรื่องขุนช้าง-ขุนแผน
ตอนเข้าห้องนางแก้กิริยา เสภาตลก เรื่องรถเสน ตอนฤาษีแปลงสาร
ละครเสภา ขุนช้างขุนแผน
ละครที่ไม่ใช้ท่ารำ
ละครร้อง
เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ผู้ทรงริเริ่มขึ้น เรียกว่า “ละครหลวง
นฤมิตร” มีฉากประกอบตามท้องเรื่อง และจัดแสดงที่โรงละครปรีดาลัย ภายหลังจึงเรียกว่า ละครปรีดาลัย
เป็นละครที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก แบ่งออกเป็นละครร้องล้วนๆ และละครร้องสลับพูด ได้เลียนแบบมา
จากอุปรากรที่เรียกว่า “โอเปอร์เรติกลิเบรตโต” แต่งกายแบบละครพันทาง นิยมแสดงเรื่อง สาวเครือฟ้า
ละครร้อง เรื่อง สาวเครือฟ้า
ละครพูด
ในช่วงแรกนิยมให้ผู้ชายแสดงจนกระทั่งในสมัย รัชกาลที่ 6 โปรดให้มีการแสดงละครพูดจากบทพระ
ราชนิพนธ์เรื่อง กลแตก จึงเปลี่ยนจากผู้ชายล้วนเป็นชายจริงหญิงแท้ เป็นละครสมัยใหม่ที่ได้รับอิทธิพลมา
จากการแสดงละครตะวันตก การแสดงดาเนินเรื่องด้วยการพูด เรียกว่า “ละครพูดล้วนๆ” เรื่องที่นามาจาก
ละครรา เช่น เรื่องสังข์ศิลป์ชัย และถ้ามีร้องเพลงสลับ เรียกว่า “ละครพูดสลับลา” ละครพูดที่มีคา
ประพันธ์มีเพียงเรื่องเดียว คือ เรื่องมัทนะพาธา
บรรณานุกรม
ดุษฎี มีป้อม . นิลวรรณ ถมังรักษ์สัตว์ คู่มือการสอน เพื่อครูผู้สอน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.5
:วัฒนาพาณิชย์
ธิดารัตน์ ภักดีรักษ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ 4-6 : สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด
สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์ , สุมนรตี นิ่มเนติพันธ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.4
: อักษรเจริญทัศน์
สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์ , สุมนรตี นิ่มเนติพันธ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.5
: อักษรเจริญทัศน์
สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์ , สุมนรตี นิ่มเนติพันธ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.6
: อักษรเจริญทัศน์
อรวรรณ ขมวัฒนา , วีร์สุดา บุนนาค หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.4-6
: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จากัด

More Related Content

What's hot

วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6teerachon
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นครูเย็นจิตร บุญศรี
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 

What's hot (20)

วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ

โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมOrapan Chamnan
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัยkutoyseta
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ (6)

โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ปุ
ปุปุ
ปุ
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัย
 

More from Panomporn Chinchana

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯPanomporn Chinchana
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...Panomporn Chinchana
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 

More from Panomporn Chinchana (9)

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ

