SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
โดย นางสาวภาวินี วีระนิติเวชสาร ม.5/5 เลขที่ 26
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
 เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทางานแทนมนุษย์ ในการ
จัดเก็บข้อมูล ทั้งในรูปแบบของเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ และนามา
ประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ จะแสดงผลออกมาในรูปของสารสนเทศ โดยใช้
ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมเป็นสิ่งกาหนดการทางาน
วงจรการทางานของคอมพิวเตอร์
 มี 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย
 1.รับข้อมูล (Input)
 2.ประมวลผล (Process)
 3.แสดงผล (Output)
 4.จัดเก็บข้อมูล (Storage)
รับข้อมูล (Input)
 คอมพิวเตอร์จะทาหน้าที่รับข้อมูลเพื่อนาไปประมวลผล อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่
นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้เเก่ เเป้ นพิมพ์ (Keyboard) และเมาส์ (mouse) เป็นต้น
ประมวลผล (Process)
 เมื่อคอมพิวเตอร์รับข้อมูลเข้าสู่ระบบเเล้ว จะทาการประมวลผลตามโปรแกรม
หรือคาสั่งที่กาหนด เช่น การคานวนภาษี การคานวนเกรดเฉลี่ย เป็นต้น
แสดงผล (Output)
 คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลไปยังหน่วย
แสดงผล อุปกรณ์ทาหน้าที่เเสดงผลที่ใช้แพร่หลายในปัจจุบัน ได้เเก่ จอภาพ
(Monitor) และ เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นต้น
จัดเก็บข้อมูล (Storage)
 คอมพิวเตอร์จะทาการจัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์เก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์
(Hard disk) แผ่นฟล็อปปี้ดิสก์
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
 การทางานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Eletronic Machine)
 ความเร็ว (Speed)
 ความถูกต้อง แม่นยา (Accuracy)
 ความน่าเชื่อถือ (Reliability)
 การจัดเก็บข้อมูลได้ปริมาณมาก (Storage Capability)
 การติดต่อสื่อสารเชื่อมโยงข้อมูล (Communication)
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 จาแนกออกได้เป็น 6 ประเภท ดังนี้
 1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
 2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
 3.มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
 4.ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
 5.คอมพิวเตอร์มือถือ (Hand-held personal Computer)
 6.คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embeded Computer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
 คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด ราคาแพง
โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการการ
ประมวลผลซับซ้อน และต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจัยขีปนาวุธ งาน
โครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณ์
อากาศ เป็นต้น
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
 คอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูงมาก แต่ยังต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถ
เก็บข้อมูลในปริมาณมาก นามาใช้งานที่มีปริมาณการใช้งานจากผู้ใช้จานวน
มาก (Multiuser) ในเวลาเดียวกันได้ เช่น ระบบงานธนาคาร เป็นต้น
มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
 คอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม คือทางานได้ช้ากว่า และ
ควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้น้อยกว่า อย่างไรก็ตามมินิคอมพิวเตอร์ ก็ราคา
ย่อมเยากว่าเมนเฟรม การใช้งานก็ไม่ต้องใช้บุคลากรมากนัก นอกจากนั้น ยัง
มีผู้ที่รู้วิธีใช้มากกว่าด้วย ใช้ตามสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาหลายแห่ง
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
 คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก แต่ก็มีประสิทธิภาพสูง นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน เรียกอีก
ชื่อหนึ่งว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer)
คอมพิวเตอร์มือถือ (Hand-held personal Computer)
 ปาล์มคอมพิวเตอร์ (palmtop computer) คอมพิวเตอร์พกพา เรียกอีกอย่างว่า
Personal Digital Assistants (PDA) ช่วยจัดเก็บข้อมูลส่วนในการจดบันทึก ใช้ใน
การคานวณ ใช้งานด้านอินเทอร์เน็ต ใช้เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ มีสไตลัสเป็น
อุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูลและเลือกเมนูบนจอภาพ
คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embeded Computer)
 คอมพิวเตอร์ที่ถูกฝังไปในอุปกรณ์ต่างๆ ทาให้มองไม่เห็นจากรูปลักษณ์ภายนอก
ว่าเป็นคอมพิวเตอร์นิยมใช้ในการทางานเฉพาะด้าน
โดยทาหน้าที่ควบคุมหน้าที่การทางานบางอย่าง เช่น เตาไมโครเวฟ
ระบบการเติมน้ามัน นาฬิกาข้อมือ อุปกรณ์การเล่นเกมส์ เป็นต้น
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
 2.ซอฟต์แวร์ (Software)
 3.บุคลากร (Peopleware)
 4.ข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information)
 5.กระบวนการทางาน (Procedure)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
 องค์ประกอบของตัวเครื่องที่สามารถจับต้องได้ เช่น วงจรไฟฟ้ า ตัวเครื่อง
จอภาพ เครื่องพิมพ์ คีย์บอร์ด เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ (Software)
