SlideShare a Scribd company logo
1 of 88
Chapter_1
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Introduction
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ชุดคาสั่ง
ซอฟต์แวร์
องค์ประกอบของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่
ประกอบขึ้นด้วยระบบจัดเก็บและประมวลผล
ข้อมูลระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอุปกรณ์
สนับสุนการปฎิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการ
วางแผนการจัดการ และใช้งานร่วมกันอย่างมี
ประสิทธิภาพ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
ระบบประมวลผล การจัดการและการจัดเก็บ
การประมวลผลข้อมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
โดยใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สนับสนุนในการ
จัดการข้อมูล เพื่อให้การทางานถูกต้องและ
รวดเร็วขึ้น
องค์ประกอบของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เป็ นการจัดเก็บ
และประมวล ผลข้อมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
และผู้ใช้ที่อยู่ห่างกันให้สามารถสื่อสารกันได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การ
เรียกใช้ข้อมูลรวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการ
ใช้งานที่รวดเร็วจึงจัดเก็บในลักษณะของ
ฐานข้อมูล
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุป เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเทคโนโลยีทุก
รูปแบบที่นามาประยุกต์ในการประมวลผล การ
จัดเก็บ การสื่อสาร และการส่งผ่านสารสนเทศด้วย
ระบบอีเล็กทรอนิกส์ โดยที่ระบบกายภาพประกอบไป
ด้วย คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ติดต่อสื่อสารและระบบ
เครือข่าย เพื่อให้สามารถดาเนินงานร่วมกันได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์
ประกอบด้วย
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ซอฟต์แวร์ (Software)
บุคลากร (Peopleware)
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information)
กระบวนการทางาน (Procedures)
การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
คอมพิวเตอร์
หมายถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่ทางานประสานกัน
เพื่อให้เกิดการประมวลผล การจัดเก็บ และการ
เผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศซึ่งหมายรวมถึงตัว
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง
ฮาร์แวร์ (Hardware)
ฮาร์แวร์ภายในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็ น 5 หน่วย
หลักๆดังต่อไปนี้
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Units)
หน่วยความจาหลัก (Main memory)
หน่วยความจารอง (Secondary Storage)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ภายในคอมพิวเตอร์
หน่วยความจารอง
หน่วย
รับข้อมูล
หน่วย
แสดงผล
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยความจาหลัก
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU
เปรียบ เสมือน กับสมองของคอมพิว
เตอร์ทาหน้าที่ในการสั่งงานไปยัง
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆ ซึ่งวงจร
ภายใน ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2
ส่วนคือ 1.หน่วยควบคุม (Control
Unit: CU) 2.หน่วยคานวนทางตรรกะ
(Arithemetic Logical Unit: ALU)
หน่วยประมวลผลกลาง
CU ALU
หน่วยควบคุม Control Unit: CU
เป็ นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลาง ทา
หน้าที่ ในการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต่อกับ
คอมพิวเตอร์ รวมไปถึงโปรแกรมต่างๆ ที่จะเข้า
ไปทางานในหน่วยประมวลผลกลาง โดยจะมี
หน้าที่ 4 อย่างดังต่อไปนี้
หน่วยควบคุม Control Unit: CU
Fetch คือ การอ่านคาสั่งถัดไปในโปรแกรมจากหน่วย
ความจะหลัก
Decode คือ การแปลความหมายของคาสั่ง ว่าจะให้
คอมพิวเตอร์ทาอะไร
Execute คือ การทางานตามคาสั่งนั้น
Write-back คือ การเขียนผลลัพธ์กลับไปยังหน่วย