  • 2. คานา เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง วิวัฒนาการละครและนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ได้ จัดทาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และ สามารถใช้ควบคู่ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได้ในขณะเดียวกัน โดยได้รวบรวมและสรุปเนื้อหา สาระจากหนังสือหลายๆเล่มมาจัดทาเป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์ ช่วยให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจได้อย่าง รวดเร็ว และสามารถนาไปศึกษาเพิ่มเติมทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนได้ในโอกาสต่อไป พนมพร ชินชนะ
  • 3. วิวัฒนาการของละครและนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะประจาชาติอันเป็นศิลปะมรดกด้านวัฒนธรรม แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ ของไทยมีประวัติความเป็นมายาวนานและมีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยน่านเจ้าจนถึงปัจจุบัน สมัยน่านเจ้า จากหลักฐานการค้นคว้าพบว่า ในสมัยน่านเจ้ามีละครเรื่องมโนห์รา ซึ่งในปัจจุบันก็ยังมีอยู่และยังมี นิยายของพวกไตซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยอยู่ทางใต้ของประเทศจีน เรื่องนามาโนห์ราซึ่งเพี้ยนไปเป็น นางมโนห์รา ก็รู้จักกันดีนั่นเอง นอกจากนั้นยังมีการแสดงระบาเป็นการละเล่นของพวกไต ได้แก่ ระบาหมวก ระบา นกยูง อีกด้วย นิยายเรื่อง นางมโนห์รา สมันสุโขทัย สันนิษฐานได้จากหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงหลักที่ 1 กล่าวถึง การละเล่นในเทศกาลกฐิน เกี่ยวกับการดนตรีและนาฏศิลป์ว่า “เมื่อจักเข้าเวียงเรียงกันแต่อรัญญิกพู้นท่วมหัวลาน ตบงคกลอย ด้วย เสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเอื้อน เสียงขับ ใครจักมันเหล้น เหล้น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื้อน เลื้อน" การแสดงประเภท ระบา รา ฟ้อน วิวัฒนาการมาจากการละเล่นของชาวบ้านเพื่อเป็นการพักผ่อน หย่อนใจหลังจากเสร็จงาน หรือแสดงในงานบุญ งานรื่นเริงประจาปี ดังปรากฏข้อความในหนังสือไตรภูมิพระ ร่วงของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) กล่าวว่า “ บ้างเต้น บ้างรา บ้างฟ้อน ระบาบรรลือ”
  • 4. สมัยนี้ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับละครนัก เป็นสมัยที่เริ่มมีความสัมพันธ์กับชาติที่นิยมอารยธรรมของ อินเดีย เช่น พม่า มอญ ขอม และละว้า เมื่อไทยได้รับวัฒนธรรมด้านการละครของอินเดียเข้า ศิลปะแห่ง การละเล่นพื้นเมืองของไทย คือ รา และระบา ก็ได้วิวัฒนาการขึ้นมีการกาหนดแบบแผนแห่ง ศิลปะการแสดงทั้ง 3 ชนิดไว้เป็นที่แน่นอน และบัญญัติคาเรียกศิลปะแห่งการแสดงดังกล่าข้างต้นว่า “โขน ละคร ฟ้อนรา” การแสดงโขน ระบาฉิ่ง สมัยอยุธยา ได้พัฒนาการแสดงในรูปแบบของละครรา นับเป็นต้นแบบของละครราแบบอื่นๆต่อมา คือ ละคร โนราชาตรี ละรนอก และละครใน สาหรับละครในเป็นละครผู้หญิง แสดงเฉพาะในราชสานัก ในรัชสมัย พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศนิยมแสดงเรื่อง “อิเหนา” ซึ่งเจ้าพินทวดีได้สืบทอดท่าราต่อมา
  • 5. ละครชาตรี เรื่องรถเสน ละครในเรื่อง อิเหนา ละครนอก เรื่องไกรทอง ละครราสมัยนี้มีต้นกาเนิดมาจากการเล่นมโนห์ราและละครชาตรี ละครที่เล่นกันสมัยนี้เล่นกัน 3 ประเภท คือ ละครชาตีซึ่งเป็นละครแบบเดิม ละครนอกปรับปรุงมาจากละครชาตรีและละครในซึ่งใช้ผู้หญิงแสดง บทละครนอกที่ใช้แสดงในสมัยอยุธยา คือ การะเกด คาวี ไชยทัต พิกุลทอง ไกรทอง มโนห์รา โคบุตร พิมพ์สวรรค์ โสวัต พิณสุริยวงศ์ ไชยเชษฐ์ มณีพิชัย โม่งป่า สังข์ทอง ศิลป์สุริวงศ์ สังข์ศิลป์ชัย สุวรรณศิลป์ สุวรรณหงส์ และพระรถเสน บทละครใน นอกจากเรื่อง รามเกียรติ์ อุณรุท ดาหลังหรืออิเหนาใหญ่ อิเหนาหรืออิเหนาเล็ก ซึ่ง ทั้งสองเรื่องนี้เป็นเรื่องของวีรบุรุษคนเดียวกัน