 โปรแกรมหรือชุดคาสั่ง ที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางาน รวมไปถึงการควบคุมการ
ทางาน ของอุปกรณ์แวดล้อมต่างๆ เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้
การทางานของมันได้ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
 1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) โปรแกรมที่ใช้ในการควบคุมระบบการ
ทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด
 2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทาให้
คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ
บุคลากร (Peopleware)
 แบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ
 1.ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้
เป็นไปตามเป้ าหมายของหน่วยงาน
 2.นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และ
ทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับ
ระบบงาน
 3.โปรแกรมเมอร์ (Programmer)คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
 4.ผู้ใช้ (User)คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information)
 ข้อมูล (Data) ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือ
สัญลักษณ์ ต่างๆ ทาความหมายแทนสิ่งเหล่านั้น
 สารสนเทศ (Information) ข้อสรุปต่างๆ ที่ได้จากการนาข้อมูลมาทาการ
วิเคราะห์ หรือผ่านวิธีการที่ ได้กาหนดขึ้น ทั้งนี้เพื่อนาข้อสรุปไปใช้งานหรือ
อ้างอิง
กระบวนการทางาน (Procedure)
 ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
 1.ระเบียบปฏิบัติการ
 2.คู่มือ (Manual)
 3.มาตรฐาน (Standard)
การนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ
 บันเทิง ไม่ว่าจะเป็นดูหนัง ฟังเพลง เล่มเกม ฯลฯ รวมไปถึงความบันเทิงใน
เชิงธุรกิจที่มุ่งหวังที่จะนาเสนอเป็นสินค้าและบริการ เช่น เคเบิลทีวี ฯลฯ
 ธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้
คอมพิวเตอร์ในการทาบัญชี งานประมวลคา และติดต่อกับหน่วยงาน
ภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม
การนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ
 การออกแบบ สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ
หรือ จาลองสภาวการณ์ ต่างๆ
 อุตสาหกรรม การจัดทาระบบข้อมูลเพื่อการเกษตรและพยากรณ์ผลผลิตด้าน
การเกษตร นอกจากนี้ยังช่วยพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรม
การนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ
 การแพทย์ สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ในส่วนของการคานวณที่
ค่อนข้างซับซ้อน เช่น เป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะให้ผลที่
แม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเร็วขึ้น
 การศึกษา ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซึ่งมีการนา
คอมพิวเตอร์มาช่วยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียน
ซึ่งทาให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน
ขอบคุณที่รับชมค่ะ

More Related Content

What's hot

Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพJakarin Damrak
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศhs8zlb
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศArm'Physics Sonsern-Srichai
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSupanut Boonlert
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 

What's hot (20)

Computer
ComputerComputer
Computer
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

Similar to เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างsrilakorn
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์Jintana Pandoung
 
งานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกงานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกphatcharaphon srikaew
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Oh Aeey
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์jzturbo
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์สมประสงค์ แก้วระดี
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
องค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศองค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศduangnapa27
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์MissOi1109
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyPa'rig Prig
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 

Similar to เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (20)

Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่าง
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
งานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกงานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมก
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศองค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศ
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
Work3-04
Work3-04Work3-04
Work3-04
 
Word3
Word3Word3
Word3
 
Word3 24
Word3 24Word3 24
Word3 24
 
Word3 24
Word3 24Word3 24
Word3 24
 
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
 

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์