SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
1
2
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ )
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ 32101
ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
นางเย็นจิตร บุญศรี
ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ
โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา
สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว
กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น
กระทรวงมหาดไทย
3
ข้าพเจ้า นายไพสิน นกศิริ ผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดสระแก้ว ขอรับรองว่าชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระนาฏศิลป์ )
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ 32101 ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ นี้ เป็น นวัตกรรมที่
นางเย็นจิตร บุญศรี ตาแหน่งครูวิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา ได้จัดทาและใช้ประกอบการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนจริง
นายไพสิน นกศิริ
ตาแหน่งผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา
คารับรองของผู้บริหาร
4
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ ) ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 5 รหัสวิชา ศ 32101 ได้จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจใน เรื่อง การสร้างสรรค์
ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ จัดการแสดงในวันสาคัญในโรงเรียนและชุมชน ชุดการแสดงประจา
โรงเรียน ได้จัดทาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหา ผู้จัดทาได้รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับ การสร้างสรรค์ผลงานการ
แสดงนาฏศิลป์ จัดการแสดงในโรงเรียนและชุมชนซึ่งเอกสาร มีทั้งหมด 4 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย
ชุดที่ 2 การอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทยภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดที่ 3 การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์
ชุดที่ 4 การประดิษฐ์ท่าราสร้างสรรค์ ชุดเซิ้ง หนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
สาหรับชุดนี้เป็นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ ) ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ 32101
ชุดที่ 3 การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์
1. จัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน
2. ชุดการแสดงประจาโรงเรียน
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน
และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาควรอ่านเพิ่มเติมทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนได้ต่อไปในโอกาส
ต่อไป และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
คานา
เย็นจิตร บุญศรี
5
เรื่อง หน้า
คู่มือครู 6
คู่มือนักเรียน 10
บัตรเนื้อหาที่ 3 .1 เรื่อง จัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน 13
บัตรเนื้อหาที่ 3. 2 เรื่อง ชุดการแสดงประจาโรงเรียน 16
แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ตอนที่ 1 22
แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ตอนที่ 2 23
แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ตอนที่ 3 26
เฉลย แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ 28
แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ ) ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ 30
บรรณานุกรม 31
ประวัติผู้จัดทา 32
สารบัญ
6
คาชี้แจงสาหรับครู
1. ส่วนประกอบในชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง
นาฏศิลป์ ชุดที่ 3 ประกอบด้วย
1.1 คู่มือครู
1.2 คู่มือนักเรียน
1.3 บัตรเนื้อหา
1.4 แบบฝึกหัด
1.5 แบบทดสอบท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ( ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ)
2. ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง ในการเรียน
ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ ดังนี้
2.1 การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน
2.2 ชุดการแสดงประจาโรงเรียน
คู่มือครู
7
คาชี้แจง ให้ครูผู้สอน ดาเนินกิจกรรมดังนี้
1. ศึกษาชุดการสอน ประกอบการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สาระสาคัญ
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียน การจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผล ประกอบชุดการสอนประกอบการเรียนให้เข้าใจ
2. ศึกษา ตรวจสอบและเตรียมเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ สื่อการเรียนรู้ เครื่องมือ และ
ประเมินผล ประกอบชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ให้เข้าใจ
3. ก่อนสอน ครูควรชี้แจงบทบาทและหน้าที่ของผู้เรียน และกาหนดข้อตกลง ร่วมกัน
4. ขั้นตอนการสอนแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
ขั้นที่ 2 สอน (กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ / กระบวนการสอนแบบ
อภิปราย / กระบวนการสอนแบบสืบสวนสอบถาม / กระบวนการสอนแบบบรรยาย /
กระบวนการสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง / กระบวนการสอนแบบโซเครติส)
ขั้นที่ 3 ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทักษะบูรณาการภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคม
ขั้นที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการเมื่อนักเรียนปฏิบัติได้แล้ว
ขั้นที่ 5 ขั้นให้นักเรียนเชื่อมโยงทักษะย่อยๆเป็นทักษะที่สมบรูณ์
ขั้นที่ 6 ขั้นสรุปและประเมินผล
5. ควรดูการทางานขณะปฏิบัติกิจกรรมในชุดการสอนนี้อย่างใกล้ชิด ถ้าเกิดปัญหา
ครูควรเป็นที่ปรึกษา หรือให้คาแนะนา ในการแก้ไขในการเรียนได้ทันที โดยเน้นให้นักเรียน
ได้ร่วม ร่วมปฏิบัติ และสรุป และ ประเมินผล
6. สรุปคะแนนลงในแบบสรุปคะแนนในแบบบันทึกการเรียนรู้ของแต่ละชุด
7. หลังจากที่นักเรียนดาเนินชุดการสอนประกอบการเรียนรู้นี้เรียบร้อยแล้วทาการ
ทดสอบภาคปฏิบัติ
8. ทาแบบประเมินผลการเรียนเพื่อดูแลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการก้าวหน้า
ทางการเรียนของนักเรียน
บทบาทของครูผู้สอน
8
สิ่งที่ครูต้องเตรียม
1.ครูตรวจชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ให้มีครบทุกกิจกรรม เช่น
1.1 บัตรเนื้อหา
1.2 บัตรคาสั่ง บัตรกิจกรรม พร้อมอุปกรณ์สื่อ ซีดี ประจา ชุดการสอน
แผนการจัดการเรียนรู้
1.3 แบบทดสอบประจาชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ พร้อมเฉลย
1.4 แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม
2. ห้องเรียนกว้างและโล่งสาหรับการปฏิบัติการทางานกลุ่ม
3. สื่อที่ใช้ประกอบชุดการสอนกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ เช่น
3.1 แผ่นภาพการแสดงในวันสาคัญ
3.2 ที่ตั้งวางภาพ
3.3 อุปกรณ์บทบาทสมมติ
9
การประเมินผลการเรียน
1. ประเมินจากการสังเกต
2. ประเมินจากการอภิปรายกลุ่ม
3. ประเมินจากการสัมภาษณ์
4. ประเมินจากการลงมือปฏิบัติของนักเรียน
5. ประเมินจากการทาแบบทดสอบ ท้ายชุดการสอน
ประกอบการเรียนรู้
6. ประเมินจากทักษะในการปฏิบัติ ( วัดทักษะ ภาคปฏิบัติ)
7. ประเมินผลงานจากความสาเร็จจากการปฏิบัติ
10
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
1ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
2.จุดประสงค์การเรียนรู้ของชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับการจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียน และชุดการแสดงประจา
โรงเรียน (K)
2. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียน และชุดการ
แสดงประจาโรงเรียน (P)
3. เห็นคุณค่าและความสาคัญในการจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุดการ
แสดงประจาโรงเรียน (A)
3. นักเรียนรับชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
3.1 คู่มือนักเรียน
3.2 บัตรเนื้อหา ได้แก่
3.2.1 การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน
3.2.2 ชุดการแสดงประจาโรงเรียน
3.2.3 แบบฝึกหัด ตอนที่ 1 ตอนที่ 2
คู่มือนักเรียน
ร่วมกันเรียนรู้ไปกับชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง
การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ ฝึกการเข้าใจ ด้วยค่ะ
เชิญฝึกไปพร้อมๆกันกับพวกเรานะค่ะ
11
คาชี้แจง ให้นักเรียนดาเนินการในชุดการสอนที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง
นาฏศิลป์ ดังนี้
1. ศึกษาสาระสาคัญ จุดประสงค์ กิจการเรียนรู้ และประเมินผล
สาระสาคัญ
การสร้างสรรค์ผลงานในโรงเรียนจะทาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการแสดงออกมีส่วน
ร่วมในการทากิจกรรมและเป็นการอนุรักษ์การแสดงนาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยให้คงอยู่สืบไป
ด้วย
กิจการเรียนรู้ของนักเรียนแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
ขั้นที่ 2 เรียนรู้ (กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการเรียนแบบสืบสวน
สอบถาม / กระบวนการสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง )
ขั้นที่ 3 ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทักษะบูรณาการภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคม พลศึกษา
ขั้นที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการเมื่อนักเรียนปฏิบัติได้แล้ว
ขั้นที่ 5 ขั้นให้นักเรียนเชื่อมโยงทักษะย่อยๆเป็นทักษะที่สมบรูณ์
ขั้นที่ 6 ขั้นสรุปและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับการจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียน และชุดการแสดงประจาโรงเรียน (K)
2. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ และชุดการแสดงประจาโรงเรียน (P)
3. เห็นคุณค่าและความสาคัญในการจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุดการแสดงประจา
โรงเรียน (A)
บทบาทของนักเรียน
ประเมินผล
1. ประเมินจากการลงมือปฏิบัติของนักเรียน
2. ประเมินจากการทาแบบทดสอบ ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
3. ประเมินจากทักษะในการปฏิบัติ ( วัดทักษะ ภาคปฏิบัติ)ประเมินผลงานจากความสาเร็จ
12
การสร้างสรรค์ผลงานทางนาฏศิลป์
การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ ไทย เป็นการสืบสานและสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของ
ชาติให้คงอยู่ และเป็นที่รู้จักสืบไป ซึ่งในการสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ นั้นจะต้องมีความเหมาะสม
ถูกต้องตามหลักจารีต ไม่ปรับปรุงแก้ไขมากเกินไป 1
1. การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน
การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนนั้นในแต่ละโรงเรียนมีการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
ซึ่งการสร้างสรรค์ท่ารา นามาใช้ในเทศกาลหรือวันสาคัญต่างๆของโรงเรียนและชุมชน เช่น วันอนุรักษ์
วัฒนธรรมไทย ร่วมอาลัยสุนทรภู่ วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ วันสงกรานต์ วันลอยกระทง เป็นต้น การ
สร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ นั้นมีหลักสาคัญๆ ควรคานึงถึง
1.1) ควรเลือกชุดการแสดงให้เหมาะสมกับโอกาสที่แสดง เช่น งานเฉลิมฉลองวันเกิดของ
บุคคลสาคัญ งานวันสถาปนาโรงเรียน ควรเลือกชุดการแสดงที่มีความหมายในการอานวยอวยพรความเป็นสิริ
มงคลแก่ผู้ที่มาร่วมงาน เช่น ราอวยพร ฟ้อนอวยพร ระบากฤดาภินิหาร ระบาเทพบันเทิง เป็นต้น หรือเป็นการ
แต่งบทร้องทานองเพลงขึ้นใหม่ให้มีความหมายตรงตามวัตถุประสงค์ของการแสดง
1.2) จัดชุดการแสดงตรงตามที่ผู้จัดงานต้องการโดยคานึงถึงรูปแบบของงาน ขนาดพื้นที่ใน
การแสดง ผู้แสดง เวลาที่ใช้ในการแสดง งบประมาณ เป็นต้น เพื่อที่สามารถจัดการแสดงได้เหมาะสมกับงาน
นั้นๆ ลีลา ท่าราที่ใช้ต้องมีความหมายตรงตามบทร้องและทานองเพลง หรือเรียงร้อยกระบวนท่าราที่วิจิตร
งดงาม นาเสนอขั้นตอนของการแสดงชัดเจน มีการแปรแถว และตั้งซุ้มที่สวยงาม ผู้แสดงมีความสามารถในการ
ร่ายราเครื่องแต่งกายเหมาะสมกับรูปแบบของการแสดง ราอวยพร
1
ราศิยศ วงศ์ศิลปกุล และคณะ นาฏศิลป์ ม.5 สถานบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ ( พว.) หน้า 51
บัตรเนื้อหาที่ 3 .1 เรื่อง จัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน
การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน
ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
13
การแสดงนาฏศิลป์ สามารถนาลีลาท่าทางต่างๆ ที่เป็นท่าราที่สื่อความหมายตามหลักนาฏศิลป์ ท่าทางใน
ชีวิตประจาวันมาสร้างสรรค์ออกมาเป็นชุดการแสดงที่สวยงามต่างๆ หรือท่าราที่เลียนแบบท่าทางของสัตว์ ต่างๆ
แล้วนามาประดิษฐ์เป็นชุดการแสดง
การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียน นักเรียนควรมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ผลงานการแสดง
ในโรงเรียน ซึ่งวันสาคัญของโรงเรียนที่นิยมจัดงาน เช่น วันพ่อแห่งชาติและวันแม่แห่งชาติ จัดการแสดงราถวาย
พระพรราเทิดไท้องค์ราชัน วันสุนทรภู่ จัดการแสดงละครที่เป็นบทประพันธ์ของท่านสุนทรภู่ หรือเพลงที่
เกี่ยวข้องกับเรื่องเช่นเพลงคามั่นสัญญา การสร้างสรรค์การแสดงในงานวันสาคัญของโรงเรียนจะต้องคานึงถึง
เทคนิคที่ใช้ในการจัดการแสดง ระยะเวลาในการจัดการแสดง ซึ่งมีข้อควรพิจารณา ดังนี้
1.การแสดงที่สร้างสรรค์ขึ้นต้องอยู่บนพื้นฐานของการอนุรักษ์และพัฒนาโดยไม่ผิดจารีตและ
วัฒนธรรมในการแสดง
2.องค์ประกอบด้านเครื่องแต่งกาย ดนตรี เทคนิคการแสดง ระยะเวลาในการแสดงที่มีการ ปรับปรุง
เพิ่มเติม มีเพื่อให้การแสดงน่าสนใจ และต้องมีความเหมาะสมไม่ผิดรูปแบบหรือเอกลักษณ์ของ เรื่องราวการ
แสดง
ท่าราที่เลียนแบบท่าทางของสัตว์
ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
องค์ประกอบด้านเครื่องแต่งกาย
ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
14
3.ควรมีการฝึกซ้อมการแสดงทั้งซ้อมใหญ่ ซ้อมย่อย เพื่อให้การแสดงเกิดความสวยงามราบรื่น ไม่มี
อุปสรรคเมื่อแสดงจริง การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
3.1) กาหนดชุดการแสดงให้เหมาะสมกับวันสาคัญของโรงเรียน ควรเลือกชุดการ
แสดงที่มีเนื้อหาสาระที่ เกี่ยวข้องกับวันสาคัญนั้นๆ เช่น วันสงกรานต์ใช้ในการแสดงชุดระบาสงกรานต์ รา
เถิดเทิง วันลอยกระทง ใช้การแสดงชุดประทีปสุโขทัย ราวง ระบาประทีปทอง เป็นต้น
3.2) เวลาที่ใช้การแสดงไม่ควรใช้เวลานานเกินไป เพราะจะทาให้ผู้ชมเกิดความเบื่อ
หน่าย
3.3) การนาเสนอการแสดงควรให้มีส่วนในการสืบสานวัฒนธรรมไทย
3.4) ต้องคานึงถึงองค์ประกอบต่างๆของการแสดง เช่น
- ความสามารถของผู้แสดง
- การแต่งกายมีความเหมาะสมสวยงามกับชุดการแสดง การใช้ท่าราในการสื่อ
ความหมายตามบทร้องได้เหมาะสมสวยงาม
- อุปกรณ์ประกอบการแสดง ฉาก แสง สี เสียง มีความเหมาะสมกับการแสดง
- ผู้แสดงมีการฝึกฝนอยู่เสมอเพื่อให้เกิดความพร้อมเพรียงและสวยงาม ฉาก
แสง สี ประกอบการแสดง
มีการฝึกซ้อมการแสดงทั้งซ้อมใหญ่ ซ้อมย่อย
ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
อุปกรณ์ประกอบการแสดง ฉาก
ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
15
การสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียน
การแสดงประจาโรงเรียนแต่ละโรงเรียนจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับการนาไปใช้แสดง ซึ่ง บาง
โรงเรียนจะมีชุดการแสดงประจาโรงเรียน แต่บางโรงเรียนอาจไม่มีชุดการแสดงประจาโรงเรียน ส่วน
ใหญ่จะเป็นการแสดงท่าทางประกอบเพลงประจาโรงเรียน แต่ในด้านการแสดงนาฏศิลป์ และละครนั้น
ก็ต้องขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของโรงเรียนในการจัดชุดการแสดงประจาโรงเรียนขึ้น เพื่อสื่อ ความหมาย
และสร้างเอกลักษณ์ให้กับโรงเรียน แนวคิดในการสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียนมีดังนี้
1. สัญลักษณ์ประจาโรงเรียน เช่น รูปปั้น อนุสาวรีย์ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจาโรงเรียน เป็น
ต้น นามาเรียง ร้อยเป็นบทร้อง ใส่ทานอง และประดิษฐ์ท่ารา สร้างสรรค์การแต่งกายให้มีความ
สอดคล้องหรือสื่อ ให้เข้าใจกับสัญลักษณ์ของโรงเรียน
บัตรเนื้อหาที่ 3. 2 เรื่อง ชุดการแสดงประจาโรงเรียน
นามาเรียง ร้อยเป็นบทร้อง ใส่ทานอง และประดิษฐ์ท่ารา
ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
16
2) วิถีชีวิต อาชีพของคนในชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่ การนาเอาวิถีชีวิตการประกอบ
อาชีพการทามาหากินของคนในท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็นชุดการแสดงจะทาให้ชุดการแสดงของโรงเรียน
มีคุณค่าต่อ นักเรียนและโรงเรียน
3) แรงบันดาลใจ การสร้างสรรค์ชุดการแสดงอาจนามาจากแรงบันดาลใจในเรื่องต่างๆ
ที่ต้องการส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรม แล้วนามาประดิษฐ์สร้างสรรค์เป็นชุดการแสดงประจาโรงเรียน
ได้เช่น ระบาเบญจศีล ระบาไตรรัตน์ ระบาศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น
4) นาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่มาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง เช่น ดอกไม้
ผลไม้กระถาง ต้นไม้เคี่ยว มัดข้าว เป็นต้น มาแต่งเป็นบทร้อง มีการใส่ทานองดนตรีและประดิษฐ์ท่ารา
เป็นชุดการแสดงประจา โรงเรียน เช่น ระบาปทุมมาลย์ ระบาดอกกล้วยไม้ ระบาผ้าขาวม้า ระบาแห่
ดอกไม้ เป็นต้น องค์ประกอบของการแสดง ในการแสดงนาฏศิลป์ ในแต่ละชนิด จะมีส่วนประกอบ
หลายอย่างเป็นการเสริมให้การแสดงดูเด่น ตระการตายิ่งขึ้น สิ่งที่เป็นองค์ประกอบในการแสดงมี 4
ส่วนหลัก คือ
แรงบันดาลใจ
ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
วิถีชีวิต อาชีพของคนในชุมชน
ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
17
4.1. เครื่องแต่งกาย จุดเด่นของเครื่องแต่งกายมี 4 ส่วน คือ
4.1.1 จุดเด่นเฉพาะชิ้น เป็นส่วนเฉพาะที่ระบุถึงลักษณะและฐานะของตัว
ละคร
4.1.2 ภาพรวมของเครื่องแต่งกาย จะเห็นว่าเครื่องแต่งกายแต่ละชุดมีความ
แตกต่างกัน สามารถ ระบุได้ว่าเป็นชุดใด ชาติใด
4.1.3 สีของเครื่องแต่งกาย จะเน้นมากในตัวละครที่เป็นตัวเอก มักจะใช้สีที่
ตรงข้ามกัน เช่น ถ้า พระเอกใส่สีเขียว นางเอกจะใส่สีแดง หรือถ้าพระเอกใส่สีแดง นางเอกก็จะใส่สี
เขียว ตัว พ่อ แม่ มักใช้สีน้าเงิน ฟ้า บานเย็น ตามลักษณะของชุดการแสดง
4.1.4 วัสดุ จะเป็นส่วนเสริมให้ตัวละครเด่นขึ้น เช่น การใช้ผ้าที่มีน้าหนักหรือ
ผ้าที่บาง
4.2. อุปกรณ์ เป็นส่วนที่จาเป็นในการแสดง ตัวละครบางตัวหรือชุดการแสดงบางชุดขาด
อุปกรณ์การ แสดงไม่ได้เช่น พระรามถือศร หนุมานถือตรี ระบาดอกบัวถือดอกบัว ฟ้อนเทียนถือเทียน
ตารีกีปัสถือพัด
4.3. ดนตรี เป็นส่วนสร้างอารมณ์ให้กับผู้ชม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของเสียงดนตรีวิธีการ
บรรเลงและ สาเนียงดนตรี
4.4. การแสดง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ราเดี่ยว (ระบามโนราห์บูชายันต์ พลายชุมพล
ฉุยฉายพราหมณ์ ) ราคู่ (ราฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง พระรามตามกวาง ราหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา )
ราหมู่ (ราสีนวล (ออกหนู) ราตาลีกีปัส )
นาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่มาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง
ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
18
ราคู่ (ราฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง พระรามตามกวาง ราหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา )
ราฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง พระรามตามกวาง หนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา
ราเดี่ยว ระบามโนราห์บูชายันต์
ที่มาของภาพ : www.monnut.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2557
ราเดี่ยว ราพลายชุมพล
ที่มาของภาพ : www.finearts.go.th
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ วันที่ 12 กรกฎาคม 2557
ราเดี่ยว ราฉุยฉายพราหมณ์
ที่มาของภาพ : www.thaidances.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ วันที่ 12 กรกฎาคม 2557
19
รา (ราหมู่) ราสีนวล
ที่มาของภาพ : หนังสือวิพิธทัศนา,
สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๒๒๖)
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 12 กรกฎาคม 2557
รา หมู่ ราตาลีกีปัส
ที่มาของภาพ : www.files.wordpress.com
นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้น วันที่ 12 กรกฎาคม 2557
20
แบบทดสอบท้าย
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
21
ชื่อ นาย / นางสาว.......................................นามสกุล.......................................ชั้น..........เลขที่................