  • 6. สมัยธนบุรี มีละครราของหลวงที่มีทั้งผู้หญิงและผู้ชายแสดง และมีละครผู้หญิงของเจ้านครศรีธรรมราช สมัยนี้ เป็นช่วงต่อเนื่องจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 เหล่าศิลปินได้กระจัดกระจายไปในที่ต่างๆ เพราะผลจากสงคราม บางส่วนก็เสียชีวิต บางส่วนก็ถูกกวาดต้อนไปอยู่พม่า ครั้งพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ปราบ ได้ภิเษกไปในพ.ศ. 2311 ทรงได้พื้นฟูการละครขึ้นใหม่และรวมศิลปินตลอดทั้งบทละครเก่าๆที่กระจัดกระจาย ไปให้เข้ามาอยู่รวมกันตลอดจนพระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ขึ้นอีก 5 ตอน คือ หนุมานเกี้ยวนางวานริน ตอนท้าวมาลีราชว่าความ ตอนทศกัณฑ์ตั้งพิธีทรายกลด (เผารูปเทวดา) ตอนพระ ลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท ตอนปล่อยม้าอุปการ มีคณะละครหลวง และเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง เช่น ละคร หลวงวิชิตณรงค์ ละครไทยหมื่นเสนาะภูบาล หมื่นโวหารภิรมย์ นอกจากละครไทยแล้วยังมีละครเขมรของ หลวงวาทีอีกด้วย สมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ได้มีการรวบรวมตาราการฟ้อนราและเขียนภาพท่าราแม่บทบันทึกไว้เป็นหลักฐาน มีการพัฒนาโขน เป็นรูปแบบละครใน มีการปรับปรุงระบาสี่บท ซึ่งเป็นระบามาตรฐาน สมัยนี้ได้เกิดนาฏศิลป์ขึ้นหลายชุด เช่น “ระบาเมขลา – รามสูร” ในพระราชนิพนธ์เรื่อง รามเกียรติ์ “ระบาย่องหงิด” ในพระราชนิพนธ์เรื่อง อุณรท การแสดงชุด “แม่บทนางนารายณ์” ในบทพระราชนิพนธ์รามเกียรติ์ การแสดง “ชุดราโคม” จาก การเล่นโคมญวนของพวกญวน บทพระราชนิพนธ์ที่เกิดขึ้นโดยพระราชดาริในฐานะพระประมุขของกวี มี 4 เรื่อง คือ รามเกียรติ์ อุณรุท อิเหนา ดาหลัง ทรงพัฒนาโขนโดยนาละครในเข้ามาผสมผสานในการดาเนินเรื่อง ได้เพิ่มบทร้อง ปรับปรุงเครื่อง แต่งตัวและศิราภรณ์ โดยให้ผู้แสดงเปิดหน้าและสวมมงกุฎหรือชฎาเหมือนละครใน ในตอนปลายรัชกาลที่ 1 พระเจ้ากรุงกัมพูชาได้ให้ครูละครไทยไปฝึกหัดละครหลวงในราชสานักกัมพูชา ซึ่งนับวาเป็นเกียรติ์ประวัติของ ละครไทยที่ประชาชนคนไทยควรภาคภูมิใจ
  • 7. ละครใน เรื่อง อุณรุท ละครใน เรื่อง อิเหนา รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) เป็นสมัยที่วรรณคดีรุ่งเรืองมาก พระองค์ทรงสนพระทัยในการละครเป็นอย่างยิ่ง เมื่อพระราชนิพนธ์ บทละครเรื่องใดก็โปรดเกล้าฯให้เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี ซึ่งเป็นผู้รอบรู้ในกระบวนราไปลองราดูก่อน ถ้า ตอนใดราแล้วขัดไม่งดงาม ก็ทรงแก้ไขบทใหม่จนกว่าจะกลมกลืนงดงาม พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร ไว้ทั้งบทละครในและบทละครนอก พระองค์ทรงพัฒนาละครนอกโดยให้ละครผู้หญิงของหลวงฝึกท่าราให้ ประณีตงดงามขึ้น และเปลี่ยนแปลงกากรแต่งกายเป็นแบบยืนเรื่องแบบละครใน พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ บทละครเรื่อง อิเหนา ซึ่งเป็นบทละครที่ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็น ยอดของบทละครรา คือ การแสดงครบองค์ห้าของละครดี ได้แก่ ตัวละครงาม รางาม พร้องเพราะ พิณพาทย์เพราะ กลอน เพราะ นับว่าเป็นยุคทองแห่งวรรณคดี องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ถวายพระเกียรติคุณแด่ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยในฐานะบุคคลสาคัญที่มีผลงาน