SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Basic Concepts of Computer and Information
Technology
ส่วนประกอบทางกายภาพของคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ใน
ชีวิตประจำาวันและงานด้านต่างๆ เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคม
Basic physical make-up of a personal computer,
computer and information network, computer applications
in everyday life, information technology and society.
เนื้อหาความรู้ในโมดูลที่ 1
1. บทนำา
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชนิดของคอมพิวเตอร์
การทำางานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
2. ฮาร์ดแวร์ Hardware
หน่วยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit)
อุปกรณ์นำาเข้า (Input devices)
อุปกรณ์แสดงผล (Output devices)
3. หน่วยความจำา Memory
หน่วยความจำารอม (ROM) และ (RAM)
DRAM (ดีแรม) และ SDRAM (เอสดีแรม) SIMM (ซิม)
หน่วยความจำาเสมือน (Virtual Memory)
หน่วยความจำาแคช (Memory Cache) และ บัส (Bus)
หน่วยข้อมูลสำารอง
4. ซอร์ฟแวร์ Software
ชนิดของ Software
5. คอมพิวเตอร์กับชีวิตประจำาวันและงานด้านต่าง ๆ
คอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา
คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม
คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์
คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
คอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร
คอมพิวเตอร์ในร้านค้าปลีก
คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์
คอมพิวเตอร์ในการคมนาคม และการสื่อสาร
คอมพิวเตอร์ในงานด้านอุตสาหกรรม
คอมพิวเตอร์ในวงราชการ
6. เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคม
การเปลี่ยนแปลงของโลก
ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว
ทรัพย์สินทางปัญญา
1. บทนำา
ในสภาวะการณ์ปัจจุบัน คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศมี
บทบาทต่อการทำางานเป็นอย่างมาก ในบทเรียนนี้จะกล่าวถึงความหมาย
ชนิด การทำางาน ของคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศกับการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม
1.1 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในบทนี้จะกล่าวถึง ความหมายของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศ ประโยชน์ที่มนุษย์นำามาใช้ด้านต่างๆ
1.1.1 ความหมายของของพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำางานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
สามารถจำาข้อมูลและคำาสั่งได้ ทำาให้สามารถทำางานไปได้โดยอัตโนมัติ
ด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้ประโยชน์ในการคำานวณหรือการทำางาน
ต่างๆได้เกือบทุกชนิด คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการคำานวณ
และประมวลผลข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยคุณสมบัติ 3 ประการ คือ
ความเร็ว (Speed) เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางานด้วยความเร็วสูงมาก
หน่วยความเร็วของการทำางานของคอมพิวเตอร์วัดเป็น
- มิลลิเซกัน (Millisacond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000
วินาที
- ไมโครเซกัน (Microsecond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ
1/1,000,000 วินาที
- นาโนเซกัน (Nanosacond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ
1/1,000,000,000 วินาที
2
หน่วยความจำา (Memory) เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยหน่วย
ความจำา สามารถใช้บันทึกและเก็บข้อมูลได้คราวละมากๆ สามารถเก็บคำา
สั่งต่อๆ กันที่เราเรียกว่า โปรแกรม และนำามาประมวลในคราวเดียวกัน
ซึ่งเป็นปัจจัยทำาให้คอมพิวเตอร์สามารถทำางานเก็บข้อมูลได้คราวละมากๆ
และสามารถประมวลผลได้เร็วและถูกต้อง
ความสามารถในการเปรียบเทียบ (Logical) เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบ
ด้วยหน่วยคำานวณและตรรกะ นอกจากจะมีความสามารถในการคำานวณ
แล้วยังมีความสามารถในการเปรียบเทียบ ความสามารถนี้เองที่ทำาให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างกับเครื่องคิดเลข และคุณสมบัตินี้ที่ทำาให้นัก
คอมพิวเตอร์สร้างโปรแกรมอัตโนมัติขึ้นใช้อย่างกว้างขวาง คอมพิวเตอร์
ยังมีความแม่นยำาในการคำานวณ มีความเที่ยงตรงแม้จะทำางานเหมือนเดิม