ตอนที่ 1 คาชี้แจง ตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง โดยเขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และ
เขียนเครื่องหมาย x หน้าข้อความที่ผิด ( 10 คะแนน )
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวันและนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง
(ศ 3.1 ม.5/8)
................1. ในเทศกาลหรือวันสาคัญต่างๆของโรงเรียนและชุมชน เช่น วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ เท่านั้น
................2. การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ นั้นมีหลักสาคัญๆ ควรคานึงถึงคือควรเลือกชุดการแสดง
ให้เหมาะสมกับโอกาสที่แสดง และจัดชุดการแสดงตรงตามที่ผู้จัดงานต้องการโดยคานึงถึง
รูปแบบของงาน
..................3. ระยะเวลาในการจัดการแสดง คือ การแสดงที่สร้างสรรค์ขึ้นต้องอยู่บนพื้นฐานของการอนุรักษ์
และพัฒนาโดยไม่ผิดจารีตและ วัฒนธรรมในการแสดง เท่านั้นไม่ได้นึกถึงองค์ประกอบด้านเครื่อง
แต่งกาย ดนตรี เทคนิคการแสดง อื่นๆ เลย
...................4. อุปกรณ์ ฉาก แสง สี เสียง มีความเหมาะสมกับการแสดง ข้อความนี้กล่าวถูกต้อง
...................5. ควรมีการฝึกซ้อมการแสดงทั้ง ซ้อมย่อย ซ้อมใหญ่ เพื่อให้การแสดงเกิดความสวยงามราบรื่น ไม่
มี อุปสรรคเมื่อแสดงจริง
....................6. การแสดงประจาโรงเรียนแต่ละโรงเรียนไม่ต่างกันเลย เพราะ สื่อ ความหมายและสร้างเอกลักษณ์
ให้กับโรงเรียนทุกโรงเรียนจึงเหมือนกัน
....................7. สัญลักษณ์ประจาโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา คือ หนังสือและแสงเทียน นามาเรียง ร้อยเป็นบทร้อง
และประดิษฐ์ท่าราอย่างสวยงาม
....................8. อาชีพของคนในชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่ ของโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยาคือการนาเอาวิถีชีวิตการ
ประกอบอาชีพการทามาหากินการปลูกอ้อยในท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็นชุดการแสดง
....................9. แรงบันดาลใจ การสร้างสรรค์ชุดการแสดงอาจนามาจากแรงบันดาลใจในเรื่องต่างๆที่ต้องการ
...................10. ไม่ควรนาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่มาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง ไม่ต้อง
ส่วนประกอบหลายอย่างเป็นการเสริมให้การแสดงจะได้ดูเด่น ตระการตายิ่งขึ้น
แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 3
เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
22
ชื่อ นาย / นางสาว.......................................นามสกุล.......................................ชั้น..........เลขที่................
ตอนที่ 2 คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวันและนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง
(ศ 3.1 ม.5/8)
1. ในงาน วันพ่อแห่งชาติและวันแม่แห่งชาติ ควรจัดการแสดงในข้อใด
ก. ลิเก ข. ระบาดอกบัว
ค. ละครใน เรื่อง รามเกียรติ์ ง. ราถวายพระพร ราเทิดไท้องค์ราชัน องค์ราชินี
2.ในงาน วันสุนทรภู่ ควรจัดการแสดงในข้อใด
ก. ละครเรื่องแมลงภู่ กับ ดอกไม้ ข. ละคร หรือเพลงที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเช่นเพลงคามั่นสัญญา
ค. ละครใน เรื่อง พระอภัยมณี ตอนสุดสาครหลงป่า
ง. ร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ในเพลง ชะตาชีวิตสุนทรภู่
3. ในงานวันขึ้นปีใหม่ของโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา ควรจัดการแสดงนาฏศิลป์ ไทยลักษณะใดจึงจะเหมาะสม
ก. การแสดงนาฏศิลป์ที่เชื่องช้า โศกเศร้า ข. การแสดงนาฏศิลป์ที่รื่นเริงและสนุกสนาน
ค. การแสดงนาฏศิลป์หรูหรา งดงาม ทันสมัย ง. การแสดงนาฏศิลป์ ที่ปลุกใจ คึกครื้น
4. กาหนดชุดการแสดงให้เหมาะสมกับวันสาคัญของโรงเรียน หรือชุมชน ข้อใดถูกต้อง
ก. วันปีใหม่ ควร ปีพาทย์นางหงส์ ข. พิธีเปิดงานกีฬาตอนเช้า ควร ฟ้อนเทียน
ค. งานราชพิธี ควร เซิ้งโปงลาง ง. ร่วมงานศพ ควร ราพระรามตามกวาง
5. ควรเลือกชุดการแสดงที่มีเนื้อหาสาระที่ เกี่ยวข้องกับวันสาคัญนั้นๆ ข้อใด กล่าวผิด
ก. วันสงกรานต์ใช้ในการแสดงชุดระบาสงกรานต์ราเถิดเทิง
ข. วันลอยกระทงใช้การแสดงชุดประทีปสุโขทัย ราวง
ค. สถาปนาโรงเรียน การแสดง เซิ้งโปงลาง มอญซ่อนผ้า
ง. งานพระราชทานเพลิงศพ ควร ราพระรามตามกวาง ราซัดชาตรี
แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 3
เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
23
6. องค์ประกอบด้านเครื่องแต่งกาย ดนตรี เทคนิคการแสดง ไม่เกี่ยวข้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. รูปแบบหรือเอกลักษณ์ของ เรื่องราวการแสดง
ข. ระยะเวลาในการแสดงที่มีการ ปรับปรุงเพิ่มเติม
ค. เพื่อให้การแสดงน่าสนใจ และต้องมีความเหมาะสม
ง. ไม่ควรแต่งกายสวยงามเพราะจะทาให้ผู้ชมเกิดความเบื่อหน่าย
7. ชุดการแสดงที่เกี่ยวข้องวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นตาบลไทรเดี่ยว
ก. ระบาชาวเกาะ ข. เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
ค. ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ง. ระบาเก็บทุเรียน
8.ควรมีการฝึกซ้อมการแสดง ทั้ง ซ้อมย่อย ซ้อมใหญ่ ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. เพื่อจะได้เห็นหน้ากันบ่อยขึ้น
ข. เพื่อรักษาสภาพนักเรียนในโรงเรียน
ค. เพื่อให้การแสดงเกิดความสวยงามราบรื่น
ง. เพื่อมิให้หลงลืมวันและเวลาแสดงจริง
9 .แรงบันดาลใจในการนามาประดิษฐ์สร้างสรรค์เป็นชุดการแสดงประจาโรงเรียน
ก. ส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม ข. เพื่อลดแรงกดดันทางสังคม
ค. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ง. เป็นการบังคับให้มีขึ้นในโรงเรียน
10. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ราเดี่ยว ( ฉุยฉายพราหณ์ มโนราห์บูชายันต์ )
ข.ราคู่ (พระรามตามกวาง ราหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา )
ค. ราหมู่ (ราถวายพระพร ระบาม้า )
ง. ราวง ( ราวงล่าง ราวงกลาง ราวงบน )
24
ชื่อ นาย / นางสาว.......................................นามสกุล.......................................ชั้น..........เลขที่................
ตอนที่ 2 คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวันและนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง
(ศ 3.1 ม.5/8)
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
กระดาษคาตอบของชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 3
เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
25
ชื่อ นาย / นางสาว.......................................นามสกุล.......................................ชั้น..........เลขที่................