ดีเด่นทางวัฒนธรรมโลก นาฏศิลป์ไทยในสมัยนี้ท่ารางดงามประณีตตามแบบราชสานักมีการฝึกหัดทั้งโขน ละครใน ละคร นอก นอกจากนี้นาฏศิลป์ไทยยังได้รับอิทธิพลจากนาฏศิลป์เอเชีย ได้มีการนาลีลาท่าราท่าเต้นของแขก ฝรั่ง และจีน มาใช้ในการแสดง ชุดฝรั่งราเท้า และยังเกิดระบาดาวดึงส์ ลงสรงโทน บุษบาชมศาล รจนาเสี่ยง พวงมาลัย เป็นต้น รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3 ) โปรดให้ยกเลิกละครหลวง ทาให้นาฏศิลป์ไทยเป็นที่นิยมแพร่หลายในหมู่ประชาชน และเกิดการ แสดงออกเอกชนขึ้นหลายคณะ ศิลปินที่มีความสามารถได้สืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่เป็นแบบแผนกัน ต่อมา รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 4 ) โปรดเกล้าให้มีละครหลวงขึ้นใหม่ ให้ตั้งภาษีมหรสพขึ้นเป็นครั้งแรก เรียกว่า ภาษีโขนละคร ซึ่งแต่ เดิมละครในจะแสดงได้แก่เฉพาะในวังเท่านั้น โปรดให้มีละครราผู้หญิงในราชสานักตามเดิมและให้เอกชนมี การแสดงละครผู้หญิงและผู้ชายได้ ด้วยเหตุที่ละครแพร่หลายไปสู่ประชาชนจึงมีการบัญญัติข้อห้ามในการ แสดงละครที่มิใช่ละครหลวงคือ
  • 8. 1. ห้ามฉุดบุตรชาย-หญิงผู้อื่นมาฝึกหัดละคร 2. ห้ามใช้รัดเกล้ายอดเป็นเครื่องประดับศีรษะ 3. ห้ามใช้เครื่องประดับลงยา 4. ห้ามใช้เครื่องประกอบการแสดงที่เป็นพานทอง หีบทอง 5. ห้ามเป่าแตรสังข์ 6. หัวช้างที่เป็นอุปกรณ์ในการแสดงห้ามใช้สีเผือก ยกเว้นช้างเอราวัณ ในสมัยนี้มีบรมครูทางนาฏศิลป์ได้ชาระพิธีไหว้ครู โขนละคร ทูลเกล้าฯ ถวายตราไว้เป็นฉบับหลวง และมีการดัดแปลงการราเบิกโรงชุดประเลงมาเป็น “ราดอกไม้เงินทอง” รากิ่งไม้เงินทอง (ราดอกไม้เงินทอง) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 5 ) การละครในสมัยนี้พัฒนาขึ้นอย่างมาก มีการรับเอาวัฒนธรรมของตะวันตกเข้ามาผสมผสานกับ นาฏศิลป์และการละครของไทยเกิดเป็นละครชนิดใหม่ขึ้น เช่น ละครพันทาง ละครดึกดาบรรพ์ ละครร้อง ละครพูด ลิเก เป็นต้น อีกทั้งพระองค์ยังทรงยกเลิกการเก็บภาษี โขนละคร ละครร้องซึ่งเป็นละครที่ใช้ ศิลปะในการร้องดาเนินเรื่อง เรียกว่า ละครปรีดาลัย เป็นต้นแบบของละครร้องในสมัยต่อมา ในสมัยนี้มีทั้งอนุรักษ์และพัฒนานาฏศิลป์ไทยเพื่อให้ทันสมัย เช่น มีการพัฒนาละครในมาเป็นละคร ดึกดาบรรพ์ พัฒนาละครราที่มีอยู่เดิมมาเป็นละครพันทางและละครเสภา และได้กาเนิดนาฏศิลป์ที่เป็นบท ระบาแทรกอยู่ในละครเรื่องต่างๆ เช่น ระบาเทวดา-นางฟ้า ในเรื่องกรุงพานชมทีป ระบาบุษบาชมศาล ใน เรื่องอิเหนา ระบาไก่ในเรื่องพระลอ ระบานางกอย ในบทพระราชนิพนธ์เรื่อง เงาะป่า เป็นต้น
  • 10. ละครโอเปร่า รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 6 ) เป็นสมัยที่โขน ละคร ปี่พาทย์เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด พระองค์ทรงเป็นราชาแห่งศิลปิน สมัยนี้เกิด คาเรียกโขนหลวงว่า “โขนบรรดาศักดิ์” และโขนเอกชนว่า “โขนเชลยศักดิ์” นอกจากนี้ยังตั้งโรงเรียนฝึกหัด ศิลปะในกรมมหรสพ เรียกว่า “โรงเรียนทหารกระบี่หลวง” ต่อมาเปลี่ยนเป็น “โรงเรียนพรานหลวง “ ทรง ตั้งกองเสือป่าในกรมมหรสพเป็นเสือป่ากองพิเศษ เรียกว่า “ทหารกระบี่” โปรดเกล้าฯให้จัดพิมพ์ตาราฟ้อน รา ซึ่งนับว่าเป็นตาราฟ้อนราเล่มแรกที่สมบูรณ์ และได้พระราชนิพนธ์ละครนอก ได้แก่ พระร่วง ท้าวแสน ปม ศกุนตลา เป็นสมัยที่ศิลปะทางด้านนาฏศิลป์เจริญรุ่งเรืองมาก พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดให้ตั้งกรมมหรสพ ขึ้น มีการทานุบารุงศิลปะโขน ละคร และดนตรีปี่พาทย์ ทาให้ศิลปินได้รับการฝึกหัดอย่างมีระเบียบแบบ แผน และโปรดเกล้าฯให้ตั้งโรงเรียนฝึกหัดนาฏฺศิลป์ในกรมมหรสพ นอกจากนี้ยังได้มีการปรับปรุงวิธีการแสดง โขนเป็นละครดึกดาบรรพ์ เรื่อง รามเกียรติ์ และได้เกิดโขนบรรดาศักดิ์ที่พวกมหาดเล็กแสดงคู่กับโขนเชลย ศักดิ์ที่เอกชนแสดง รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 7 ) ในตอนต้นรัชกาลที่ 7 เกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจจึงได้มีการยกเลิกกรมมหรสพ ได้รวบรวมกรม มหาดเล็กและกรมมหรสพเข้าอยู่ในกระทรวงวัง โอนไปสังกัดกรมศิลปากร จึงเป็น “โขนกองศิลปากร” เกิด ละครแบบใหม่ขึ้น คือละครเพลง หรือที่รู้จักกันในชื่อ “ละครจันทโรภาส” และ “ละครหลวงวิจิตรวาทการ” ทรงพระกรุณาโปรดให้มีการจัดตั้งกรมศิลปากรขึ้นแทนกรมมหรสพที่ถูกยุบไป ทาให้ศิลปะโขน ละคร ระบา รา ฟ้อน ยังคงปรากฏอยู่ เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนาสืบต่อไป
  • 11. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ( รัชกาลที่ 8 ) ทรงขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ทรงพระเยาว์และไปศึกษาต่างประเทศจึงมีผู้สาเร็จราชการแทนอยู่ในการ กากับของกรมศิลปากร หลวงวิจิตรวาทการ อธิบดีคนแรกของกรมศิลปากร ในสมัยนี้ได้เกิดละครที่เรียกกัน ว่า “ละครหลวงวิจิตรวาทการ” ได้ก่อตั้งโรงเรียนดุริยางคศาสตร์ขึ้น เพื่อป้องกันมิให้ศิลปะทางด้านนาฏศิลป์ สูญหาย ยังเกิด ราวงมาตรฐาน ซึ่งประชาชนนิยมเล่นเรียกว่า “ราโทน” ในรัฐบาล สมัยจอมพล. ป. พิบูล สงครามและยังเป็นการยกฐานะของศิลปินเพื่อให้พ้นจากคาว่า “เต้นกิน รากิน”เพราะนักเรียนได้เรียนวิชา สามัญด้วย ราวงมาตรฐาน
  • 12. ในสมัยนี้เกิดละครหลวงวิจิตร ซึ่งเป็นละครปลุกใจให้รักชาติ และเป็นสร้างแรงจูงใจให้คนไทยหันมา สนใจนาฏศิลป์ไทย โดยปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้ถูกกับรสนิยมของคนไทย และได้มีการตั้งโรงเรียนนาฏศิลป์ แทนโรงเรียนดุริยางคศาสตร์ ซึ่งถูกทาลายตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อเป็นสถานศึกษานาฏศิลป์และดุริ ยางคศิล์ของทางราชการ และเพื่อเป็นการทานุบารุง เผยแพร่นาฏศิลป์ไทยให้เป็นที่ยกย่องของนานาประเทศ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ( รัชกาลที่ 9 ) โปรดเกล้าฯให้บันทึกภาพยนตร์สีส่วนพระองค์ บันทึกท่าราหน้าพาทย์องค์พระพิราพ ท่าราเพลง หน้าพาทย์ของ พระ นาง ยักษ์ ลิง โปรดเกล้าฯให้จัดพิธีไหว้ครู ได้ทรงพระราชนิพนธ์เพลงไว้จานวนมาก เช่น เพลงพระราชนิพนธ์ใกล้รุ่ง เพลงพระราชนิพนธ์แสงเทียน และทรงพระราชนิพนธ์เพลงที่ใช้ในการ แสดงบัลเลต์ เรื่องมโนห์รา พระองค์ทรงพระราชทานนามเพลงว่า “กินรีสวีท” นาฏศิลป์ การละคร ฟ้อนรา ได้อยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาล ได้มีการส่งเสริมให้ผู้เชี่ยวชาญ นาฏศิลป์ไทยคิดประดิษฐ์ท่ารา ระบาชุดใหม่ ได้แก่ ระบาพม่าไทยอธิษฐาน ต่อมาเกิดระบาชุดพิเศษที่มี ความหมายในการเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ เช่น ระบาจีน-ไทยไมตรี ระบามิตรไมตรีญี่ปุ่น-ไทย ปัจจุบันได้มีการนานาฏศิลป์นานาชาติมาประยุกต์ใช้ในการประดิษฐ์ท่ารา รูปแบบของการแสดงมี การนาเทคนิค แสง สี เสียง เข้ามาเป็นองค์ประกอบในการแสดงชุดต่างๆ ด้านวิชาการมีการพัฒนา มากมาย สถาบันการศึกษาทั้งของเอกชนและของรัฐ และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสาขานาฏศิลป์ เปิดสอน นาฏศิลป์ไทยในระดับปริญญาเอกอีกหลายแห่ง การแสดงบัลเลต์ การแสดงกินรีสีท