ซำ้ากันหลายรอบ และสามารถติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ อีก
ด้วย
3
1.1.2 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
การใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์กระจายไปอยู่ในทุกวงการ
- ด้านธุรกิจ ได้แก่การนำาคอมพิวเตอร์มาประมวลงานด้านธุรกิจ
- ด้านการธนาคาร ปัจจุบันทุกธนาคารจะนำาระบบคอมพิวเตอร์มา
ใช้งานในองค์กรของตนเพื่อให้บริการลูกค้า
- ด้านตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์เป็นศูนย์กลางการซื้อขาย
หลักทรัพย์ จะมีข้อมูลจำานวนมากและต้องการความรวดเร็วในการปฏิบัติ
งาน
- ธุรกิจโรงแรม ระบบคอมพิวเตอร์สามารถใช้ในการบริหาร
โรงแรม การจองห้องพัก การติดตั้งระบบ Online ตามแผนกต่างๆ
- การแพทย์ มีการนำาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างกว้างขวาง เช่น
ทะเบียนประวัติคนไข้,ระบบข้อมูลการให้ภูมิคุ้มกันโรค,สถิติด้านการ
แพทย์,ด้านการบัญชี
- วงการศึกษา การนำาคอมพิวเตอร์มาใช้กับสถาบันการศึกษาจะมี
ระบบงานที่เกี่ยวกับ การเรียนการสอน การวิจัย การบริหาร
- ด้านอุตสาหกรรมทั่วไป
- ด้านธุรกิจสายการบิน สายการบินต่างๆทั่วโลกได้นำาเอา
คอมพิวเตอร์มาใช้งานอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะงานการสำารองที่นั่งและ
เที่ยวบิน
- ด้านการบันเทิง เช่น วงการภาพยนตร์ การดนตรี เต้นรำา
1.1.3 ความหมายและความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มาจากคำาภาษาอังกฤษว่า Information
Technology และมีผู้นิยมเรียกทับศัพท์ย่อว่า IT สุชาดา กีระนันท์ (2541)
ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีทุกด้านที่เข้า
ร่วมกัน ในกระบวนการจัดเก็บสร้าง และสื่อสารสนเทศ ครรชิต มาลัยวงศ์
(2539) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วยเทคโนโลยีที่สำาคัญ
สองสาขาคือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
โดยทั่วไปแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศจะครอบคลุมถึงเทคโนโลยีต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการบันทึก จัดเก็บ ประมวลผลสืบค้น ส่งและรับข้อมูลในรูปของ
4
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวมถึงเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์จัดเก็บ บันทึกและค้นคืน เครือข่ายสื่อสาร ข้อมูล อุปกรณ์สื่อสาร
และโทรคมนาคม รวมทั้งระบบที่ควบคุมการทำางานของอุปกรณ์เหล่านี้
ครรชิต มาลัยวงศ์ (2541) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำาคัญ
ดังนี้
1. สามารถจัดเก็บข้อมูลจากจุดเกิดได้อย่างรวดเร็ว
2. สามารถบันทึกข้อมูลจำานวนมากๆไว้ใช้งานหรือไว้อ้างอิง
การดำาเนินงานหรือการตัดสินใจใดๆ
3. สามารถคำานวณผลลัพธ์ต่างๆได้รวดเร็ว
4. สามารถสร้างผลลัพธ์ได้หลากหลายรูปแบบ
5. สามารถส่งสารสนเทศ ข้อมูล หรือผลลัพธ์ที่ได้จากที่หนึ่ง
ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว
1.2 ชนิดของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ โดยใช้ความ
แตกต่างจากขนาดของเครื่อง ความเร็วในการประมวลผล รวมทั้งราคา
เป็นหลัก ซึ่งแบ่งได้เป็นดังนี้ คือ
1.2.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ Super Computer
เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ โดยใช้ความ
แตกต่างจากขนาดของเครื่อง
ความเร็วในการประมวลผล รวมทั้งราคาเป็นหลัก ซึ่งแบ่งได้เป็นดังนี้ คือ
หมายถึง คอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ที่มีสมรรถนะสูง มีความเร็วใน
การทำางาน และประสิทธิ
ภาพสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ มีราคาแพงมาก มี
ขนาดใหญ่ สามารถคำานวณทางคณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อ
5
วินาที และได้รับการออกแบบเพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากได้อย่าง
รวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน งานควบคุม
ขีปนาวุธ งานควบคุมทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ งาน
ด้านวิทยาศาสตร์เคมี งานทำาแบบจำาลองโมเลกุลของสารเคมี งานด้าน
วิศวกรรมการออกแบบ งานวิเคราะห์โครงสร้างอาคารที่ซับซ้อน ซึ่งหาก
ใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลาใน
การคำานวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถ
แก้ไขปัญหาได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจำาที่ใหญ่มากๆ สามารถทำางานหลาย