ความจะหลัก และวนกลับไปทาขั้นตอนแรก Fetch
จนกว่าคาสั่งจะหมด
หน่วยควบคุม Control Unit: CU
CPU
Memory
CU
ALU
Decode Execute
Fetch WriteBack
หน่วยดาเนินการทางตรรกะ
Arithmetic & Logic Unit: ALU
เป็ นอีกส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลาง ทาหน้าที่ใน
การคานวนทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร
และการเปรียบเทียบทางตรรกะ เช่น มากกว่า น้อยกว่า
เท่ากับ เป็ นต้น
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
หน่วยประมวลผลกลาง
แผงวงจรหลัก (Mainboard)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หน่วยประมวลผลกลาง
โมเดม (Modem)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
LAN Card
หน่วยประมวลผลกลาง
Sound Card
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
Power Supply
หน่วยประมวลผลกลาง
VGA
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
Power Supply
หน่วยความจาหลัก (Main
Memory)
หน่วยความจาหลัก เป็ นส่วนที่ทาหน้าที่
จัดเก็บข้อมูลหรือคาสั่ง ทั้งก่อนและหลัง
การประมวลผล
ดังนั้น ก่อนที่ CPU จะทาการประมวลผล
ข้อมูลและคาสั่ง จาเป็ น ต้องถูกจัดเก็บ
อยู่ในหน่วยความจาหลักก่อน
หน่วยความจาหลัก
หน่วยความจาหลัก (Main
Memory)
ประเภทของหน่วยความจาหลัก แบ่งออกเป็ น 2
ประเภทดังนี้
ROM (Read Only Memory) ใช้บันทึก
คาสั่งไว้ถาวร อ่านได้อย่างเดียว ไม่
สามารถแก้ไขได้ ไม่จาเป็ นต้องมี
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน (Non-Volatile)
หน่วยความจาหลัก (Main
Memory)
 RAM (Random Access Memory) ใช้บันทึก
ข้อมูล หรือคาสั่ง ในขณะที่เรากาลังทางาน
สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้ แต่
หน่วยความจาประเภทนี้ จาเป็ นต้องมี
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน (Volatile) ถ้าไม่มี
กระแสไฟฟ้ าแล้ว ก็จะไม่มีการจัดเก็บ หรือ
บันทึกข้อมูล
ความจุของหน่วยความจา
 1 Byte = 1 ตัวอักษร
 Kilobyte (KB) = 1024 Bytes
 Megabyte (MB) = 1024 Kilobytes
(1024*1024 Bytes)
 Gigabyte (GB) = 1024 Megabytes (1024*1024*1024
Bytes)
 Terabyte (TB) = 1024 Gigabytes
(1024*1024*1024*1024 Bytes)
หน่วยความจารอง (Secondary Storage)
หน่วยความจารองทาหน้าที่ ใน
การจัดเก็บข้อมูล หรือคาสั่งได้
เหมือนกับ หน่วยความจาหลักแม้ไม่
มีกระแส ไฟฟ้ า ไหลผ่านก็ตาม
หน่วยความจารอง
หน่วยความจารอง (Secondary Storage)
สามารถเก็บข้อมูลได้ แม้ปิ ด
คอมพิวเตอร์
มีความจุมากกว่าหน่วยความจาหลัก
มาก
ราคาต่อหน่วยถูกกว่า เช่น
HDD 320 GB ราคา ประมาณ
2,500 บาท
RAM 1 GB ราคา ประมาณ 700
หน่วยความจารอง
ฮาร์แวร์ (Hardware) ภายนอกคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่เราสามารถ มองเห็นได้จากภายนอก
สามารถแบ่งอุปกรณ์ เหล่านี้ได้ตามลักษณะการ
ใช้งาน ได้ 2 ประเภทดังนี้
1. หน่วยรับข้อมูล (Input)
2. หน่วยแสดงผล (Output)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ภายนอกคอมพิวเตอร์
หน่วยความจารอง
หน่วย
รับข้อมูล
หน่วย
แสดงผล
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยความจาหลัก
หน่วยรับข้อมูล (Input)
ทาหน้าที่ เป็ นส่วนรับข้อมูลจากผู้ใช้ใน
รูปแบบของสัญญาณ ข้อมูลแบบต่างๆ ไม่ว่าจะ
เป็ น คาสั่งที่เป็ น ตัวอักษร ภาพ เสียงฯลฯ
หน่วย
รับข้อมูล
หน่วยรับข้อมูล (Input)
ตัวอย่าง อุปกรณ์ ประเภทนี้ เช่น เมาส์
(Mouse), คีย์บอร์ด (Keyboard), กล่อง
ถ่ายวีดีโอ (Camera), สแกนเนอร์
(Scanner), จอยสติก (Joystick),
ไมโครโฟน (Microphone), ตัวอ่าน
บาร์โค้ด (Bar Code Reader) ฯลฯ
หน่วย
รับข้อมูล
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
ทาหน้าที่ ตรงข้ามกับส่วนรับข้อมูลกล่าว คือ
ส่งข้อมูลที่เป็ นสัญญาณดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์
ที่ประมวลผลแล้ว ไปแสดงผลให้ผู้ใช้ เป็ น
ตัวอักษร ภาพ หรือเสียง ฯลฯ
หน่วย
แสดงผล