ตอนที่ 3 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 10 คะแนน )
1) นักเรียนคิดว่าการสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ มีหลักสาคัญๆ ควรคานึงถึง จงอธิบาย ( 5 คะแนน )
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวันและนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง
(ศ 3.1 ม.5/8)
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 3
เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
26
2) แนวคิดในการสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียน ให้นักเรียนเขียน แผนผังความคิด ( 5
คะแนน)
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวันและนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง
(ศ 3.1 ม.5/8)
แนวคิดในการสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียน
27
ตอนที่ 1 (10 คะแนน )
1 ผิด 6 ผิด
2 ถูก 7 ผิด
3 ผิด 8 ถูก
4 ถูก 9 ถูก
5 ถูก 10 ผิด
ตอนที่ 3
1) นักเรียนคิดว่าการสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ มีหลักสาคัญๆ ควรคานึงถึง จงอธิบาย( 5 คะแนน )
คาตอบ 1) ควรเลือกชุดการแสดงให้เหมาะสมกับโอกาสที่แสดง เช่น งานเฉลิมฉลองวันเกิดของบุคคล
สาคัญ งานวันสถาปนาโรงเรียน ควรเลือกชุดการแสดงที่มีความหมายในการอานวยอวยพรความเป็นสิริมงคล
แก่ผู้ที่มาร่วมงาน เช่น ราอวยพร ฟ้อนอวยพร ระบากฤดาภินิหาร ระบาเทพบันเทิง เป็นต้น หรือเป็นการแต่งบท
ร้องทานองเพลงขึ้นใหม่ให้มีความหมายตรงตามวัตถุประสงค์ของการแสดง
คาตอบ 2) จัดชุดการแสดงตรงตามที่ผู้จัดงานต้องการโดยคานึงถึงรูปแบบของงาน ขนาดพื้นที่ในการ
แสดง ผู้แสดง เวลาที่ใช้ในการแสดง งบประมาณ เป็นต้น เพื่อที่สามารถจัดการแสดงได้เหมาะสมกับงานนั้นๆ
ลีลา ท่าราที่ใช้ต้องมีความหมายตรงตามบทร้องและทานองเพลง หรือเรียงร้อยกระบวนท่าราที่วิจิตรงดงาม
นาเสนอขั้นตอนของการแสดงชัดเจน มีการแปรแถว และตั้งซุ้มที่สวยงาม ผู้แสดงมีความสามารถในการร่ายรา
เครื่องแต่งกายเหมาะสมกับรูปแบบของการแสดง ราอวยพร การแสดงนาฏศิลป์ สามารถนาลีลาท่าทางต่างๆ
ที่เป็นท่าราที่สื่อความหมายตามหลักนาฏศิลป์ ท่าทางในชีวิตประจาวันมาสร้างสรรค์ออกมาเป็นชุดการแสดงที่
สวยงามต่างๆ หรือท่าราที่เลียนแบบท่าทางของสัตว์ ต่างๆแล้วนามาประดิษฐ์เป็นชุดการแสดง
ตอนที่ 2 ( 10 คะแนน )
1 ง 6 ข
2 ข 7 ข
3 ข 8 ค
4 ง 9 ก
5 ค 10 ง
เฉลย
แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 3
เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
28
2) แนวคิดในการสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียน ให้นักเรียนเขียน แผนผังความคิด ( 5 คะแนน)
แนวคิดในการสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียน
สัญลักษณ์ประจาโรงเรียน
วิถีชีวิต
นาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่มาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง
ดอกไม้ ผลไม้ กระถาง ต้นไม้ เคี่ยว มัดข้าว
แรงบันดาลใจ
นามาเรียงร้อยเป็นบทร้อง
ใส่ทานอง และประดิษฐ์ท่ารา
นามาเรียงร้อยเป็นบทร้อง
ใส่ทานอง และ
ประดิษฐ์ท่ารา
อาชีพของคนใน
ชุมชนที่โรงเรียน
การประกอบอาชีพ
การทามาหากินของ
คนในท้องถิ่น
มีคุณค่าต่อ
นักเรียนและ
โรงเรียน
ระบา
เบญจศีล
รูปปั้น
อนุสาวรีย์
สิ่งศักดิ์สิทธิ์
ประจา
โรงเรียน
นามาเรียงร้อยเป็นบทร้อง
ใส่ทานอง และประดิษฐ์ท่ารา
ต้องการส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรม
ระบาไตรรัตน์ ระบาศิลปวัฒนธรรม
เครื่องแต่งกาย
จุดเด่นเฉพาะชิ้นแต่
ละชุดมีความ
แตกต่างกัน
ภาพรวมของ
เครื่องแต่งกาย
3 สีของเครื่องแต่ง
กาย จะเน้นมากใน
ตัวละครที่เป็นตัว
เอก
วัสดุ จะเป็นส่วนเสริม
ให้ตัวละครเด่นขึ้น
29
แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ )
ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 3
เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
ใบคาสั่ง
คาชี้แจง ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
( คะแนนเต็ม 20 คะแนน ) ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
ให้นักเรียนทุกคนทาตามคาสั่งต่อไปนี้
1) ทาโครงงาน เรื่อง ชุดการแสดงประจาโรงเรียน
2) ฝึกการแต่งกายนาฏศิลป์ แบบประยุกต์ลงในสมุดวาดเขียน
ตกแต่งให้สวยงาม
30
แบบประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมทักษะการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นของนักเรียนรายบุคคล
คาชี้แจง สังเกตพฤติกรรมทักษะการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นของนักเรียนรายบุคคลแล้วทาเครื่องหมาย / ลงใน
ช่องตามรายการต่อไปนี้
เลขที่
รายการประเมิน / ระดับคุณภาพ รวม
ผลการ
ประเมิน
ปฏิบัติ
ตาม
ขั้นตอน
มีความ
สะอาด
สวยงาม
ให้ความ
ร่วมมือ
ในการ
ทางาน
มีความ
ละเอียด
รอบคอบ
มีภาวะ
ผู้นา
กล้า
แสดงออก
20
คะ
4 3 2 4 3 2 4 3 2 4 3 2 4 3 2 แนน ผ มผ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
ลงชื่อ ผู้บันทึก
นางเย็นจิตร บุญศรี
ตาแหน่งครูวิทยฐานะครูชานาญการ
วันที่ 20 มกราคม 2558
31
คาอธิบายระดับคุณภาพและเกณฑ์การประเมิน / ระดับคะแนน
รายการประเมิน/
เกณฑ์
คาอธิบายระดับคุณภาพและเกณฑ์การประเมิน / ระดับคะแนน
4 คะแนน
มีพฤติกรรมทักษะ
ปฏิบัติงานเหมาะสมดี
3 คะแนน
มีพฤติกรรมทักษะ
ปฏิบัติงานเหมาะสม
2 คะแนน
มีพฤติกรรมทักษะ
ปฏิบัติงานไม่เหมาะสม
1.ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติตาม
ขั้นตอน
ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงาน
ตามขั้นตอนที่วางแผน
ไว้ครบถ้วน
ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงาน
ตามขั้นตอนที่วางแผน
เพียงเล็กน้อย
ไม่ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงาน
ตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
2.มีความรักในความ
ไทย
สนใจจดจ่อในเรื่องที่
กาลังปฏิบัติเป็นอย่างดี
สนใจบ้างคุยเรื่องอื่น
บ้างขณะที่กาลังปฏิบัติ
ไม่สนใจจดจ่อในเรื่องที่
กาลังปฏิบัติ
3.ให้ความร่วมมือใน
การทางาน
สมาชิกทุกคนมีส่วน
ร่วมในการทางานตาม
หน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย
สมาชิกบางคนมีส่วน
ร่วมในการทางานตาม
หน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย
สมาชิกมีส่วนร่วมไม่มี
ส่วนในการทางานตาม
หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4.มีความละเอียด
รอบคอบ
มีทักษะกระบวนการ
ทางานได้ถูกต้อง
ครบถ้วน
มีทักษะกระบวนการ
ทางานบางส่วนถูกต้อง
ครบถ้วน
มีทักษะกระบวนการ
ทางานไม่ถูกต้องไม่
ครบถ้วน
5.มีความมุ่งมั่นใน
ภาวะผู้นากล้า
แสดงออก
มีทักษะการนาเสนอให้
สมาชิกสนใจฟังเป็น
อย่างดี
มีทักษะการนาเสนอ
เล็กน้อยให้สมาชิก
สนใจฟัง
ไม่มีทักษะการนาเสนอ
ให้สมาชิกสนใจฟังเลย
ระดับคุณภาพ
4 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรทักษะปฏิบัติงานเหมาะสมดี
3 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานเหมาะสม
2 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานไม่เหมาะสม
เกณฑ์การประเมินด้านพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานของนักเรียน
ได้คะแนน 1-5 ระดับระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนต่ากว่าเกณฑ์
ได้คะแนน 6-10 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนพอใช้
ได้คะแนน 11-16 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนได้ค่อนข้างดี
ได้คะแนน 17-20 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนดี
เกณฑ์การประเมิน
ได้คะแนน 1-10 ไม่ผ่านการประเมิน
ได้คะแนน 11-20 ผ่านการประเมิน
32
ลงชื่อ ผู้บันทึก
(........................................................)
วันที่
แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้
ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
ผลการทดสอบวัดผลหลังเรียนรู้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เลขที่ ชื่อ
ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ภาคปฏิบัติ รวม
10 คะแนน 10 คะแนน (20คะแนน) (40คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
รวม
ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คิดเป็นร้อยละ
33
บรรณานุกรม
ดุษฎี มีป้อม . นิลวรรณ ถมังรักษ์สัตว์คู่มือการสอน เพื่อครูผู้สอน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.5 :วัฒนาพาณิชย์
ธิดารัตน์ ภักดีรักษ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ 4-6 : สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด
หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.5 : อักษรเจริญทัศน์
พนมพร ชินชนะ เอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน้า 5 – 10
สุมนมาลย์นิ่มเนติพันธ์ , สุมนรตี นิ่มเนติพันธ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.6 : อักษรเจริญทัศน์
อรวรรณ ขมวัฒนา , วีร์สุดา บุนนาค หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.4-6 : สถาบันพัฒนา
คุณภาพ วิชาการ (พว.) จากัด
34
ประวัติผู้จัดทา
ประวัติผู้วิจัย
นางเย็นจิตร บุญศรี
ตาแหน่งเลขที่ 27570-2(ถ)
เกิดวันที่ 17 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2521
ณ บ้านเลขที่165 บ้านปักคุ้ม หมู่ 6 ตาบลท่าเกวียน
อาเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว 27160 โทรศัพท์087- 8450868
สถานที่ทางาน
ปัจจุบัน
โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา หมู่ที่ 2 ตาบลคลองไทรเดี่ยว อาเภอคลองหาด
จังหวัดสระแก้ว 27060 โทรศัพท์037 - 261386
สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว
กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
กระทรวงมหาดไทย
ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา
พ.ศ.2551 กศ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
พ.ศ.2545 วค.ป หลักสูตรรายวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
พ.ศ.2544 ศศ.บ.วิชาเอกนาฏศิลป์และการละคร สถาบันราชภัฏจันทรเกษม
พ.ศ.2540 จบประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา
พ.ศ.2538 จบประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนโพนทองวิทยายนจังหวัดร้อยเอ็ด
พ.ศ. 2536 จบประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเมืองโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด
35
ประวัติการ
ทางาน พ.ศ. 2540-2542 เป็นนักศึกษาช่วยงานคณะครุศาสตร์ ต่อมาช่วยงานศูนย์วิจัยและ
พัฒนานโยบาย สถาบันราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2543-2544 เป็นพนักงานโฮสเตส McDonald'sบริษัทแมคโดนัลด์ ประเทศ
ไทย จากัด สาขาโรบินสันรัชดา และสาขา ฟอร์จูน
พ.ศ. 2545 เป็นพนักงานpart - time บริษัทเลมอนฟาร์ม สาขาเพชรเกษม
พ.ศ. 2545-2546 เป็นครูอัตราจ้าง โรงเรียนบ้านคลองลัดอ้อมใหญ่ จังหวัด
นครปฐม
พ.ศ. 2546- 2548 เป็นครูสังกัดเอกชน กลุ่มโรงเรียนโสมาภา สาขาโสมาภา 2
เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2548- 2552 บรรจุพนักงานครูเทศบาลเมืองตาก โรงเรียนรัตนวิทยานุสรณ์
(เทศบาล 4)
ช่วยปฏิบัติราชการ โรงเรียนเทศบาลเพชรวิทย์ (เทศบาล 1 )
พ.ศ. 2552 โอนย้าย เป็นข้าราชการครูโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว
ปัจจุบัน เป็นข้าราชการครูโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดสระแก้ว ตาแหน่งครูวิทยฐานะชานาญการ
ผลงานดีเด่น 2553 ได้รับคัดเลือกครูดีเด่น ระดับจังหวัด อบจ. สระแก้ว
2558 ได้รับคัดเลือกครูดีเด่น ระดับจังหวัด อบจ. สระแก้ว
36

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุNattapon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...Kruthai Kidsdee
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1umpan
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
Ssr รร 2556
Ssr รร 2556Ssr รร 2556
Ssr รร 2556supphawan
 
Classroom research paper
Classroom research paperClassroom research paper
Classroom research paperpeter dontoom
 

What's hot (19)

เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
Ssr รร 2556
Ssr รร 2556Ssr รร 2556
Ssr รร 2556
 
Classroom research paper
Classroom research paperClassroom research paper
Classroom research paper
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่

เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงครูเย็นจิตร บุญศรี
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2thkitiya
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 krurutsamee
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2Pak Ubss
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.Kaisorn Sripuwong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
Plane com p4_01
Plane com p4_01Plane com p4_01
Plane com p4_01senawong
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่ (20)

เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
เอกสารประกอบการเรียนการสอน2
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
 
962
962962
962
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
Plane com p4_01
Plane com p4_01Plane com p4_01
Plane com p4_01
 

เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่

  • 1. 1
  • 2. 2 ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ 32101 ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ นางเย็นจิตร บุญศรี ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
  • 3. 3 ข้าพเจ้า นายไพสิน นกศิริ ผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสระแก้ว ขอรับรองว่าชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระนาฏศิลป์ ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ 32101 ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ นี้ เป็น นวัตกรรมที่ นางเย็นจิตร บุญศรี ตาแหน่งครูวิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา ได้จัดทาและใช้ประกอบการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนจริง นายไพสิน นกศิริ ตาแหน่งผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา คารับรองของผู้บริหาร
  • 4. 4 ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ ) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 รหัสวิชา ศ 32101 ได้จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจใน เรื่อง การสร้างสรรค์ ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ จัดการแสดงในวันสาคัญในโรงเรียนและชุมชน ชุดการแสดงประจา โรงเรียน ได้จัดทาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหา ผู้จัดทาได้รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับ การสร้างสรรค์ผลงานการ แสดงนาฏศิลป์ จัดการแสดงในโรงเรียนและชุมชนซึ่งเอกสาร มีทั้งหมด 4 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย ชุดที่ 2 การอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทยภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุดที่ 3 การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ ชุดที่ 4 การประดิษฐ์ท่าราสร้างสรรค์ ชุดเซิ้ง หนุ่มสาวชาวไร่อ้อย สาหรับชุดนี้เป็นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ ) ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ศ 32101 ชุดที่ 3 การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ 1. จัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน 2. ชุดการแสดงประจาโรงเรียน ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาควรอ่านเพิ่มเติมทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนได้ต่อไปในโอกาส ต่อไป และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ คานา เย็นจิตร บุญศรี
  • 5. 5 เรื่อง หน้า คู่มือครู 6 คู่มือนักเรียน 10 บัตรเนื้อหาที่ 3 .1 เรื่อง จัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน 13 บัตรเนื้อหาที่ 3. 2 เรื่อง ชุดการแสดงประจาโรงเรียน 16 แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ตอนที่ 1 22 แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ตอนที่ 2 23 แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ตอนที่ 3 26 เฉลย แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ 28 แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ ) ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ 30 บรรณานุกรม 31 ประวัติผู้จัดทา 32 สารบัญ
  • 6. 6 คาชี้แจงสาหรับครู 1. ส่วนประกอบในชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง นาฏศิลป์ ชุดที่ 3 ประกอบด้วย 1.1 คู่มือครู 1.2 คู่มือนักเรียน 1.3 บัตรเนื้อหา 1.4 แบบฝึกหัด 1.5 แบบทดสอบท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ( ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ) 2. ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง ในการเรียน ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ ดังนี้ 2.1 การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน 2.2 ชุดการแสดงประจาโรงเรียน คู่มือครู
  • 7. 7 คาชี้แจง ให้ครูผู้สอน ดาเนินกิจกรรมดังนี้ 1. ศึกษาชุดการสอน ประกอบการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียน การจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล ประกอบชุดการสอนประกอบการเรียนให้เข้าใจ 2. ศึกษา ตรวจสอบและเตรียมเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ สื่อการเรียนรู้ เครื่องมือ และ ประเมินผล ประกอบชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ให้เข้าใจ 3. ก่อนสอน ครูควรชี้แจงบทบาทและหน้าที่ของผู้เรียน และกาหนดข้อตกลง ร่วมกัน 4. ขั้นตอนการสอนแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 2 สอน (กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ / กระบวนการสอนแบบ อภิปราย / กระบวนการสอนแบบสืบสวนสอบถาม / กระบวนการสอนแบบบรรยาย / กระบวนการสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง / กระบวนการสอนแบบโซเครติส) ขั้นที่ 3 ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทักษะบูรณาการภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคม ขั้นที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการเมื่อนักเรียนปฏิบัติได้แล้ว ขั้นที่ 5 ขั้นให้นักเรียนเชื่อมโยงทักษะย่อยๆเป็นทักษะที่สมบรูณ์ ขั้นที่ 6 ขั้นสรุปและประเมินผล 5. ควรดูการทางานขณะปฏิบัติกิจกรรมในชุดการสอนนี้อย่างใกล้ชิด ถ้าเกิดปัญหา ครูควรเป็นที่ปรึกษา หรือให้คาแนะนา ในการแก้ไขในการเรียนได้ทันที โดยเน้นให้นักเรียน ได้ร่วม ร่วมปฏิบัติ และสรุป และ ประเมินผล 6. สรุปคะแนนลงในแบบสรุปคะแนนในแบบบันทึกการเรียนรู้ของแต่ละชุด 7. หลังจากที่นักเรียนดาเนินชุดการสอนประกอบการเรียนรู้นี้เรียบร้อยแล้วทาการ ทดสอบภาคปฏิบัติ 8. ทาแบบประเมินผลการเรียนเพื่อดูแลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการก้าวหน้า ทางการเรียนของนักเรียน บทบาทของครูผู้สอน
  • 8. 8 สิ่งที่ครูต้องเตรียม 1.ครูตรวจชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ให้มีครบทุกกิจกรรม เช่น 1.1 บัตรเนื้อหา 1.2 บัตรคาสั่ง บัตรกิจกรรม พร้อมอุปกรณ์สื่อ ซีดี ประจา ชุดการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ 1.3 แบบทดสอบประจาชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ พร้อมเฉลย 1.4 แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม 2. ห้องเรียนกว้างและโล่งสาหรับการปฏิบัติการทางานกลุ่ม 3. สื่อที่ใช้ประกอบชุดการสอนกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ เช่น 3.1 แผ่นภาพการแสดงในวันสาคัญ 3.2 ที่ตั้งวางภาพ 3.3 อุปกรณ์บทบาทสมมติ
  • 9. 9 การประเมินผลการเรียน 1. ประเมินจากการสังเกต 2. ประเมินจากการอภิปรายกลุ่ม 3. ประเมินจากการสัมภาษณ์ 4. ประเมินจากการลงมือปฏิบัติของนักเรียน 5. ประเมินจากการทาแบบทดสอบ ท้ายชุดการสอน ประกอบการเรียนรู้ 6. ประเมินจากทักษะในการปฏิบัติ ( วัดทักษะ ภาคปฏิบัติ) 7. ประเมินผลงานจากความสาเร็จจากการปฏิบัติ