อย่างได้พร้อมๆ กัน โดยที่งานเหล่านั้นอาจจะเป็นงานที่แตกต่างกัน อาจ
จะเป็นงานใหญ่ที่ถูกแบ่งย่อยไปให้หน่วยประมวลผลแต่ละตัวทำางานก็ได้
และยังใช้โครงสร้างการคำานวณแบบขนานที่เรียกว่า เอ็มพีพี
(Massively Parallel Processing : MPP) ซึ่งเป็นการคำานวณที่กระทำา
กับข้อมูลหลายๆ ตัวหรือหลายๆ งานในเวลาเดียวกันได้พร้อมๆ กันเป็น
จำานวนมาก ทำาให้มีความสามารถในการทำางานแบบมัลติโปรเซสซิง
(Multiprocessing) หรือความสามารถในการทำางานหลายงานพร้อมๆ
กันได้ ดังนั้น จึงมีผู้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (High
Performance Computer)
ความเร็วในการคำานวณของซูเปอร์คอมพิวเตอร์จะมีการวัดหน่วย
เป็น นาโนวินาที (nanosecond) หรือเศษหนึ่งส่วนพันล้านวินาที และ
กิกะฟลอป (gigaflop) หรือการคำานวณหนึ่งพันล้านครั้งในหนึ่งวินาที
ปัจจุบันประเทศไทย มีเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์ Cray YMP ใช้ในงาน
วิจัย อยู่ที่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์สมรรถภาพสูง (HPCC) ศูนย์
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ผู้ใช้เป็นนักวิจัยด้าน
วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ทั่วประเทศ
6
1.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ Mainframe Computer
หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีสมรรถะสูง แต่ยังตำ่ากว่าซู
เปอร์คอมพิวเตอร์ มีความเร็วสูงมาก มีหน่วยความจำาขนาดมหึมา
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้จำานวนหลายร้อยคน ที่ใช้
โปรแกรมที่แตกต่างกันนับร้อยพร้อมๆ กันได้ เหมาะกับการใช้งานทั้งใน
ด้านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวข้องกับ
ข้อมูลจำานวนมากๆ
เครื่องเมนเฟรมได้รับการพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยพร้อมๆ
กันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่จะมีจำานวนหน่วยประมวลที่น้อย
กว่า และเครื่องเมนเฟรมจะวัดความเร็วอยู่ในหน่วยของ เมกะฟลอป
(Megaflop) หรือการคำานวณหนึ่งล้านครั้งในหนึ่งวินาที
ข้อเด่นของการใช้เมนเฟรมจึงอยู่ที่งานที่ต้องการให้มีระบบ
ศูนย์กลาง และกระจายการใช้งานไปเป็นจำานวนมากเช่น ระบบเอทีเอ็ม
ซึ่งเชื่อมต่อกับฐาน เครื่องเมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผู้ใช้เหล่านั้นไว้
ในหน่วยความจำาหลัก และมีการสับเปลี่ยนหรือสวิทช์การทำางานระหว่าง
7
โปรแกรมต่างๆ เหล่านั้นอย่างรวดเร็ว โดยที่ผู้ใช้จะไม่รู้สึกเลยว่าเครื่อง
เมนเฟรมที่ใช้ มีการสับเปลี่ยนการทำางานไปทำางานของผู้ใช้คนอื่นๆ อยู่
ตลอดเวลา หลักการที่เครื่องเมนเฟรมสามารถทำางานหลายโปรแกรม
พร้อมๆ กันนั้นเรียกว่า มัลติโปรแกรม-มิง (Multiprogramming)
1.2.3 มินิคอมพิวเตอร์
หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง มีสมรรถนะตำ่ากว่าเครื่อง
เมนเฟรม แต่สูงกว่าเวิร์คสเตชัน จุดเด่นที่สำาคัญ คือ ราคาย่อมเยากว่า
เมนเฟรม และการใช้งานใช้บุคลากรไม่มากนักมินิคอมพิวเตอร์เริ่มพัฒนา
ขึ้นใน ค.ศ. 1960 ต่อมาบริษัท Digital Equipment Corporation
หรือ DEC ได้ ประกาศตัวมินิ คอมพิวเตอร์ DEC PDP-8
(Programmed Data Processor) ในปี ค.ศ.1965
ซึ่งได้รับความนิยมจากบริษัทหรือองค์กรที่มีขนาดกลาง เพราะมี
ราคาถูกกว่าเครื่องเมนเฟรมมากเครื่องมินิ คอมพิวเตอร์ใช้หลักการของ
มัลติโปรแกรมมิงเช่นเดียวกับเครื่องเมนเฟรม โดยจะสามารถรองรับผู้
ใช้ได้นับร้อยคนพร้อมๆกัน แต่เครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะทำางานได้ช้ากว่า
การควบคุมผู้ใช้งานต่างๆ ทำาน้อยกว่า สื่อที่เก็บข้อมูลมีความจุไม่สูงเท่า
เมนเฟรม
8
การทำางานบนเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้จะสามารถ
ควบคุมการรับข้อมูลและดูการแสดงผลบนจอภาพได้เท่านั้น ไม่สามารถ
ควบคุมอุปกรณ์รอบข้างอื่นๆ ได้ แต่การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ชนิดที่มีผู้
ใช้คนเดียวนั้น ผู้ใช้สามารถควบคุมอุปกรณ์รอบข้างต่างๆ ได้ทั้งหมด ไม่
ว่าจะเป็นหน่วยรับข้อมูลหน่วยประมวลผล หน่วย แสดงผล ตลอดจน
หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง สามารถเลือกใช้โปรแกรมได้ โดยไม่ต้องกังวลว่า
จะต้องไปแย่งเวลาการเรียกใช้ข้อมูลกับผู้ใช้อื่น
9
1.2.4 เวิร์คสเตชั่น และไมโครคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์สำาหรับผู้ใช้คนเดียว สามารถแบ่งออกเป็นสองรุ่น
คือ เวิร์คสเตชัน หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ถูกออกแบบมาให้เป็น
คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ สามารถทำางานพร้อมกันได้หลายงาน และ
ประมวลผลเร็วมาก มีความสามารถในการคำานวณด้านวิศวกรรม
สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นการแสดงผลด้านกราฟิก เช่น นำามา
ช่วยในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อออกแบบชิ้นส่วน เป็นต้น ซึ่งจากการที่
ต้องทำางานกราฟิกที่มีความละเอียดสูง ทำาให้เวิร์คสเตชันใช้หน่วย
ประมวลผลที่มีประสิทธิภาพมาก รวมทั้งมีหน่วยเก็บข้อมูลสำารองจำานวน
มากด้วย เวิร์คสเตชันส่วนมากใช้ชิปประเภท RISC (Reduce
instruction set computer) ซึ่งเป็นชิปที่ลดจำานวนคำาสั่งที่สามารถใช้
สั่งงานให้เหลือเฉพาะที่จำาเป็น เพื่อให้สามารถทำางานได้ด้วยความเร็วสูง
10
ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก และใช้งาน
คนเดียว เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal
Computer) จัดว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทั้งระบบใช้งานครั้ง
ละคนเดียว หรือใช้งานในลักษณะเครือข่าย แบ่งได้หลายลักษณะตาม
ขนาด เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบตั้งโต๊ะ (Personal
Computer) หรือแบบพกพา (Portable Computer)
1.3 การทำางานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อช่วยให้
ทำางานได้เร็ว สะดวก และแม่นยำามากขึ้น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้
ทำางานอย่างได้มีประสิทธิภาพ จึงต้องเรียนรู้ และเข้าใจ ส่วนประกอบ วิธี
การทำางานของ คอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนสำาคัญคือ
ขั้นตอนที่ 1 การรับข้อมูลและคำาสั่ง คอมพิวเตอร์รับข้อมูลและคำา
สั่งผ่านอุปกรณ์นำาเข้าข้อมูล คือ เมาส์ คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ ไมโครโฟน
ฯลฯ
ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลหรือคิดคำานวณ ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์
รับเข้ามา จะถูกประมวลผลโดยการทำางานของหน่วยประมวลผลกลาง
(CPU: Central Processing Unit) ตามคำาสั่งของโปรแกรม หรือ
ซอฟต์แวร์ การประมวลผลข้อมูล เช่น นำาข้อมูลมาบวก ลบ คูณ หาร
ทำาการเรียงลำาดับข้อมูล นำาข้อมูลมาจัดกลุ่ม นำาข้อมูลมาหาผลรวม
เป็นต้น
ขั้นตอนที่ 3 การแสดงผลลัพธ์ คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ของ
ข้อมูลที่ป้อน หรือแสดงผลจากการประมวลผล ทางจอภาพ (Monitor)
เครื่องพิมพ์ (Printer) หรือลำาโพง
ขั้นตอนที่ 4 การเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์จะทำาการเก็บผลลัพธ์จาก
การประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึกข้อมูล
(Floppy disk) ซีดีรอม เพื่อให้สามารถนำามาใช้ใหม่ได้ในอนาคต
1.3 การทำางานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อช่วยให้
ทำางานได้เร็ว สะดวก และแม่นยำามากขึ้น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้
ทำางานอย่างได้มีประสิทธิภาพ จึงต้องเรียนรู้ และเข้าใจ ส่วนประกอบ วิธี
การทำางานของ คอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนสำาคัญคือ
ขั้นตอนที่ 1 การรับข้อมูลและคำาสั่ง คอมพิวเตอร์รับข้อมูลและคำา
สั่งผ่านอุปกรณ์นำาเข้าข้อมูล คือ เมาส์ คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ ไมโครโฟน
ฯลฯ
ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลหรือคิดคำานวณ ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์
รับเข้ามา จะถูกประมวลผลโดยการทำางานของหน่วยประมวลผลกลาง
(CPU: Central Processing Unit) ตามคำาสั่งของโปรแกรม หรือ
ซอฟต์แวร์ การประมวลผลข้อมูล เช่น นำาข้อมูลมาบวก ลบ คูณ หาร
11
ทำำกำรเรียงลำำดับข้อมูล นำำข้อมูลมำจัดกลุ่ม นำำข้อมูลมำหำผลรวม
เป็นต้น
ขั้นตอนที่ 3 กำรแสดงผลลัพธ์ คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ของ
ข้อมูลที่ป้อน หรือแสดงผลจำกกำรประมวลผล ทำงจอภำพ (Monitor)
เครื่องพิมพ์ (Printer) หรือลำำโพง
ขั้นตอนที่ 4 กำรเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์จะทำำกำรเก็บผลลัพธ์จำก
กำรประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล เช่น ฮำร์ดดิสก์ แผ่นบันทึกข้อมูล
(Floppy disk) ซีดีรอม เพื่อให้สำมำรถนำำมำใช้ใหม่ได้ในอนำคต
1.4.1 จอภำพ (Monitor)
อำจเรียกทับศัพท์ว่ำ มอนิเตอร์ (Monitor), สกรีน (Screen),
ดิสเพลย์ (Display) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลทั้งข้อควำม ภำพนิ่ง และภำพ