  • 13. การแสดงกินรีสวีท ละครไทย ละคร หมายถึง การแสดงที่ผูกเป็นเรื่อง แม้จะใช้ท่าราก็ต้องดาเนินเป็นเรื่อง จึงแยกการละคร ไทยออกเป็น ละครรา และละครที่ไม่ใช้ท่ารา องค์ประกอบสาคัญของละครไทยประกอบดังนี้ (1) ต้องมีเรื่อง ตัวละครจะเจรจาไปตามเนื้อเรื่องของบทละคร (2) มีเนื้อหาสรุป หรือแนวคิดของเรื่อง เช่น บ่งบอกความรัก ความเสียสละ หรือมุ่งสอนคติธรรม (3) บุคลิกลักษณะของตัวละคร กิริยาท่าทางของตัวละคร ต้องสอดรับกับเนื้อหา (4) บรรยากาศ สร้างบรรยากาศให้กลมกลืนกับการแสดง พระบทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้มีการบัญญัติคาขึ้นเพื่อใช้แบ่งประเภท ละครไทย โดยยึดหลักในการแสดงเป็นสาคัญ แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆได้ ละครรา ละครร้อง ละครพูด ละครรำ หมายถึง ละครที่ใช้ศิลปะการร่ายราดาเนินเรื่อง มี 2 ประเภท คือละครราแบบดั้งเดิม และละครที่ปรับปรุงขึ้นมาใหม่ ละครราแบบดั้งเดิม ได้แก่ ละครชาตรี ละครนอก ละครใน ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ ได้แก่ ละครดึกดาบรรพ์ ละครพันทาง ละครเสภา ละครรำแบบดั้งเดิม ละครชาตรี เป็นละครราแบบแรกของละครไทย กาเนิดขึ้นในสมัยอยุธยาโดยได้รับอิทธิพลจากอินเดีย มีผู้แสดง เป็นหลัก 3 ตัว คือ ตัวนายโรง ตัวนาง และตัวตลก นิยมแสดงเรื่องพระสุธนและนางมโนห์รา (มโนราห์) จึงเรียกละครประเภทนี้ว่า “โนราห์ชาตรี” ทางภาคใต้เรียกว่า “โนรา”ส่วนภาคกลางเรียกว่า “ชาตรี”
  • 14. ละครชาตรีมีลักษณะ 2 รูปแบบ คือ แบบที่ได้รับการปรับปรุง (แบบละครปนลิเก กรมศิลปากร) คือ เรื่อง มโนราห์ และ รถเสน และแบบพื้นบ้าน เรื่องที่นามาแสดงละครชาตรีแบบพื้นบ้าน เป็นเรื่องจักรๆวงศ์ๆ เช่น ไชยเชษฐ์ โม่งป่า โกมินทร์ พิกุลทอง จาปาสี่ต้น แก้วหน้าม้า การแสดงทุกรั้งต้องราซัดไหว้ครู โดยตัวพระหรือตัวพระ-นางคู่หนึ่งจะขึ้นนั่งเตียงราซัดไหว้ครู ผู้แสดงร้องเอง ใช้ท่าราซัดชาตรีจากนั้นดาเนิน เรื่อง ตัวละครที่สาคัญมีเพียง 3 คือ นางมโนราห์ พระสุธน และม้าเป็นตัวตลก สาหรับตัวตลกในละคร ชาตรีจะแสดงเป็นตัวเบ็ดเตล็ดอื่นๆด้วย เช่น ยักษ์ ฤาษี ยาย ตา สัตว์ เป็นต้น ละครนอก มาจากการเล่นพื้นเมืองของชาบ้านที่ร้องแก้กัน จับเป็นเรื่องขึ้นเหมือนละครชาตรี การแสดงละคร นอกมุ่งดาเนินเนื้อเรื่องให้รวดเร็วไม่เคร่งครัดต่อขนบธรรมเนียมประเพณี ตัวพระยามหากษัตริย์และมเหสี เล่นตลกกับข้าราชบริพารได้ ใช้ถ้อยคาตลาด อิริยาบถของคนธรรมดาสามัญ เป็นละครที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “ละครตลาด” ละครใน มีที่มาจากคาว่า “ละครนางใน” ผู้แสดงเป็นผู้หญิงล้วนที่ได้รับการฝึกหัดเพื่อแสดงในราชสานัก เป็น ละครราที่มุ่งให้เห็นความประณีตงดงามของศิลปะการรามากกว่าเนื้อเรื่อง เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา แผ่นดินพระ เจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าฟ้าพินทวดีพระราชธิดา เป็นผู้สืบทอดแบบแผนการแสดงไว้ พระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย ทรงเป็นผู้สร้างสรรค์การแสดงละครใน มีการแสดงเพียง 3 เรื่อง คือ รามเกียรติ์ อิเหนา อุณรุท ละครในนับว่าเป็นต้นแบบของศิลปะการร่ายราของไทย แสดงถึงความเคร่งครัดในเรื่อง ขนบธรรมเนียมประเพณีท่ารา ละครชาตรีเครื่องใหญ่ (มโนห์รา) ละครใน เรื่อง อิเหนา