  • 10. 10 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 1ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ของชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับการจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียน และชุดการแสดงประจา โรงเรียน (K) 2. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียน และชุดการ แสดงประจาโรงเรียน (P) 3. เห็นคุณค่าและความสาคัญในการจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุดการ แสดงประจาโรงเรียน (A) 3. นักเรียนรับชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ 3.1 คู่มือนักเรียน 3.2 บัตรเนื้อหา ได้แก่ 3.2.1 การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน 3.2.2 ชุดการแสดงประจาโรงเรียน 3.2.3 แบบฝึกหัด ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 คู่มือนักเรียน ร่วมกันเรียนรู้ไปกับชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ ฝึกการเข้าใจ ด้วยค่ะ เชิญฝึกไปพร้อมๆกันกับพวกเรานะค่ะ
  • 11. 11 คาชี้แจง ให้นักเรียนดาเนินการในชุดการสอนที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง นาฏศิลป์ ดังนี้ 1. ศึกษาสาระสาคัญ จุดประสงค์ กิจการเรียนรู้ และประเมินผล สาระสาคัญ การสร้างสรรค์ผลงานในโรงเรียนจะทาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการแสดงออกมีส่วน ร่วมในการทากิจกรรมและเป็นการอนุรักษ์การแสดงนาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยให้คงอยู่สืบไป ด้วย กิจการเรียนรู้ของนักเรียนแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 2 เรียนรู้ (กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการเรียนแบบสืบสวน สอบถาม / กระบวนการสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง ) ขั้นที่ 3 ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทักษะบูรณาการภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคม พลศึกษา ขั้นที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการเมื่อนักเรียนปฏิบัติได้แล้ว ขั้นที่ 5 ขั้นให้นักเรียนเชื่อมโยงทักษะย่อยๆเป็นทักษะที่สมบรูณ์ ขั้นที่ 6 ขั้นสรุปและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับการจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียน และชุดการแสดงประจาโรงเรียน (K) 2. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ และชุดการแสดงประจาโรงเรียน (P) 3. เห็นคุณค่าและความสาคัญในการจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุดการแสดงประจา โรงเรียน (A) บทบาทของนักเรียน ประเมินผล 1. ประเมินจากการลงมือปฏิบัติของนักเรียน 2. ประเมินจากการทาแบบทดสอบ ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ 3. ประเมินจากทักษะในการปฏิบัติ ( วัดทักษะ ภาคปฏิบัติ)ประเมินผลงานจากความสาเร็จ
  • 12. 12 การสร้างสรรค์ผลงานทางนาฏศิลป์ การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ ไทย เป็นการสืบสานและสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของ ชาติให้คงอยู่ และเป็นที่รู้จักสืบไป ซึ่งในการสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ นั้นจะต้องมีความเหมาะสม ถูกต้องตามหลักจารีต ไม่ปรับปรุงแก้ไขมากเกินไป 1 1. การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนนั้นในแต่ละโรงเรียนมีการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ซึ่งการสร้างสรรค์ท่ารา นามาใช้ในเทศกาลหรือวันสาคัญต่างๆของโรงเรียนและชุมชน เช่น วันอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย ร่วมอาลัยสุนทรภู่ วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ วันสงกรานต์ วันลอยกระทง เป็นต้น การ สร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ นั้นมีหลักสาคัญๆ ควรคานึงถึง 1.1) ควรเลือกชุดการแสดงให้เหมาะสมกับโอกาสที่แสดง เช่น งานเฉลิมฉลองวันเกิดของ บุคคลสาคัญ งานวันสถาปนาโรงเรียน ควรเลือกชุดการแสดงที่มีความหมายในการอานวยอวยพรความเป็นสิริ มงคลแก่ผู้ที่มาร่วมงาน เช่น ราอวยพร ฟ้อนอวยพร ระบากฤดาภินิหาร ระบาเทพบันเทิง เป็นต้น หรือเป็นการ แต่งบทร้องทานองเพลงขึ้นใหม่ให้มีความหมายตรงตามวัตถุประสงค์ของการแสดง 1.2) จัดชุดการแสดงตรงตามที่ผู้จัดงานต้องการโดยคานึงถึงรูปแบบของงาน ขนาดพื้นที่ใน การแสดง ผู้แสดง เวลาที่ใช้ในการแสดง งบประมาณ เป็นต้น เพื่อที่สามารถจัดการแสดงได้เหมาะสมกับงาน นั้นๆ ลีลา ท่าราที่ใช้ต้องมีความหมายตรงตามบทร้องและทานองเพลง หรือเรียงร้อยกระบวนท่าราที่วิจิตร งดงาม นาเสนอขั้นตอนของการแสดงชัดเจน มีการแปรแถว และตั้งซุ้มที่สวยงาม ผู้แสดงมีความสามารถในการ ร่ายราเครื่องแต่งกายเหมาะสมกับรูปแบบของการแสดง ราอวยพร 1 ราศิยศ วงศ์ศิลปกุล และคณะ นาฏศิลป์ ม.5 สถานบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ ( พว.) หน้า 51 บัตรเนื้อหาที่ 3 .1 เรื่อง จัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนและชุมชน ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
  • 13. 13 การแสดงนาฏศิลป์ สามารถนาลีลาท่าทางต่างๆ ที่เป็นท่าราที่สื่อความหมายตามหลักนาฏศิลป์ ท่าทางใน ชีวิตประจาวันมาสร้างสรรค์ออกมาเป็นชุดการแสดงที่สวยงามต่างๆ หรือท่าราที่เลียนแบบท่าทางของสัตว์ ต่างๆ แล้วนามาประดิษฐ์เป็นชุดการแสดง การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียน นักเรียนควรมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ผลงานการแสดง ในโรงเรียน ซึ่งวันสาคัญของโรงเรียนที่นิยมจัดงาน เช่น วันพ่อแห่งชาติและวันแม่แห่งชาติ จัดการแสดงราถวาย พระพรราเทิดไท้องค์ราชัน วันสุนทรภู่ จัดการแสดงละครที่เป็นบทประพันธ์ของท่านสุนทรภู่ หรือเพลงที่ เกี่ยวข้องกับเรื่องเช่นเพลงคามั่นสัญญา การสร้างสรรค์การแสดงในงานวันสาคัญของโรงเรียนจะต้องคานึงถึง เทคนิคที่ใช้ในการจัดการแสดง ระยะเวลาในการจัดการแสดง ซึ่งมีข้อควรพิจารณา ดังนี้ 1.การแสดงที่สร้างสรรค์ขึ้นต้องอยู่บนพื้นฐานของการอนุรักษ์และพัฒนาโดยไม่ผิดจารีตและ วัฒนธรรมในการแสดง 2.องค์ประกอบด้านเครื่องแต่งกาย ดนตรี เทคนิคการแสดง ระยะเวลาในการแสดงที่มีการ ปรับปรุง เพิ่มเติม มีเพื่อให้การแสดงน่าสนใจ และต้องมีความเหมาะสมไม่ผิดรูปแบบหรือเอกลักษณ์ของ เรื่องราวการ แสดง ท่าราที่เลียนแบบท่าทางของสัตว์ ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี องค์ประกอบด้านเครื่องแต่งกาย ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
  • 14. 14 3.ควรมีการฝึกซ้อมการแสดงทั้งซ้อมใหญ่ ซ้อมย่อย เพื่อให้การแสดงเกิดความสวยงามราบรื่น ไม่มี อุปสรรคเมื่อแสดงจริง การจัดการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียนควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 3.1) กาหนดชุดการแสดงให้เหมาะสมกับวันสาคัญของโรงเรียน ควรเลือกชุดการ แสดงที่มีเนื้อหาสาระที่ เกี่ยวข้องกับวันสาคัญนั้นๆ เช่น วันสงกรานต์ใช้ในการแสดงชุดระบาสงกรานต์ รา เถิดเทิง วันลอยกระทง ใช้การแสดงชุดประทีปสุโขทัย ราวง ระบาประทีปทอง เป็นต้น 3.2) เวลาที่ใช้การแสดงไม่ควรใช้เวลานานเกินไป เพราะจะทาให้ผู้ชมเกิดความเบื่อ หน่าย 3.3) การนาเสนอการแสดงควรให้มีส่วนในการสืบสานวัฒนธรรมไทย 3.4) ต้องคานึงถึงองค์ประกอบต่างๆของการแสดง เช่น - ความสามารถของผู้แสดง - การแต่งกายมีความเหมาะสมสวยงามกับชุดการแสดง การใช้ท่าราในการสื่อ ความหมายตามบทร้องได้เหมาะสมสวยงาม - อุปกรณ์ประกอบการแสดง ฉาก แสง สี เสียง มีความเหมาะสมกับการแสดง - ผู้แสดงมีการฝึกฝนอยู่เสมอเพื่อให้เกิดความพร้อมเพรียงและสวยงาม ฉาก แสง สี ประกอบการแสดง มีการฝึกซ้อมการแสดงทั้งซ้อมใหญ่ ซ้อมย่อย ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี อุปกรณ์ประกอบการแสดง ฉาก ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
  • 15. 15 การสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียน การแสดงประจาโรงเรียนแต่ละโรงเรียนจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับการนาไปใช้แสดง ซึ่ง บาง โรงเรียนจะมีชุดการแสดงประจาโรงเรียน แต่บางโรงเรียนอาจไม่มีชุดการแสดงประจาโรงเรียน ส่วน ใหญ่จะเป็นการแสดงท่าทางประกอบเพลงประจาโรงเรียน แต่ในด้านการแสดงนาฏศิลป์ และละครนั้น ก็ต้องขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของโรงเรียนในการจัดชุดการแสดงประจาโรงเรียนขึ้น เพื่อสื่อ ความหมาย และสร้างเอกลักษณ์ให้กับโรงเรียน แนวคิดในการสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียนมีดังนี้ 1. สัญลักษณ์ประจาโรงเรียน เช่น รูปปั้น อนุสาวรีย์ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจาโรงเรียน เป็น ต้น นามาเรียง ร้อยเป็นบทร้อง ใส่ทานอง และประดิษฐ์ท่ารา สร้างสรรค์การแต่งกายให้มีความ สอดคล้องหรือสื่อ ให้เข้าใจกับสัญลักษณ์ของโรงเรียน บัตรเนื้อหาที่ 3. 2 เรื่อง ชุดการแสดงประจาโรงเรียน นามาเรียง ร้อยเป็นบทร้อง ใส่ทานอง และประดิษฐ์ท่ารา ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
  • 16. 16 2) วิถีชีวิต อาชีพของคนในชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่ การนาเอาวิถีชีวิตการประกอบ อาชีพการทามาหากินของคนในท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็นชุดการแสดงจะทาให้ชุดการแสดงของโรงเรียน มีคุณค่าต่อ นักเรียนและโรงเรียน 3) แรงบันดาลใจ การสร้างสรรค์ชุดการแสดงอาจนามาจากแรงบันดาลใจในเรื่องต่างๆ ที่ต้องการส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรม แล้วนามาประดิษฐ์สร้างสรรค์เป็นชุดการแสดงประจาโรงเรียน ได้เช่น ระบาเบญจศีล ระบาไตรรัตน์ ระบาศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น 4) นาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่มาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง เช่น ดอกไม้ ผลไม้กระถาง ต้นไม้เคี่ยว มัดข้าว เป็นต้น มาแต่งเป็นบทร้อง มีการใส่ทานองดนตรีและประดิษฐ์ท่ารา เป็นชุดการแสดงประจา โรงเรียน เช่น ระบาปทุมมาลย์ ระบาดอกกล้วยไม้ ระบาผ้าขาวม้า ระบาแห่ ดอกไม้ เป็นต้น องค์ประกอบของการแสดง ในการแสดงนาฏศิลป์ ในแต่ละชนิด จะมีส่วนประกอบ หลายอย่างเป็นการเสริมให้การแสดงดูเด่น ตระการตายิ่งขึ้น สิ่งที่เป็นองค์ประกอบในการแสดงมี 4 ส่วนหลัก คือ แรงบันดาลใจ ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี วิถีชีวิต อาชีพของคนในชุมชน ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