เคลื่อนไหว จอภำพในปัจจุบันส่วนมำกใช้จอแบบหลอดภำพ (CRT หรือ
Cathode Ray Tube) เหมือนจอภำพของเครื่องรับโทรทัศน์ และจอแบบ
ผลึกเหลว (LCD หรือ Liquid Crystal Display) มีลักษณะเป็นจอแบน
1.4.2 ตัวเครื่อง (Computer Case)
เป็นส่วนที่เก็บอุปกรณ์หลักของคอมพิวเตอร์ เช่น CPU, Disk Drive,
Hard Disk ฯลฯ
1.4.3. คีย์บอร์ด (Keyboard)
12
หรือแป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้พิมพ์คำำสั่ง หรือป้อนข้อมูล
เข้ำสู่คอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ดมีลักษณะคล้ำยแป้นพิมพ์ดีด แต่จะมีปุ่มพิมพ์
มำกกว่ำ
1.4.4 เมำส์ (Mouse)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรชี้ตำำแหน่งต่ำงๆบนจอภำพ ซึ่งจะ
เป็นกำรสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำำงำน เช่นเดียวกับกำรป้อนคำำสั่งทำงคีย์บอร์ด
เมื่อเลื่อนเมำส์ไปมำจะทำำให้เครื่องหมำยชี้ตำำแหน่งบนจอภำพ (Cusor)
เลื่อนไปในทิศทำงเดียวกันกับที่เลื่อนเมำส์นั้น
1.4.5 เครื่องพิมพ์ (Printer)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลข้อมูลออกมำทำงกระดำษ เครื่องพิมพ์มี
หลำยแบบ เช่น เครื่องพิมพ์จุด (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพ์เลเซอร์
(Laser Printer) และเครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Inkjet Printer) เป็นต้น
1.4.6 สแกนเนอร์ (Scanner)
13
เป็นอุปกรณ์นำำเข้ำข้อมูล โดยเอำรูปภำพหรือข้อควำมมำส
แกน แล้วจัดเก็บไว้เป็นไฟล์ภำพ เพื่อนำำไปใช้งำนต่อไป เครื่องสแกนมีทั้ง
ชนิด อ่ำนได้เฉพำะภำพขำวดำำ และชนิดอ่ำนภำพสีได้ นอกจำกนี้ยังมีชนิด
มือถือ
1.4.7 โมเด็ม (Modem)
เป็นอุปกรณ์ที่ทำำหน้ำที่แปลงสัญญำณคอมพิวเตอร์ให้
สำมำรถส่งไปตำมสำยโทรศัพท์ได้ และแปลงข้อมูลจำกสำยโทรศัพท์ให้เป็น
สัญญำณที่คอมพิวเตอร์สำมำรถรับรู้ได้
2. ฮำร์ดแวร์
คอมพิวเตอร์ฮำร์ดแวร์์ หมำยถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
รอบข้ำงที่เกี่ยวข้องต่ำงๆ ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่สำำคัญคือ หน่วยประมวล
ผลกลำง หน่วยควำมจำำหลัก หน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล และหน่วย
เก็บข้อมูลสำำรอง
2.1 หน่วยประมวลผลกลำง (CPU: Central Processing Unit)
หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit – CPU) หรืออำจ
เรียกว่ำ ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) หรือชิป (Chip) เป็น
หัวใจของคอมพิวเตอร์ ทำำหน้ำที่ในกำรคิดคำำนวณ ประมวลผล และควบคุม
กำรทำำงำนของอุปกรณ์อื่นในระบบ ลักษณะของซีพียูจะเป็นชิ้นส่วนขนำด
เล็กมำก ภำยในประกอบด้วยทรำนซิสเตอร์ประกอบกันเป็นวงจรหลำยล้ำน
14
ตัว ตัวอย่ำงเช่น ซีพียูรุ่นเพนเทียมจะมีทรำนซิสเตอร์เล็กๆจำำนวนมำกถึง
3.1 ล้ำนตัว
ซีพียูมีหน่วยที่ใช้ในกำรบอกขนำดเรียกว่ำ บิต (Bit) ถ้ำจำำนวนบิต
มำกจะสำมำรถทำำงำนได้เร็วมำกควำมเร็วของซีพียู (Speed) มีหน่วยวัด
เป็น เมกะเฮริตซ์ (MHz = MegaHertz) ถ้ำค่ำตัวเลขยิ่งสูงแสดงว่ำยิ่งมี
ควำมเร็วมำก ปัจจุบันควำมเร็วของซีพียูสำมำรถทำำงำนได้ถึงระดับกิกะเฮ
ริตซ์ (GHz = Gigahertz) โดยมีควำมเร็วระหว่ำง 2-3 GHz ในกำร
เลือกใช้ซีพียู ผู้จำำหน่ำยจะบอกไว้ว่ำเครื่องรุ่นนี้มีควำมเร็วเท่ำใด เช่น
Pentium IV 2.8 GHz หมำยควำมว่ำ CPU รุ่นเพนเทียม IV มีควำมเร็ว
2.8 กิกะเฮิรตซ์
2.1.1 องค์ประกอบของหน่วยประมวลผลกลำง
หน่วยประมวลผลกลำง "ไมโครโปรเซสเซอร์" (Microprocessor)
ประกอบด้วยหน่วยสำำคัญสองหน่วย คือ หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำำ
หน้ำที่ควบคุมกำรทำำงำนของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ เปรียบเสมือนเป็น
ศูนย์กลำงระบบประสำท ที่ทำำหน้ำที่ควบคุมกำรทำำงำนของส่วนประกอบ
ต่ำงๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะรับรู้คำำสั่งต่ำงๆ ในรูปของคำำสั่งภำษำ
เครื่องเท่ำนั้น
หน่วยคำำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit)
หรือที่เรียกสั้นๆว่ำ เอแอลยู (ALU)ทำำหน้ำที่ประมวลผลกำรคำำนวณทำง
คณิตศำสตร์ ตลอดจนกำรเปรียบเทียบทำงตรรกะทั้งหมด
15
กำรทำำงำนในซีพียูมี รีจิสเตอร์ (Register) คอยทำำหน้ำที่เก็บและ
ถ่ำยทอดข้อมูลหรือคำำสั่งที่ถูกนำำเข้ำมำปฏิบัติกำรภำยในซีพียู รวมทั้งมี
บัส (Bus) เป็นเส้นทำงในกำรส่งผ่ำนสัญญำณไฟฟ้ำของหน่วยต่ำงๆ
ภำยในระบบ
2.2 อุปกรณ์นำำเข้ำ (Input devices)
ทำำหน้ำที่รับข้อมูลจำกผู้ใช้เข้ำสู่หน่วยควำมจำำหลัก ที่พบเห็นอยู่