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
ตัวอย่าง อุปกรณ์ ประเภทนี้ เช่น จอภาพ
(Monitor), เครื่องพิมพ์ (Printer), ลาโพง
(Speaker) ฯลฯ
หน่วย
แสดงผล
ประเภทของคอมพิวเตอร์
การจัดแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์
การแบ่งตามขนาด และความสามารถของหน่วย
ประมวลผลกลาง และอุปกรณ์เสริมรอบข้าง
การแบ่งตามลักษณะการประมวลผล
Super Computer
หมาย ถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถในการ
ประมวลผลสูงที่สุดโดยทั่วไป สร้างขึ้นเป็ นการเฉพาะเพื่องาน
ด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อน และ
ต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจัยขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศ
สหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ
เป็ นต้น
Mainframe Computer
ทางานร่วมกับอุปกรณ์หลาย ๆ อย่างด้วย
ความ เร็วสูงใช้ในงานธุรกิจขนาดใหญ่
มหาวิทยาลัยธนาคารและโรงพยาบาล สามารถ
เก็บข้อมูลที่มีปริมาณมาก ๆ เช่น ในการสั่งจอง
ที่นั่งของสายการบิน นอกจากนี้ยังสามารถ
เชื่อมโยงใช้งานกับเครื่องเทอร์มินัล (Terminal)
หลาย ๆ เครื่อง ในระยะทางไกลกันได้ เช่น
ระบบเอที่เอ็ม (ATM)
Mini Computer
สามารถใช้งานพร้อม ๆ กันได้หลายคน จึงมีเครื่อง
ปลายทางต่อได้ มินิคอมพิวเตอร์เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูง
กว่าสถานีงานวิศวกรรม นามาใช้สาหรับประมวลผลในงาน
สารสนเทศขององค์การขนาดกลาง จนถึงองค์การขนาดใหญ่ที่
มีการวางระบบเป็ นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกัน เช่น งานบัญชี
และการเงิน งานออกแบบทางวิศวกรรม งานควบคุมการผลิตใน
โรงงานอุตสาหกรรม
Personal Computer
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มีขนาดเล็กราคาถูก
เหมาะสาหรับใช้งานส่วนตัว จัดแบ่งออกเป็ น 4 กลุ่มย่อย
ดังต่อไปนี้
Workstation เป็ นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มี
ประสิทธิภาพสูง เหมาะใช้คานวนทางคณิตศาสตร์หรือ
วิศวกรรม
Personal Computer
 Desktop Computer เป็ นเครื่อง
คอมพิวเตอร์ พบได้ทั่วไปตามสานักงาน
หรือในห้องปฏิบัติการเพื่อการเรียนการ
สอน
Personal Computer
Laptop หรือ Notebooks มีความสามารถ
เท่ากับ Desktop Computer แต่มีขนาดเล็ก
เท่ากับกระเป๋ า หรือ สมุดโน้ต
Personal Computer
Handhelds หรือ Personal Digital
Assistants: PDA มีขนาดเท่าโทรศัพท์
พกพา สามารถป้ อนข้อมูลด้วย ปากา
คอมพิวเตอร์ (Stylus) หรือ นิ้วมือ
ซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ (System
Software)เกี่ยวข้องกับการควบคุมการทางานที่ใกล้ชิดกับอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์มากที่สุด
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
ระบบปฏิบัติการ (operating systems)
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility programs)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะด้านเท่านั้น
แบ่งออกตามเกณฑ์ที่ใช้แบ่งได้ดังนี้
แบ่งตามลักษณะการผลิต ได้ 2 ประเภทคือ
ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ
ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน ได้ 3 กลุ่มใหญ่คือ
แบบสาเร็จรูป (Package Software)
หาซื้อได้กับตัวแทนจาหน่ายซอฟต์แวร์ที่ได้รับการแต่งตั้ง
จากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง
นาไปติดตั้งเพื่อการใช้งานได้โดยทันที โดยมีบรรจุภัณฑ์และ
เอกสารคู่มือการใช้งานไว้แล้ว
อาจเข้าไปในเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิตเพื่อซื้อได้เช่นกัน
แบบว่าจ้าง (Custom Software)
เหมาะกับลักษณะงานที่เป็ นแบบเฉพาะ
จาเป็ นต้องผลิตขึ้นมาใช้เองหรือว่าจ้างให้ทา
อาจมีค่าใช้จ่ายที่แพงพอสมควร
แบบทดลองใช้ (Shareware)
ลูกค้าสามารถทดสอบการใช้งานของโปรแกรมก่อนได้ฟรี
ผู้ผลิตจะกาหนดระยะเวลาของการใช้งานหรือเงื่อนไขอื่น เช่น
ใช้ได้ภายใน 30 วัน หรือใช้ได้แต่ปรับลดคุณสมบัติบางอย่าง