  • 17. 17 4.1. เครื่องแต่งกาย จุดเด่นของเครื่องแต่งกายมี 4 ส่วน คือ 4.1.1 จุดเด่นเฉพาะชิ้น เป็นส่วนเฉพาะที่ระบุถึงลักษณะและฐานะของตัว ละคร 4.1.2 ภาพรวมของเครื่องแต่งกาย จะเห็นว่าเครื่องแต่งกายแต่ละชุดมีความ แตกต่างกัน สามารถ ระบุได้ว่าเป็นชุดใด ชาติใด 4.1.3 สีของเครื่องแต่งกาย จะเน้นมากในตัวละครที่เป็นตัวเอก มักจะใช้สีที่ ตรงข้ามกัน เช่น ถ้า พระเอกใส่สีเขียว นางเอกจะใส่สีแดง หรือถ้าพระเอกใส่สีแดง นางเอกก็จะใส่สี เขียว ตัว พ่อ แม่ มักใช้สีน้าเงิน ฟ้า บานเย็น ตามลักษณะของชุดการแสดง 4.1.4 วัสดุ จะเป็นส่วนเสริมให้ตัวละครเด่นขึ้น เช่น การใช้ผ้าที่มีน้าหนักหรือ ผ้าที่บาง 4.2. อุปกรณ์ เป็นส่วนที่จาเป็นในการแสดง ตัวละครบางตัวหรือชุดการแสดงบางชุดขาด อุปกรณ์การ แสดงไม่ได้เช่น พระรามถือศร หนุมานถือตรี ระบาดอกบัวถือดอกบัว ฟ้อนเทียนถือเทียน ตารีกีปัสถือพัด 4.3. ดนตรี เป็นส่วนสร้างอารมณ์ให้กับผู้ชม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของเสียงดนตรีวิธีการ บรรเลงและ สาเนียงดนตรี 4.4. การแสดง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ราเดี่ยว (ระบามโนราห์บูชายันต์ พลายชุมพล ฉุยฉายพราหมณ์ ) ราคู่ (ราฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง พระรามตามกวาง ราหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา ) ราหมู่ (ราสีนวล (ออกหนู) ราตาลีกีปัส ) นาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่มาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง ที่มาของภาพ : นางเย็นจิตร บุญศรี
  • 18. 18 ราคู่ (ราฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง พระรามตามกวาง ราหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา ) ราฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง พระรามตามกวาง หนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา ราเดี่ยว ระบามโนราห์บูชายันต์ ที่มาของภาพ : www.monnut.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2557 ราเดี่ยว ราพลายชุมพล ที่มาของภาพ : www.finearts.go.th นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ วันที่ 12 กรกฎาคม 2557 ราเดี่ยว ราฉุยฉายพราหมณ์ ที่มาของภาพ : www.thaidances.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ วันที่ 12 กรกฎาคม 2557
  • 19. 19 รา (ราหมู่) ราสีนวล ที่มาของภาพ : หนังสือวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๒๒๖) นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้นวันที่ 12 กรกฎาคม 2557 รา หมู่ ราตาลีกีปัส ที่มาของภาพ : www.files.wordpress.com นางเย็นจิตร บุญศรี สืบค้น วันที่ 12 กรกฎาคม 2557
  • 21. 21 ชื่อ นาย / นางสาว.......................................นามสกุล.......................................ชั้น..........เลขที่................ ตอนที่ 1 คาชี้แจง ตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง โดยเขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และ เขียนเครื่องหมาย x หน้าข้อความที่ผิด ( 10 คะแนน ) ตัวชี้วัด วิเคราะห์ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวันและนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง (ศ 3.1 ม.5/8) ................1. ในเทศกาลหรือวันสาคัญต่างๆของโรงเรียนและชุมชน เช่น วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ เท่านั้น ................2. การสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ นั้นมีหลักสาคัญๆ ควรคานึงถึงคือควรเลือกชุดการแสดง ให้เหมาะสมกับโอกาสที่แสดง และจัดชุดการแสดงตรงตามที่ผู้จัดงานต้องการโดยคานึงถึง รูปแบบของงาน ..................3. ระยะเวลาในการจัดการแสดง คือ การแสดงที่สร้างสรรค์ขึ้นต้องอยู่บนพื้นฐานของการอนุรักษ์ และพัฒนาโดยไม่ผิดจารีตและ วัฒนธรรมในการแสดง เท่านั้นไม่ได้นึกถึงองค์ประกอบด้านเครื่อง แต่งกาย ดนตรี เทคนิคการแสดง อื่นๆ เลย ...................4. อุปกรณ์ ฉาก แสง สี เสียง มีความเหมาะสมกับการแสดง ข้อความนี้กล่าวถูกต้อง ...................5. ควรมีการฝึกซ้อมการแสดงทั้ง ซ้อมย่อย ซ้อมใหญ่ เพื่อให้การแสดงเกิดความสวยงามราบรื่น ไม่ มี อุปสรรคเมื่อแสดงจริง ....................6. การแสดงประจาโรงเรียนแต่ละโรงเรียนไม่ต่างกันเลย เพราะ สื่อ ความหมายและสร้างเอกลักษณ์ ให้กับโรงเรียนทุกโรงเรียนจึงเหมือนกัน ....................7. สัญลักษณ์ประจาโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา คือ หนังสือและแสงเทียน นามาเรียง ร้อยเป็นบทร้อง และประดิษฐ์ท่าราอย่างสวยงาม ....................8. อาชีพของคนในชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่ ของโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยาคือการนาเอาวิถีชีวิตการ ประกอบอาชีพการทามาหากินการปลูกอ้อยในท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็นชุดการแสดง ....................9. แรงบันดาลใจ การสร้างสรรค์ชุดการแสดงอาจนามาจากแรงบันดาลใจในเรื่องต่างๆที่ต้องการ ...................10. ไม่ควรนาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่มาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง ไม่ต้อง ส่วนประกอบหลายอย่างเป็นการเสริมให้การแสดงจะได้ดูเด่น ตระการตายิ่งขึ้น แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
  • 22. 22 ชื่อ นาย / นางสาว.......................................นามสกุล.......................................ชั้น..........เลขที่................ ตอนที่ 2 คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ตัวชี้วัด วิเคราะห์ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวันและนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง (ศ 3.1 ม.5/8) 1. ในงาน วันพ่อแห่งชาติและวันแม่แห่งชาติ ควรจัดการแสดงในข้อใด ก. ลิเก ข. ระบาดอกบัว ค. ละครใน เรื่อง รามเกียรติ์ ง. ราถวายพระพร ราเทิดไท้องค์ราชัน องค์ราชินี 2.ในงาน วันสุนทรภู่ ควรจัดการแสดงในข้อใด ก. ละครเรื่องแมลงภู่ กับ ดอกไม้ ข. ละคร หรือเพลงที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเช่นเพลงคามั่นสัญญา ค. ละครใน เรื่อง พระอภัยมณี ตอนสุดสาครหลงป่า ง. ร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ในเพลง ชะตาชีวิตสุนทรภู่ 3. ในงานวันขึ้นปีใหม่ของโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา ควรจัดการแสดงนาฏศิลป์ ไทยลักษณะใดจึงจะเหมาะสม ก. การแสดงนาฏศิลป์ที่เชื่องช้า โศกเศร้า ข. การแสดงนาฏศิลป์ที่รื่นเริงและสนุกสนาน ค. การแสดงนาฏศิลป์หรูหรา งดงาม ทันสมัย ง. การแสดงนาฏศิลป์ ที่ปลุกใจ คึกครื้น 4. กาหนดชุดการแสดงให้เหมาะสมกับวันสาคัญของโรงเรียน หรือชุมชน ข้อใดถูกต้อง ก. วันปีใหม่ ควร ปีพาทย์นางหงส์ ข. พิธีเปิดงานกีฬาตอนเช้า ควร ฟ้อนเทียน ค. งานราชพิธี ควร เซิ้งโปงลาง ง. ร่วมงานศพ ควร ราพระรามตามกวาง 5. ควรเลือกชุดการแสดงที่มีเนื้อหาสาระที่ เกี่ยวข้องกับวันสาคัญนั้นๆ ข้อใด กล่าวผิด ก. วันสงกรานต์ใช้ในการแสดงชุดระบาสงกรานต์ราเถิดเทิง ข. วันลอยกระทงใช้การแสดงชุดประทีปสุโขทัย ราวง ค. สถาปนาโรงเรียน การแสดง เซิ้งโปงลาง มอญซ่อนผ้า ง. งานพระราชทานเพลิงศพ ควร ราพระรามตามกวาง ราซัดชาตรี แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
  • 23. 23 6. องค์ประกอบด้านเครื่องแต่งกาย ดนตรี เทคนิคการแสดง ไม่เกี่ยวข้องกับข้อใดมากที่สุด ก. รูปแบบหรือเอกลักษณ์ของ เรื่องราวการแสดง ข. ระยะเวลาในการแสดงที่มีการ ปรับปรุงเพิ่มเติม ค. เพื่อให้การแสดงน่าสนใจ และต้องมีความเหมาะสม ง. ไม่ควรแต่งกายสวยงามเพราะจะทาให้ผู้ชมเกิดความเบื่อหน่าย 7. ชุดการแสดงที่เกี่ยวข้องวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นตาบลไทรเดี่ยว ก. ระบาชาวเกาะ ข. เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย ค. ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ง. ระบาเก็บทุเรียน 8.ควรมีการฝึกซ้อมการแสดง ทั้ง ซ้อมย่อย ซ้อมใหญ่ ข้อใดถูกต้องที่สุด ก. เพื่อจะได้เห็นหน้ากันบ่อยขึ้น ข. เพื่อรักษาสภาพนักเรียนในโรงเรียน ค. เพื่อให้การแสดงเกิดความสวยงามราบรื่น ง. เพื่อมิให้หลงลืมวันและเวลาแสดงจริง 9 .แรงบันดาลใจในการนามาประดิษฐ์สร้างสรรค์เป็นชุดการแสดงประจาโรงเรียน ก. ส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม ข. เพื่อลดแรงกดดันทางสังคม ค. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ง. เป็นการบังคับให้มีขึ้นในโรงเรียน 10. ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. ราเดี่ยว ( ฉุยฉายพราหณ์ มโนราห์บูชายันต์ ) ข.ราคู่ (พระรามตามกวาง ราหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา ) ค. ราหมู่ (ราถวายพระพร ระบาม้า ) ง. ราวง ( ราวงล่าง ราวงกลาง ราวงบน )
  • 24. 24 ชื่อ นาย / นางสาว.......................................นามสกุล.......................................ชั้น..........เลขที่................ ตอนที่ 2 คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ตัวชี้วัด วิเคราะห์ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวันและนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง (ศ 3.1 ม.5/8) ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 กระดาษคาตอบของชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
  • 25. 25 ชื่อ นาย / นางสาว.......................................นามสกุล.......................................ชั้น..........เลขที่................ ตอนที่ 3 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 10 คะแนน ) 1) นักเรียนคิดว่าการสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ มีหลักสาคัญๆ ควรคานึงถึง จงอธิบาย ( 5 คะแนน ) ตัวชี้วัด วิเคราะห์ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวันและนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง (ศ 3.1 ม.5/8) ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
  • 26. 26 2) แนวคิดในการสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียน ให้นักเรียนเขียน แผนผังความคิด ( 5 คะแนน) ตัวชี้วัด วิเคราะห์ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวันและนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง (ศ 3.1 ม.5/8) แนวคิดในการสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียน
  • 27. 27 ตอนที่ 1 (10 คะแนน ) 1 ผิด 6 ผิด 2 ถูก 7 ผิด 3 ผิด 8 ถูก 4 ถูก 9 ถูก 5 ถูก 10 ผิด ตอนที่ 3 1) นักเรียนคิดว่าการสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์ มีหลักสาคัญๆ ควรคานึงถึง จงอธิบาย( 5 คะแนน ) คาตอบ 1) ควรเลือกชุดการแสดงให้เหมาะสมกับโอกาสที่แสดง เช่น งานเฉลิมฉลองวันเกิดของบุคคล สาคัญ งานวันสถาปนาโรงเรียน ควรเลือกชุดการแสดงที่มีความหมายในการอานวยอวยพรความเป็นสิริมงคล แก่ผู้ที่มาร่วมงาน เช่น ราอวยพร ฟ้อนอวยพร ระบากฤดาภินิหาร ระบาเทพบันเทิง เป็นต้น หรือเป็นการแต่งบท ร้องทานองเพลงขึ้นใหม่ให้มีความหมายตรงตามวัตถุประสงค์ของการแสดง คาตอบ 2) จัดชุดการแสดงตรงตามที่ผู้จัดงานต้องการโดยคานึงถึงรูปแบบของงาน ขนาดพื้นที่ในการ แสดง ผู้แสดง เวลาที่ใช้ในการแสดง งบประมาณ เป็นต้น เพื่อที่สามารถจัดการแสดงได้เหมาะสมกับงานนั้นๆ ลีลา ท่าราที่ใช้ต้องมีความหมายตรงตามบทร้องและทานองเพลง หรือเรียงร้อยกระบวนท่าราที่วิจิตรงดงาม นาเสนอขั้นตอนของการแสดงชัดเจน มีการแปรแถว และตั้งซุ้มที่สวยงาม ผู้แสดงมีความสามารถในการร่ายรา เครื่องแต่งกายเหมาะสมกับรูปแบบของการแสดง ราอวยพร การแสดงนาฏศิลป์ สามารถนาลีลาท่าทางต่างๆ ที่เป็นท่าราที่สื่อความหมายตามหลักนาฏศิลป์ ท่าทางในชีวิตประจาวันมาสร้างสรรค์ออกมาเป็นชุดการแสดงที่ สวยงามต่างๆ หรือท่าราที่เลียนแบบท่าทางของสัตว์ ต่างๆแล้วนามาประดิษฐ์เป็นชุดการแสดง ตอนที่ 2 ( 10 คะแนน ) 1 ง 6 ข 2 ข 7 ข 3 ข 8 ค 4 ง 9 ก 5 ค 10 ง เฉลย แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
  • 28. 28 2) แนวคิดในการสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียน ให้นักเรียนเขียน แผนผังความคิด ( 5 คะแนน) แนวคิดในการสร้างสรรค์ชุดการแสดงประจาโรงเรียน สัญลักษณ์ประจาโรงเรียน วิถีชีวิต นาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่มาสร้างสรรค์เป็นชุดการแสดง ดอกไม้ ผลไม้ กระถาง ต้นไม้ เคี่ยว มัดข้าว แรงบันดาลใจ นามาเรียงร้อยเป็นบทร้อง ใส่ทานอง และประดิษฐ์ท่ารา นามาเรียงร้อยเป็นบทร้อง ใส่ทานอง และ ประดิษฐ์ท่ารา อาชีพของคนใน ชุมชนที่โรงเรียน การประกอบอาชีพ การทามาหากินของ คนในท้องถิ่น มีคุณค่าต่อ นักเรียนและ โรงเรียน ระบา เบญจศีล รูปปั้น อนุสาวรีย์ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประจา โรงเรียน นามาเรียงร้อยเป็นบทร้อง ใส่ทานอง และประดิษฐ์ท่ารา ต้องการส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรม ระบาไตรรัตน์ ระบาศิลปวัฒนธรรม เครื่องแต่งกาย จุดเด่นเฉพาะชิ้นแต่ ละชุดมีความ แตกต่างกัน ภาพรวมของ เครื่องแต่งกาย 3 สีของเครื่องแต่ง กาย จะเน้นมากใน ตัวละครที่เป็นตัว เอก วัสดุ จะเป็นส่วนเสริม ให้ตัวละครเด่นขึ้น
  • 29. 29 แบบทดสอบ ( ภาคปฏิบัติ ) ท้ายชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ใบคาสั่ง คาชี้แจง ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ( คะแนนเต็ม 20 คะแนน ) ใช้เวลา 1 ชั่วโมง ให้นักเรียนทุกคนทาตามคาสั่งต่อไปนี้ 1) ทาโครงงาน เรื่อง ชุดการแสดงประจาโรงเรียน 2) ฝึกการแต่งกายนาฏศิลป์ แบบประยุกต์ลงในสมุดวาดเขียน ตกแต่งให้สวยงาม
  • 30. 30 แบบประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมทักษะการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นของนักเรียนรายบุคคล คาชี้แจง สังเกตพฤติกรรมทักษะการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นของนักเรียนรายบุคคลแล้วทาเครื่องหมาย / ลงใน ช่องตามรายการต่อไปนี้ เลขที่ รายการประเมิน / ระดับคุณภาพ รวม ผลการ ประเมิน ปฏิบัติ ตาม ขั้นตอน มีความ สะอาด สวยงาม ให้ความ ร่วมมือ ในการ ทางาน มีความ ละเอียด รอบคอบ มีภาวะ ผู้นา กล้า แสดงออก 20 คะ 4 3 2 4 3 2 4 3 2 4 3 2 4 3 2 แนน ผ มผ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 ลงชื่อ ผู้บันทึก นางเย็นจิตร บุญศรี ตาแหน่งครูวิทยฐานะครูชานาญการ วันที่ 20 มกราคม 2558
  • 31. 31 คาอธิบายระดับคุณภาพและเกณฑ์การประเมิน / ระดับคะแนน รายการประเมิน/ เกณฑ์ คาอธิบายระดับคุณภาพและเกณฑ์การประเมิน / ระดับคะแนน 4 คะแนน มีพฤติกรรมทักษะ ปฏิบัติงานเหมาะสมดี 3 คะแนน มีพฤติกรรมทักษะ ปฏิบัติงานเหมาะสม 2 คะแนน มีพฤติกรรมทักษะ ปฏิบัติงานไม่เหมาะสม 1.ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติตาม ขั้นตอน ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงาน ตามขั้นตอนที่วางแผน ไว้ครบถ้วน ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงาน ตามขั้นตอนที่วางแผน เพียงเล็กน้อย ไม่ใฝ่เรียนรู้ปฏิบัติงาน ตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ 2.มีความรักในความ ไทย สนใจจดจ่อในเรื่องที่ กาลังปฏิบัติเป็นอย่างดี สนใจบ้างคุยเรื่องอื่น บ้างขณะที่กาลังปฏิบัติ ไม่สนใจจดจ่อในเรื่องที่ กาลังปฏิบัติ 3.ให้ความร่วมมือใน การทางาน สมาชิกทุกคนมีส่วน ร่วมในการทางานตาม หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย สมาชิกบางคนมีส่วน ร่วมในการทางานตาม หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย สมาชิกมีส่วนร่วมไม่มี ส่วนในการทางานตาม หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4.มีความละเอียด รอบคอบ มีทักษะกระบวนการ ทางานได้ถูกต้อง ครบถ้วน มีทักษะกระบวนการ ทางานบางส่วนถูกต้อง ครบถ้วน มีทักษะกระบวนการ ทางานไม่ถูกต้องไม่ ครบถ้วน 5.มีความมุ่งมั่นใน ภาวะผู้นากล้า แสดงออก มีทักษะการนาเสนอให้ สมาชิกสนใจฟังเป็น อย่างดี มีทักษะการนาเสนอ เล็กน้อยให้สมาชิก สนใจฟัง ไม่มีทักษะการนาเสนอ ให้สมาชิกสนใจฟังเลย ระดับคุณภาพ 4 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรทักษะปฏิบัติงานเหมาะสมดี 3 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานเหมาะสม 2 คะแนน หมายถึงมีพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานไม่เหมาะสม เกณฑ์การประเมินด้านพฤติกรรมทักษะปฏิบัติงานของนักเรียน ได้คะแนน 1-5 ระดับระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนต่ากว่าเกณฑ์ ได้คะแนน 6-10 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนพอใช้ ได้คะแนน 11-16 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนได้ค่อนข้างดี ได้คะแนน 17-20 ระดับทักษะปฏิบัติงาน / ผลงานนักเรียนดี เกณฑ์การประเมิน ได้คะแนน 1-10 ไม่ผ่านการประเมิน ได้คะแนน 11-20 ผ่านการประเมิน
  • 32. 32 ลงชื่อ ผู้บันทึก (........................................................) วันที่ แบบฝึกหัดชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 3 เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ผลการทดสอบวัดผลหลังเรียนรู้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เลขที่ ชื่อ ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ภาคปฏิบัติ รวม 10 คะแนน 10 คะแนน (20คะแนน) (40คะแนน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 รวม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ
  • 33. 33 บรรณานุกรม ดุษฎี มีป้อม . นิลวรรณ ถมังรักษ์สัตว์คู่มือการสอน เพื่อครูผู้สอน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.5 :วัฒนาพาณิชย์ ธิดารัตน์ ภักดีรักษ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ 4-6 : สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.5 : อักษรเจริญทัศน์ พนมพร ชินชนะ เอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน้า 5 – 10 สุมนมาลย์นิ่มเนติพันธ์ , สุมนรตี นิ่มเนติพันธ์ หนังสือรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.6 : อักษรเจริญทัศน์ อรวรรณ ขมวัฒนา , วีร์สุดา บุนนาค หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ม.4-6 : สถาบันพัฒนา คุณภาพ วิชาการ (พว.) จากัด
  • 34. 34 ประวัติผู้จัดทา ประวัติผู้วิจัย นางเย็นจิตร บุญศรี ตาแหน่งเลขที่ 27570-2(ถ) เกิดวันที่ 17 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2521 ณ บ้านเลขที่165 บ้านปักคุ้ม หมู่ 6 ตาบลท่าเกวียน อาเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว 27160 โทรศัพท์087- 8450868 สถานที่ทางาน ปัจจุบัน โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา หมู่ที่ 2 ตาบลคลองไทรเดี่ยว อาเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว 27060 โทรศัพท์037 - 261386 สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กระทรวงมหาดไทย ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา พ.ศ.2551 กศ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ.2545 วค.ป หลักสูตรรายวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ.2544 ศศ.บ.วิชาเอกนาฏศิลป์และการละคร สถาบันราชภัฏจันทรเกษม พ.ศ.2540 จบประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา พ.ศ.2538 จบประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนโพนทองวิทยายนจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2536 จบประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเมืองโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด
  • 35. 35 ประวัติการ ทางาน พ.ศ. 2540-2542 เป็นนักศึกษาช่วยงานคณะครุศาสตร์ ต่อมาช่วยงานศูนย์วิจัยและ พัฒนานโยบาย สถาบันราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543-2544 เป็นพนักงานโฮสเตส McDonald'sบริษัทแมคโดนัลด์ ประเทศ ไทย จากัด สาขาโรบินสันรัชดา และสาขา ฟอร์จูน พ.ศ. 2545 เป็นพนักงานpart - time บริษัทเลมอนฟาร์ม สาขาเพชรเกษม พ.ศ. 2545-2546 เป็นครูอัตราจ้าง โรงเรียนบ้านคลองลัดอ้อมใหญ่ จังหวัด นครปฐม พ.ศ. 2546- 2548 เป็นครูสังกัดเอกชน กลุ่มโรงเรียนโสมาภา สาขาโสมาภา 2 เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2548- 2552 บรรจุพนักงานครูเทศบาลเมืองตาก โรงเรียนรัตนวิทยานุสรณ์ (เทศบาล 4) ช่วยปฏิบัติราชการ โรงเรียนเทศบาลเพชรวิทย์ (เทศบาล 1 ) พ.ศ. 2552 โอนย้าย เป็นข้าราชการครูโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว ปัจจุบัน เป็นข้าราชการครูโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสระแก้ว ตาแหน่งครูวิทยฐานะชานาญการ ผลงานดีเด่น 2553 ได้รับคัดเลือกครูดีเด่น ระดับจังหวัด อบจ. สระแก้ว 2558 ได้รับคัดเลือกครูดีเด่น ระดับจังหวัด อบจ. สระแก้ว
  • 36. 36