ทั่วไปได้แก่
2.2.1 อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device)
แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นหน่วยรับข้อมูลที่นิยมใช้กันมำกที่สุด เพรำะ
เป็นอุปกรณ์มำตรฐำนในกำรป้อนข้อมูลสำำหรับเทอร์มินัล และไมโคร
คอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะมีลักษณะคล้ำยแป้นของเครื่องพิมพ์ดีด แต่มี
จำำนวนแป้นมำกกว่ำ และถูกแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มด้วยกันคือ
- แป้นอักขระ (Character Keys) มีลักษณะกำรจัดวำงตัวอักษร
เหมือนแป้นบนเครื่องพิมพ์ดีด
- แป้นควบคุม (Control Keys) เป็นแป้นที่มีหน้ำที่สั่งกำรบำงอย่ำง
โดยใช้งำนร่วมกับแป้นอื่น
- แป้นฟังก์ชัน (Function Keys) คือ แป้นที่อยู่แถวบนสุด มี
สัญลักษณ์เป็น F1,...F12 ซอฟต์แวร์แต่ละชนิดอำจกำำหนดแป้นเหล่ำนี้ให้
มีหน้ำที่เฉพำะอย่ำงแตกต่ำงกันไป
- แป้นตัวเลข (Numeric Keys) เป็นแป้นที่แยกจำกแป้นอักขระมำ
อยู่ทำงด้ำนขวำ มีลักษณะคล้ำยเครื่องคิดเลข ช่วยอำำนวยควำมสะดวกใน
กำรบันทึกตัวเลขเข้ำสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
นอกจำกนี้ ยังมีแป้นพิมพ์บำงประเภทที่ออกแบบมำให้ใช้กับงำนเฉพำะ
ด้ำน เช่น แป้นพิมพ์ที่ใช้ในร้ำนอำหำรแบบเร่งด่วน (fast food
restaurant) จะใช้พิมพ์เฉพำะชื่ออำหำร เช่น ถ้ำต้องกำร french
fries ก็กดที่แป้นคำำว่ำ “French fries” ตำมด้วยรำคำเท่ำนั้น หรือแป้น
16
พิมพ์ที่ใช้เครื่องฝำก-ถอนอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine)
เป็นต้น
2.2.2 อุปกรณ์ชี้ตำำแหน่ง Pointing Devices
เมำส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์สำำหรับใช้เลื่อนตัวชี้ตำำแหน่ง (Cursor)
บนจอภำพ มีหลำยขนำดและมี รูปร่ำงต่ำงกันไป แต่ที่นิยมใช้จะมีขนำดเท่ำ
ฝ่ำมือ มีลูกกลมกลิ้งอยู่ด้ำนล่ำง หรือเป็นระบบแสง ส่วนด้ำนบนจะมีปุ่มให้
กดจำำนวนสอง สำม หรือสี่ปุ่ม แต่ที่นิยมใช้กันมำกคือ สองปุ่ม ใช้ส่งข้อมูล
เข้ำสู่หน่วยควำมจำำหลักโดยกำรเลื่อนเมำส์ให้ลูกกลมด้ำนล่ำงหมุน เพื่อ
เป็นกำรเลื่อนตัวชี้ตำำแหน่งบนจอภำพไปยังตำำแหน่งที่ต้องกำรทำำให้กำร
โต้ตอบระหว่ำงผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทำำได้รวดเร็วกว่ำแป้นพิมพ์ ผู้ใช้
อำจใช้เมำส์วำดรูป เลือกทำง เลือกจำกเมนู และเปลี่ยนแปลงหรือย้ำย
ข้อควำม ปัจจุบันเมำส์ได้มีกำรพัฒนำเป็นแบบเมำส์ไร้สำย อย่ำงไรก็ดี เมำส์
ยังไม่สำมำรถใช้ในกำรป้อนตัวอักษรได้ จึงยังคงต้องใช้คู่กับแป้นพิมพ์ใน
กรณีที่มีกำรพิมพ์ ตัวอักษร แต่สำำหรับผู้ที่เริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ กำรใช้
เมำส์เพียงอย่ำงเดียวจะทำำให้เกิดควำมผิดพลำดน้อยกว่ำกำรใช้แป้นพิมพ์
ลูกกลมควบคุม (Trackball) เป็นอุปกรณ์ชี้ตำำแหน่ง โดยจะเป็นลูกบอล
เล็กๆซึ่งอำจวำงอยู่หน้ำจอภำพในเนื้อที่ของแป้นพิมพ์ หรือเป็นอุปกรณ์ต่ำง
หำกเช่นเดียวกับเมำส์ เมื่อผู้ใช้หมุนลูกบอลก็จะเป็นกำรเลื่อนตำำแหน่งของ
ตัวชี้ตำำแหน่งบนจอภำพ มีหลักกำรทำำงำนเช่นเดียวกับเมำส์
แท่งชี้ควบคุม (Track Point) เป็นอุปกรณ์ชี้ตำำแหน่งขนำดเล็ก นิยมใช้กับ
เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพำจะเป็นแท่งพลำสติกเล็กๆ อยู่ตรงกลำงแป้น
17
พิมพ์ บังคับโดยใช้นิ้วหัวแม่มือเพื่อเลื่อนตำำแหน่งของตัวชี้ตำำแหน่งบน
จอภำพเช่นเดียวกับเมำส์
แผ่นรองสัมผัส จะเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมที่วำงอยู่หน้ำแป้นพิมพ์
สำมำรถใช้นิ้ววำดเพื่อเลื่อนตำำแหน่งของตัวชี้ตำำแหน่งบนจอภำพเช่นเดียว
กับเมำส์
จอยสติก (Joy stick) จะเป็นก้ำนสำำหรับใช้โยกขึ้นลง/ซ้ำยขวำ เพื่อย้ำย
ตำำแหน่งของตัวชี้ตำำแหน่งบนจอภำพ มีหลักกำรทำำงำนเช่นเดียวกับเมำส์
แต่จะมีแป้นกดเพิ่มเติมมำจำำนวนหนึ่งสำำหรับสั่งงำนพิเศษ นิยมใช้กับกำร
เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์หรือควบคุมหุ่นยนต์
2.2.3 จอภำพระบบไวต่อกำรสัมผัส
จอภำพระบบสัมผัส (Touch screen) เป็นจอภำพแบบพิเศษซึ่งผู้
ใช้เพียงแตะปลำยนิ้วลงบนจอภำพในตำำแหน่งที่กำำหนดไว้ เพื่อเลือกกำร
ทำำงำนที่ต้องกำร นิยมใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้ผู้ที่ใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่คล่องนักสำมำรถเลือกข้อมูลที่ต้องกำรได้อย่ำง
สะดวกรวดเร็ว จะพบกำรใช้งำนมำกในร้ำนอำหำรแบบเร่งด่วน หรือใช้
แสดงข้อมูลกำรท่องเที่ยว เป็นต้น
18
2.2.4 ระบบปำกกำ (Pen-Based System)