ลง
อาจดาวน์โหลดได้จากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
แบบใช้งานฟรี (Freeware)
สามารถดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ตได้
ส่วนใหญ่จะเป็ นโปรแกรมขนาดเล็กและใช้เวลาเพียงไม่กี่
นาทีในการดาวน์โหลด
ให้ใช้งานได้ฟรีแต่ไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรือแก้ไข
เปลี่ยนแปลงได้
ลิขสิทธิ์เป็ นของบริษัทหรือทีมงานผู้ผลิต
แบบโอเพ่นซอร์ส
(Public Domain/Open Source)
Open Source = ซอฟต์แวร์ที่มีการเปิ ดให้แก้ไขปรับปรุงตัว
โปรแกรมต่างๆได้
นาเอาโค้ดโปรแกรมไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ได้ภายใต้
เงื่อนไขที่กาหนด
มีนักพัฒนาจากทั่วโลกช่วยกันเขียนโค้ดและนาไปแจกจ่าย
ต่อ
ประหยัดเงินและค่าใช้จ่าย
การพัฒนาโปรแกรมทาได้เร็วขึ้น
โปรแกรมอรรถประโยชน์
หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility Program)
ส่วนใหญ่จะมีขนาดของไฟล์ที่เล็กกว่าระบบปฏิบัติการ
มีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างหลากหลายหรือใช้งาน
ได้แบบอรรถประโยชน์
โปรแกรมอรรถประโยชน์
หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility Program)
นิยมเรียกสั้นๆว่า ยูทิลิตี้ (utility)
อาจแบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิดคือ
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs)
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs)
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ
(OS Utility Programs)
ประเภทการจัดการไฟล์
(File Manager)
มีหน้าที่หลักในการจัดการ
เกี่ยวกับไฟล์ต่างๆ เช่น
การคัดลอก การเปลี่ยน
ชื่ อ
การลบและการย้ายไฟล์
เป็ นต้น
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ
(OS Utility Programs)
ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม
(Uninstaller)
ลบหรือกาจัดโปรแกรมที่
ไม่ได้ใช้ออกไปจากระบบ
ทาให้พื้ นที่เก็บข้อมูลมี
เหลือเพิ่มมากขึ้น
ทางานได้อย่างง่ายดาย
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ
(OS Utility Programs)
ประเภทการสแกนดิสก์
(Disk Scanner)
สแกนหาข้อผิดพลาดต่างๆ
พร้อมทั้งหาทางแก้ปัญหาใน
ดิสก์
ประยุกต์ใช้เพื่อสแกนหาไฟล์ที่
ไ ม่ ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ ง า น
(unnecessary- files) เมื่อใช้
คอมพิวเตอร์ไประยะหนึ่งได้
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ
(OS Utility Programs)
ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บ
ข้อมูล (Disk Defragmenter)
ช่ ว ย ใ น ก า ร จั ด เ รี ย ง
ไฟล์ข้อมูลให้เป็ นระเบียบ
และเป็ นกลุ่มเป็ นก้อน
เ มื่ อ ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ ง า น
ไฟล์ข้อมูลในภายหลัง จะ
เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย และ
รวดเร็วกว่าเดิม
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ
(OS Utility Programs)
ประเภทรักษาหน้าจอ
(Screen- Saver)
ใช้ภาพเคลื่อนไหวไปมา และเลือก
ลวดลายหรือภาพได้ด้วยตนเอง
อาจพบเห็นกับการตั้งค่ารหัสผ่าน
ของโปรแกรมรักษาหน้าจอเอาไว้ได้
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs)
โปรแกรมป้ องกันไวรัส (Anti Virus- Program)
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs)
โปรแกรมบี บอัดไฟล์(FileCom-
pression Utility)
เป็ นโปรแกรมที่ทาหน้าที่บีบอัด
ไฟล์ให้มีขนาดที่เล็กลง
ไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์
บางครั้งนิยมเรียกว่า ซิปไฟล์ (zip
files)
ยูทิลิตี้ที่นิยมใช้และรู้จักกันเป็ น
อย่างดี เช่น WinRAR, WinZip
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิตได้เป็ น 2 ประเภท
ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเอง (proprietary software)
ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป (off-the-shelf software)
ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเอง (proprietary software)
เพราะหน่วยงานไม่สามารถหาซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพดีเพียงพอกับความต้องการได้
วิธีการพัฒนาอาจทาได้ 2 วิธีคือ
in-house developed สร้างและพัฒนาโดยหน่วยงานใน
บริษัทเอง
contract หรือ outsource เป็ นการจ้างบุคคลภายนอกให้
ทาขึ้นมา
ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป
(Off-the-shelf Software)
มีวางขายตามท้องตลาดทั่วไป (off-the-shelf) โดยบรรจุ
หีบห่ออย่างดีและสามารถนาไปติดตั้งและใช้งานได้ทันที
บางครั้งนิยมเรียกว่า โปรแกรมสาเร็จรูป
(package software)
อาจแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ
โปรแกรมเฉพาะ (customized package)
โปรแกรมมาตรฐาน (standard package)
โปรแกรมเฉพาะ (customized package)
เป็ นโปรแกรมที่อาจต้องขอให้ผู้ผลิตทาการเพิ่มเติม
คุณสมบัติบางอย่างลงไปเพียงเล็กน้อย
เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานแบบเฉพาะองค์กรมากขึ้น
บางครั้งนิ ยมเรียกว่าเป็ นซอฟต์แวร์ตามคาสั่ง
(tailormade- software)
โปรแกรมมาตรฐาน (standard package)
สามารถใช้ได้กับงานทั่วไป
มีคุณสมบัติที่เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
ใช้งานง่าย ศึกษาคู่มือและรายละเอียดการใช้เพียงเล็กน้อย
ไม่จาเป็ นต้องไปปรับปรุงหรือแก้ไขส่วนของโปรแกรม
เพิ่มเติม
เช่น กลุ่มโปรแกรมสาเร็จรูปทางด้าน Microsoft Office
ข้อดีของซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเอง
สามารถเพิ่มเงื่อนไขและความต้องการต่างๆได้ไม่จากัด
สามารถควบคุมให้เป็ นไปตามที่ต้องการได้ตลอดระยะเวลา
การพัฒนานั้น
ยืดหยุ่นการทางานได้ดีกว่า เมื่อข้อมูลใดๆมีการ
เปลี่ยนแปลง
ข้อเสียของซอฟต์แวร์ที่พัฒนา
เองใช้เวลาในการออกแบบและพัฒนานานมาก เพื่อให้ได้
คุณสมบัติตรงตามที่ต้องการ
ทีมงานถูกกดดัน เพราะจะถูกคาดหวังว่าต้องได้คุณสมบัติ
ตรงตามความต้องการทุกประการ
เสียเวลาดูแลและบารุงรักษาระบบนั้นๆตามมา
เสี่ยงต่อความผิดพลาดสูง อาจทาให้เกิดปัญหาขึ้นมาได้
ข้อดีของซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้
โดยทั่วไปซื้อได้ในราคาถูก เพราะนาออกมาจาหน่ายเป็ นจานวน
มาก
ความเสี่ยงในการใช้งานต่า และสามารถศึกษาคุณสมบัติ
และประสิทธิภาพของโปรแกรมได้โดยตรงจากคู่มือที่มีให้
โปรแกรมที่ได้มีคุณภาพดีกว่า เนื่องจากมีผู้ใช้หลายราย
ทดสอบและแจ้งแก้ไขปัญหาให้กับผู้ผลิตมาเป็ นอย่างดี
แล้ว
ข้อเสียของซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้
โดยทั่วไปคุณสมบัติบางอย่างเกินความจาเป็ นและต้องการ
คุณสมบัติบางอย่างอาจไม่มีให้ใช้
เมื่อต้องการเพิ่มคุณสมบัติต้องจ่ายเงินมากขึ้น แต่ในบาง
โปรแกรมก็ไม่สามารถทาได้
ไม่ยืดหยุ่น จึงไม่เหมาะสมกับงานที่จาเป็ นต้อง
ปรับเปลี่ยนหรือแก้ไขระบบอยู่บ่อยๆ
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มการใช้งานได้ 3 กลุ่มดังนี้
กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (business)
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิ กและมัลติมีเดีย
(graphic- and multimedia)
กลุ่มสาหรับการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
(web and communications)
ซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งานด้าน
ธุรกิจมุ่งเน้นให้ใช้งานเพื่อประโยชน์สาหรับงานทางด้านธุรกิจ
โดยเฉพาะ
ทาให้การทางานมีประสิทธิภาพดีขึ้ นมากกว่าการใช้
แรงงานคน
ตัวอย่างงาน เช่น ใช้สาหรับการจัดพิมพ์รายงานเอกสาร
นาเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัดหมายต่างๆ
ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word processing)
เป็ นกลุ่มของโปรแกรมที่ช่วยในการ
ประมวลผลคา
สามารถจัดการเอกสารต่างๆได้
เช่น ขนาดตัวอักษรใหญ่ เล็ก
รูปแบบตัวอักษร เป็ นต้น
นาเอารูปภาพมาผนวกเข้ากับ
เอกสารได้ (คลิปอาร์ตและ
ภาพถ่าย)
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft
Word, PDF
ซอฟต์แวร์ตารางคานวณ (Spreadsheet)