  • 15. ละครนอก เรื่อง ไกรทอง การแสดงโขน โขน คือ การแสดงท่าราเต้าเข้ากับจังหวะ ประกอบด้วย ตัวละครที่เป็น ยักษ์ ลิง มนุษย์ และ เทวดา ผู้แสดงสวมหัวโขนไม่ร้องและเจรจา แต่ปัจจุบันผู้แสดงเป็นมนุษย์และเทวดาไม่สวมหัวโขน โขน พัฒนามาจากการละเล่นชักนาคดึกดาบรรพ์ การแสดงหนังใหญ่ และการแสดงกระบี่กระบอง การแสดงโขนเป็นการแสดงที่คล้ายละคร แต่สวมศีรษะที่เรียกว่า “หัวโขน” โขนแต่เดิมมีเฉพาะโขนหลวง ประจาราชสานัก พระมหากษัตริย์ทรงถือว่าโขนเป็นราชูปโภคส่วนพระองค์ สมัยรัชกาลที่ 6 ทรงปรับปรุง และทานุบารุงศิลปะทางโขน ทรงสนับสนุนศิลปินโขน พระราชทานบรรดาศักดิ์ให้จนมีคาเรียนโขนหลวงว่า “โขนบรรดาศักดิ์” คู่กับโขนเอกชน เรียกว่า “โขนเชลยศักดิ์” และโปรดเกล้าฯตั้งโรงเรียนฝึกหัดทางโขนใน กรมมหรสพครั้งแรก เรียกว่า “โรงเรียนทหารกระบี่หลวง” ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนพรานหลวง” รูปแบบการแสดงโขนแบ่งออกเป็น 5 ชนิด 1)โขนกลางแปลง คือ การแสดงโขนบนพื้นสนาม ไม่มีเวทีใช้ธรรมชาติเป็นฉาก เนื้อเรื่องที่นิยม นามาแสดง คือ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอนยกทัพจับศึก การแสดงโขนกลางแปลงมีรูปแบบในการแสดง เหมือนกับโขนโรงในเพียงแต่ผิดกันที่สถานที่ในการจัดการแสดงเท่านั้น เพราะโขนโรงในแสดงบนเวที ส่วนโขน กลางแปลงแสดงที่สนามหญ้า 2)โขนนั่งราวหรือโขนโรงนอก คือ การยกโขนกลางแปลงมาไว้บนเวที มีหลังคาตรงหน้าฉาก มี ช่องสาหรับให้ตัวละครออก ไม่มีเตียงสาหรับตัวโขนนั่ง แต่มีราวพาดไว้ตามส่วนยาวของโรงตรงหน้าฉาก(ม่าน) มีช่อให้ตัวละครเดินได้รอบราวแทนเตียง เมื่อตัวละครแสดงบทบาทเสร็จจะกลับมานั่งบนราว 3)โขนโรงใน คือ การแสดงโขนปนกับละครใน มีบทพากย์เจรจาอย่างโขน โขนโรงในสืบทอดมา ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย ฉากตกแต่งเหมือนละครใน มีเตียงเป็นที่นั่งของตัวละคร
  • 16. 4)โขนหน้าจอ คือ การแสดงโขนที่เปลี่ยนลักษณะโรงแสดงโขนไปเป็นโรงแสดงหนังใหญ่ เป็นการ แสดงบนเวทีหน้าจอผ้าขาว ซึ่งแต่เดิมเป็นจอสาหรับการแสดงหนังใหญ่ เพียงแต่เจาะช่องทั้งสองข้างทาเป็น ประตูสาหรับตัวโขนเข้า-ออก ทางด้านขวามือของเวที จากขอบประตูเขียนภาพเป็นพลับพลาพระราม ทางด้านซ้ายมือของเวทีเขียนภาพปราสาท สมมติเป็นกรุงลงกา 5)โขนฉาก คือ การวิวัฒนาการมาจากโขนฉาก คล้ายกับละครดึกดาบรรพ์ เป็นการแสดงโขนที่ สร้างฉากประกอบเรื่องเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ผู้ดาริทาโขนฉากคือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ วิธีแสดงเป็นแบบเดียวกับโขนโรงใน มีบทร้อง มีกระบวนการรา ท่าเต้น ดนตรี บรรเลงหน้าพาทย์ตามแบบละครใน โขนกลางแปลง โขนโรงใน โขนนั่งราวหรือโขนโรงนอก โขนหน้าจอ
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22. ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ ละครดึกดำบรรพ์ เป็นละครที่ปรับปรุงขึ้นจากแบบแผนละครใน และผสมผสานกับอิทธิพลทางตะวันตก เกิดขึ้นในสมัย รัชกาลที่ 5 โดยเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ทูลขอให้เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงปรับปรุงให้ละคร ราแบบละครโอเปร่าของตะวันตก ละครดึกดาบรรพ์แสดงครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2442 ที่โรง ละครดึกดาบรรพ์ จึงเรียกละครแบบนี้ว่า ละครดาดาบรรพ์ ตามชื่อโรงละคร เรื่องที่แสดงคือ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทุก มีการปรับปรุงการแสดงเป็นฉากแบบตะวันตกที่สมจริง ละครดึกดาบรรพ์ เรื่อง คาวี ละครพันทาง ได้มีการปรับปรุงแนวทางละครราในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงเป็นผู้ให้ กาเนิน โดยปรับปรุงจากละครของเจ้าพระยามหินทร์ศักดิ์ธารง (เพ็ญ เพ็ญกุล)ได้นาพงศาวดารของชาติต่างๆ มาผูกเป็นเรื่อง และจัดแสดงมีความแปลกใหม่ทั้งกระบวนท่ารา การแต่งกาย การขับร้อง และดนตรี มี ลักษณะตามสัญชาตินั้นๆ เรื่องที่นามาแสดงเช่น สามก๊ก ราชาธิราช พระลอ เป็นต้น การแต่งกาย แต่งกายตามเชื้อชาติ แสดงครั้งแรกที่โรงละคร ชื่อ ปรินซ์เรียเตอร์ มีฉากประกอบ ตามท้องเรื่อง การแสดลคล้ายละครนอก มีการร่ายราแบบละครในผสมผสานกัน