ปำกกำแสง (Light Pen) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สัมผัสกับจอภำพเพื่อชี้
ตำำแหน่งและวำดข้อมูล โดยใช้เซลล์ แบบ photoelectric ซึ่งมีควำมไว
ต่อแสงเป็นตัวกำำหนดตำำแหน่งบนจอภำพ รวมทั้งสำมำรถใช้วำดลักษณะ
หรือรูปแบบของข้อมูลให้ปรำกฏบนจอภำพ กำรใช้งำนทำำได้โดยกำรแตะ
ปำกกำแสงไปบนจอภำพตำมตำำแหน่งที่ต้องกำรนิยมใช้กับงำน
คอมพิวเตอร์ช่วยกำรออกแบบ (CAD หรือ Computer Aided
Design) รวมทั้งนิยมใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลโดยกำรเขียนด้วยมือใน
คอมพิวเตอร์ขนำดเล็ก เช่น PDA เป็นต้น
2.2.5 อุปกรณ์กวำดข้อมูล (Data Scanning Devices)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ ระบบกำรวิเครำะห์แสง (Optical recognition
Systems) ช่วยให้มีกำรพิมพ์ข้อมูลเข้ำน้อยที่สุด โดยจะอ่ำนข้อมูลเข้ำสู่
เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกำรใช้ลำำแสงกวำดผ่ำนข้อควำม หรือสัญลักษณ์
ต่ำงๆที่พิมพ์ไว้ เพื่อนำำไปแยกแยะรูปแบบต่อไป ในปัจจุบันมีกำรประยุกต์ใช้
ในงำนต่ำงๆกันมำก โดยมีอุปกรณ์ที่ได้รับควำมนิยม คือ
เครื่องอ่ำนรหัสบำร์โคด (Bar Code Reader) เป็นอุปกรณ์ที่มี
ลักษณะคล้ำยปำกกำแสง ใช้ฉำยแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องกำรอ่ำน ซึ่ง
รหัสสินค้ำต่ำงๆจะอยู่ในรูปของแถบสีดำำและขำวต่อเนื่องกันไป เรียกว่ำรหัส
บำร์โคด เครื่องอ่ำนรหัสบำร์โคดจะอ่ำนข้อมูลบนแถบบำร์โคด เพื่อเรียก
19
ข้อมูลจำกรำยกำรสินค้ำนั้น เช่นรำคำสินค้ำ จำำนวนที่เหลืออยู่ในคลังสินค้ำ
เป็นต้น ออกมำจำกฐำนข้อมูล แล้วจึงทำำกำรประมวลผลข้อมูลรำยกำรนั้น
ในปัจจุบัน บำร์โคคได้รับควำมนิยมอย่ำงมำก เนื่องจำกไม่ต้องทำำกำรพิมพ์
ข้อมูลเข้ำด้วยแป้นพิมพ์ จึงลดควำมผิดพลำดของข้อมูลและประหยัดเวลำได้
มำก ระบบบำร์โคดเป็นสิ่งที่ผู้ใช้จะพบเห็นในชีวิตประจำำวันได้บ่อยที่สุด
เช่น ในห้ำงสรรพสินค้ำ ร้ำนขำยหนังสือ และห้องสมุด เป็นต้น
สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่ำนหรือสแกน (Scan)
ข้อมูลบนเอกสำรเข้ำสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้วิธีส่องแสงไปยังวัตถุที่
ต้องกำร แสงที่ส่องไปยังวัตถุแล้วสะท้อนกลับมำจะถูกส่งผ่ำนไปที่ เซลล์ไว
แสง (Charge-Coupled Device หรือ CCD) ซึ่งจะทำำกำรตรวจจับควำม
เข้มของแสงที่สะท้อนออกมำจำกวัตถุและแปลงให้อยู่ในรูปของข้อมูลทำง
ดิจิตอล เอกสำรที่อ่ำนอำจจะประกอบด้วยข้อควำมหรือรูปภำพกรำฟิกก็ได้
กล้องถ่ำยภำพดิจิตอล (Digital camera) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำำหรับ
ถ่ำยภำพแบบไม่ต้องใช้ฟิล์ม โดยเก็บภำพที่ถ่ำยไว้ในลักษณะดิจิตอลด้วย
อุปกรณ์ CCD (Charge Coupled Device) ภำพที่ได้จะประกอบด้วยจุด
เล็กๆ จำำนวนมำก และสำมำรถนำำเข้ำเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งำนได้โดย
ไม่ต้องใช้อุปกรณ์สแกนเนอร์อีกเป็นอุปกรณ์ที่เริ่มได้รับควำมนิยมเพิ่มขึ้น
เรื่อยๆ เนื่องจำกไม่ต้องใช้ฟิล์มในกำรถ่ำยภำพและสำมำรถดูผลลัพธ์ได้จำก
จอที่ติดอยู่กับกล้องได้ในทันที
20
กล้องถ่ำยทอดวีดีโอดิจิตอล (Digital Video) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำำหรับ
บันทึกภำพเคลื่อนไหว และเก็บเป็นข้อมูลแบบดิจิตอล นิยมใช้ในกำรประชุม
ทำงไกลผ่ำนวิดีโอ (Video conference) ซึ่งเป็นกำรประชุมแบบกลุ่มผ่ำน
เครือข่ำยคอมพิวเตอร์ เช่น ผ่ำนอินเทอร์เน็ต เป็นต้น อย่ำงไรก็ดีกล้อง
ถ่ำยทอดวีดีโอแบบดิจิตอลยังอยู่
2.3 อุปกรณ์แสดงผล (Output devices)
หมำยถึง กำรแสดงผลออกมำให้ผู้ใช้ได้รับทรำบในขณะนั้น แต่เมื่อ
เลิกกำรทำำงำนหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็จะหำยไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บ
ได้ แต่ถ้ำต้องกำรเก็บผลลัพธ์นั้นก็สำมำรถส่งถ่ำยไปเก็บในรูปของข้อมูล
ในหน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง เพื่อให้สำมำรถใช้งำนในภำยหลัง หน่วยแสดง
ผลที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ คือ
2.3.1 หน่วยแสดงผลชั่วครำว
หมำยถึง กำรแสดงผลออกมำให้ผู้ใช้ได้รับทรำบในขณะนั้น แต่เมื่อ
เลิกกำรทำำงำนหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็จะหำยไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้
แต่ถ้ำต้องกำรเก็บผลลัพธ์นั้นก็สำมำรถส่งถ่ำยไปเก็บในรูปของข้อมูลใน
หน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง เพื่อให้สำมำรถใช้งำนในภำยหลัง หน่วยแสดงผลที่
จัดอยู่ในกลุ่มนี้ คือ