กลุ่มของซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการคานวณต่างๆ
นาเอา ตารางคานวณ (spreadsheet) มาใช้ในการทางาน
หน่วยที่เล็กที่สุดบริเวณทางานเรียกว่า เซล
นิยมใช้กับงานด้านบัญชีและรายการคานวณอื่น
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Excel ,Sun StarOffice Calc
ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database)
สร้างและรวบรวมข้อมูลต่างๆให้อยู่เป็ นระบบ
แก้ไขปรับปรุงรายการข้อมูลต่างๆ เช่น การเพิ่มข้อมูล การเปลี่ยน
แปลงข้อมูล การลบข้อมูล หรือการจัดเรียงข้อมูลให้เป็ นไปได้
โดยง่าย
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Access, Oracle, MySQL
ซอฟต์แวร์นาเสนองาน (Presentation)
ช่วยในเรื่องของการนาเสนองานเป็ นหลัก
ใส่ข้อมูลที่เป็ นตัวอักษร รูปภาพ ตลอดจนเสียงต่างๆ
การนาเสนองานบางครั้งนิยมเรียกว่า slide show
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft PowerPoint, Sun StarOffice
Impress
ซอฟต์แวร์สาหรับApple (ios)
เป็ นซอฟต์แวร์เฉพาะที่มีการใช้งานผลิตภัณฑ์ของ Apple
 อาจเป็ นซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า IOS (version 1,2,3,4,5,6)
ทางานร่วมกันกับผลิตภัณฑ์ของ Apple การถ่ายโอนข้อมูล
(synchronization)
นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ซอฟต์แวร์แบบกลุ่ม (Software Suite)
นาเอาซอฟต์แวร์หลายตัวมาจาหน่ายรวมกันเป็ นกลุ่มเดียว
ทาให้การทางานคล่องตัวและสะดวก เนื่องจากจัดกลุ่ม
ซอฟต์แวร์ที่ทางานใกล้เคียงกันไว้เป็ นกลุ่มเดียว
ราคาจาหน่ายถูกกว่าการเลือกซื้อซอฟต์แวร์แต่ละตัวมาใช้
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Office, Adobe CS
ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการโครงการ
(Project management)
ใช้กับการวิเคราะห์และวางแผนโครงการเป็ นหลัก
จัดการเกี่ยวกับกิจกรรมงาน (schedule) ติดตามงาน วิเคราะห์
และหาต้นทุนค่าใช้จ่ายต่างๆของโครงการได้ง่ายขึ้น
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Project
ซอฟต์แวร์สาหรับงานบัญชี (Accounting)
บันทึกข้อมูลและแสดงรายงานทางการเงินต่าง ๆ
ออกรายงานงบกาไรขาดทุน งบดุล รวมถึงรายงานซื้อ-ขายได้
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น easy acc
Intuit QuickBooks, Peachtree
ซอฟต์แวร์กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิก
และมัลติมีเดีย
ซอฟต์แวร์สาหรับงานออกแบบ
(CAD - Computer-aided design)
ช่วยสาหรับการออกแบบแผนผังการออกแบบ และตกแต่งบ้าน
รวมถึงการจัดองค์ประกอบอื่นๆ
เหมาะสาหรับงานด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม รวมถึงงานด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีบางประเภท
ซอฟต์แวร์สาหรับงานออกแบบ
(CAD - Computer-aided design)
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Autodesk AutoCAD, Microsoft Visio
Professional
ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างสื่อมัลติมีเดีย
(Multimedia authoring)
ซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บและการสื่อสาร
ซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บและการสื่อสาร
 Facetime
ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการอีเมล์
(Electronic mail Software)
กลุ่มของซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับการ ส่ง รับ ข้อความจดหมาย
สามารถตรวจรับจดหมายเข้า นอกจากนั้นยังแทรกรูปภาพหรือ
ไฟล์เพื่อส่งแนบไปกับจดหมายได้ ตัวอย่างโปรแกรมเช่น
Microsoft Outlook
ซอฟต์แวร์สาหรับถ่ายโอนไฟล์ (File Transfer)
นามาใช้ในการถ่ายโอนไฟล์ข้อมูล (file transfer)
บนอินเทอร์เน็ต
เหมาะสาหรับนักพัฒนาเว็บไซต์และผู้ดูแลเว็บไซต์เพื่อส่ง
ข้อมูลขึ้นไปเก็บไว้บนอินเทอร์เน็ต
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Cute_FTP, WS_FTP
ซอฟต์แวร์ประเภทส่งข้อความด่วน
(Instant Messaging)