  • 23. ละครพันทางเรื่อง สามก๊ก ละครพันทาง เรื่อง ราชาธิราช ละครเสภา ละครเสภามีต้นกาเนิดจากการเล่านิทาน เมื่อมีผู้นิยมเล่ามากขึ้นจึงมีการปรับปรุงให้เกิดการแข่งขัน บางคนจึงใส่ทานอง มีเครื่องประกอบจังหวะ หรือแต่งนิทานเป็นกลอนส่งประกวด เครื่องดนตรีประกอบ จังหวะที่นิยม คือ กรับ จึงกลายเป็นการขับเสภาขึ้น เสภามีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยอยู่ในพระราชานุกูล ของพระเจ้าแผ่นดินดังจะเห็นได้จากข้อความกล่าวว่า “หกทุ่มเบิกเสภา ดนตรี” ซึ่งคามหมายว่า มีการนิยม ขัดเสภาในเขตพระราชฐานนั่นเอง แสดงบนเวที มีการเปลี่ยนฉากตามท้องเรื่อง แต่งกายตามลักษณะเชื้อชาติ แสดงเรื่องมอญก็แต่งแบบมอญ แสดงเรื่องจีนก็แต่งแบบจีน แต่เรื่องที่นิยมคือเรื่อง ขุนช้าง –ขุนแผน กระบนการแสดงมีคนขับเสภาและเครื่องปี่พาทย์มีตัวละครออกแสดงบทตามคาขับเสภา ตามเนื้อร้อง เรียกว่า “เสภารา” เสภารามีทั้งแบบสุภาพและแบบตลก ผู้ริเริมคือ “ขุนรามเดชะ” เรื่องขุนช้าง-ขุนแผน ตอนเข้าห้องนางแก้กิริยา เสภาตลก เรื่องรถเสน ตอนฤาษีแปลงสาร ละครเสภา ขุนช้างขุนแผน
  • 24. ละครที่ไม่ใช้ท่ารำ ละครร้อง เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ผู้ทรงริเริ่มขึ้น เรียกว่า “ละครหลวง นฤมิตร” มีฉากประกอบตามท้องเรื่อง และจัดแสดงที่โรงละครปรีดาลัย ภายหลังจึงเรียกว่า ละครปรีดาลัย เป็นละครที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก แบ่งออกเป็นละครร้องล้วนๆ และละครร้องสลับพูด ได้เลียนแบบมา จากอุปรากรที่เรียกว่า “โอเปอร์เรติกลิเบรตโต” แต่งกายแบบละครพันทาง นิยมแสดงเรื่อง สาวเครือฟ้า ละครร้อง เรื่อง สาวเครือฟ้า ละครพูด ในช่วงแรกนิยมให้ผู้ชายแสดงจนกระทั่งในสมัย รัชกาลที่ 6 โปรดให้มีการแสดงละครพูดจากบทพระ ราชนิพนธ์เรื่อง กลแตก จึงเปลี่ยนจากผู้ชายล้วนเป็นชายจริงหญิงแท้ เป็นละครสมัยใหม่ที่ได้รับอิทธิพลมา จากการแสดงละครตะวันตก การแสดงดาเนินเรื่องด้วยการพูด เรียกว่า “ละครพูดล้วนๆ” เรื่องที่นามาจาก ละครรา เช่น เรื่องสังข์ศิลป์ชัย และถ้ามีร้องเพลงสลับ เรียกว่า “ละครพูดสลับลา” ละครพูดที่มีคา ประพันธ์มีเพียงเรื่องเดียว คือ เรื่องมัทนะพาธา
  • 25. บรรณานุกรม ดุษฎี มีป้อม . นิลวรรณ ถมังรักษ์สัตว์ คู่มือการสอน เพื่อครูผู้สอน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.5 :วัฒนาพาณิชย์ ธิดารัตน์ ภักดีรักษ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ 4-6 : สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์ , สุมนรตี นิ่มเนติพันธ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.4 : อักษรเจริญทัศน์ สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์ , สุมนรตี นิ่มเนติพันธ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.5 : อักษรเจริญทัศน์ สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์ , สุมนรตี นิ่มเนติพันธ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.6 : อักษรเจริญทัศน์ อรวรรณ ขมวัฒนา , วีร์สุดา บุนนาค หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.4-6 : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จากัด