More Related Content

What's hot

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Kainuy Supranee Thiabpo
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
Rijin7
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
fernnoon
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
Oh Aeey
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Achiraya Chomckam
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Arrat Krupeach
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
Rijin7
 

What's hot (17)

Computer
ComputerComputer
Computer
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Word3
Word3Word3
Word3
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
Basic1
Basic1Basic1
Basic1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
Pa'rig Prig
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Pa'rig Prig
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
Pa'rig Prig
 

Viewers also liked (20)

งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไขงานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
งานนำเสนอ2 หน่วยความจำ แก้ไข
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
 
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจบทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
 
บทที่ 3.1
บทที่ 3.1บทที่ 3.1
บทที่ 3.1
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 5.1
บทที่ 5.1บทที่ 5.1
บทที่ 5.1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
M
MM
M
 
ความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ldความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ld
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
 
ลักษณะ Ld
ลักษณะ Ldลักษณะ Ld
ลักษณะ Ld
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tukขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
 
บทที่ 4.1
บทที่ 4.1บทที่ 4.1
บทที่ 4.1
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
มคอ.3 ld
มคอ.3 ldมคอ.3 ld
มคอ.3 ld
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 

Similar to Chapter 1 information technology

ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐานความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
Anny Choosaeng
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
mod2may
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
soontornnamsain
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปิยะดนัย วิเคียน
 
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นอบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
bigman27skydrive
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
ajpeerawich
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
supatra2011
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
peter dontoom
 

Similar to Chapter 1 information technology (20)

ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐานความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นอบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
งานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกงานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมก
 
Information technology
Information technologyInformation technology
Information technology
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

More from Pa'rig Prig

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

Chapter 1 information technology