จอภำพ (Monitor) ใช้แสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ให้ผู้ใช้เห็นได้ทันที
21
มีรูปร่ำงคล้ำยจอภำพของโทรทัศน์บนจอภำพประกอบด้วยจุดจำำนวน
มำกมำย เรียกจุดเหล่ำนั้นว่ำ จุดภำพ (pixel) ถ้ำมีจุดภำพจำำนวนมำกก็จะ
ทำำให้ ผู้ใช้มองเห็นภำพบนจอได้ชัดเจนมำกขึ้น จอภำพที่ใช้ในปัจจุบันแบ่ง
ได้เป็นสองประเภท คือ
- จอซีอำร์ที (Cathode Ray Tube) นิยมใช้กับเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมำกในปัจจุบันใช้หลักกำรยิงแสงผ่ำนหลอดภำพ
คล้ำยกับโทรทัศน์
- จอภำพแอลซีดี (Liquid Crystal Display) เป็นจอภำพ
ที่มีลักษณะบำง นำ้ำหนักเบำและกินไฟน้อย แต่มีรำคำสูง เทคโนโลยีจอแอล
ซีดีในปัจจุบันจะมีสองแบบคือ Passive Matrix ซึ่งมีรำคำตำ่ำแต่ขำดควำม
คมชัดและอำจมองไม่เห็นภำพเมื่อผู้ใช้มองจำกบำงมุม ส่วน Active
Matrix หรือบำงครั้งอำจเรียกว่ำ Thin Film Transistor (TFT) จะให้
ภำพที่คมชัดกว่ำแต่จะมีรำคำสูงกว่ำมำก ในส่วนควำมละเอียดของจอภำพ
ปัจจุบัน นิยมใช้จอภำพชนิดสีแบบ Super Video Graphic Adapter
หรือเรียกสั้นๆว่ำ ซูเปอร์วีจีเอ (Super VGA) ซึ่งมีควำมละเอียด 800x600
จุดภำพ สำำหรับจอภำพที่มีควำมละเอียดตำ่ำ (low resolution) ส่วนจอภำพ
ที่มีควำมละเอียดสูง จะนิยมใช้ควำมละเอียดที่ 1024x768, 1280x1024
หรือ 1600x1200 จุดภำพ (pixel) ซึ่งจะให้ควำมคมชัดที่สูงมำก
22
ปัจจัยหนึ่งที่ทำำให้ภำพดูคมชัดมำกขึ้นถึงแม้ว่ำจะมีจำำนวนจุดภำพ
เท่ำกัน ก็คือ ระยะห่ำงระหว่ำงจุดภำพ (dot pitch) โดยระยะห่ำง
ระหว่ำงจุดภำพน้อยก็จะให้ควำมละเอียดได้มำกกว่ำ จอภำพที่มีขำยใน
ท้องตลำดปัจจุบันมีระยะห่ำงระหว่ำงจุดภำพอยู่ระหว่ำง 0.25-0.28
หน่วย ซึ่งระยะห่ำงระหว่ำงจุดภำพนี้เป็นสิ่งที่ติดมำกับเครื่องไม่สำมำรถ
เปลี่ยนแปลงได้ในส่วนของจำำนวนสีนั้น ณ ขณะใดขณะหนึ่งแต่ละจุด
ภำพจะแสดงสีได้เพียงสีเดียวเท่ำนั้น ซึ่งสีต่ำงๆ จะถูก
แทนด้วยตัวเลข ดังนั้น ถ้ำจอภำพแสดงได้ 16 สี เลขเหล่ำนั้นก็จะแทน
ด้วย 4 บิต ถ้ำต้องกำรแสดงถึง 256 สี ก็จะต้องใช้ 8 บิตแทนรหัสสีนั้นๆ
กำร์ดวิดีโอ (Video Card) กำรต่อจอภำพเข้ำกับเครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์นั้นจะต้องมีแผงวงจรกรำฟิก (Graphic Adapter Board)
หรือเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ กำร์ดวีดีโอ (video card) ซึ่งจอภำพแต่ละ
ชนิดต้องกำรแผงวงจรที่ต่ำงกัน แผงวงจรกรำฟิกจะถูกเสียบเข้ำกับ ช่อง
ขยำยเพิ่มเติม (expansion slot) ในคอมพิวเตอร์แผงวงจรกรำฟิกมักจะ
มีหน่วยควำมจำำเฉพำะที่เรียกว่ำ หน่วยควำมจำำวีดีโอ (video memory)
เพื่อให้ใช้โปรแกรมด้ำนกรำฟิกได้สวยงำมและรวดเร็ว ซึ่งหน่วยควำมจำำ
นี้อำจใช้แรมธรรมดำหรือแรมแบบพิเศษต่ำงๆ เพื่อให้
สำมำรถทำำงำนได้เร็วขึ้น เช่น วีดีโอแรม (video RAM) ซึ่งบำงครั้งเรียก
ว่ำ วีแรม (VRAM) เป็นต้น
ปัจจัยประกำรหนึ่งที่ผู้ใช้จอภำพต้องคำำนึง คือ อัตรำกำรเปลี่ยน
ภำพ (refresh rate) ของกำร์ดวีดีโอโดยภำพที่แสดงบนจอภำพแต่ละ
ภำพนั้นจะถูกลบและแสดงภำพใหม่เริ่มจำกบนลงล่ำง หำกอัตรำกำร
เปลี่ยนภำพในแนวดิ่ง (Vertical-refresh rate) เป็น 60 ครั้งต่อวินำที
หรือ 60 Hz จะเกิดกำรกระพริบทำำให้ผู้ใช้ปวดศีรษะได้มีผู้วิจัยพบว่ำ
อัตรำเปลี่ยนภำพในแนวดิ่งไม่ควรตำ่ำกว่ำ 70 Hz จึงจะไม่เกิดกำรกระ
พริบ และทำำให้ผู้ใช้ดูจอภำพได้อย่ำงสบำยตำ นอกจำกนี้ยังมีอุปกรณ์
สำำหรับถอดรหัสภำพแบบ MPEG (Motion Picture Experts) ซึ่งอำจ
อยู่ในรูปของซอฟต์แวร์ หรือฮำร์ดแวร์ที่ติดอยู่บนกำร์ดวีดีโอ อันจะทำำให้
สำมำรถแสดงภำพเคลื่อนไหว เช่น ภำพยนตร์ต่ำงๆ บนจอคอมพิวเตอร์
ได้อย่ำงต่อเนื่อง
23
อุปกรณ์เสียง (Audio Output) คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ๆ มักจะมี
หน่วยแสดงเสียง ซึ่งประกอบด้วย ลำำโพง(speaker) และ กำร์ดเสียง
(sound card) เพื่อให้ผู้ใช้สำมำรถฟังเพลงในขณะทำำงำน หรือให้
เครื่องคอมพิวเตอร์รำยงำนเป็นเสียงให้ทรำบเมื่อเกิดปัญหำต่ำงๆ เช่น
ไม่มีกระดำษในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น รวมทั้งสำมำรถเล่นเกมส์ที่มีเสียง
ประกอบได้อย่ำงสนุกสนำน โดยลำำโพงจะมีหน้ำที่ในกำรแปลงสัญญำณ
จำกคอมพิวเตอร์ให้เป็นเสียงเช่นเดียวกับลำำโพงวิทยุ ส่วนกำร์ดเสียงจะ
เป็นแผงวงจรเพิ่มเติมที่นำำมำเสียงกับช่องเสียบขยำยในเมนบอร์ด เพื่อ
ช่วยให้คอมพิวเตอร์สำมำรถส่งสัญญำณเสียงผ่ำนลำำโพง รวมทั้งสำมำรถ
ต่อไมโครโฟนเข้ำมำที่กำร์ดเพื่อบันทึกเสียงเก็บไว้ด้วย
2.3.2 หน่วยแสดงผลถำวร
หมำยถึง กำรแสดงผลที่สำมำรถจับต้องและเคลื่อนย้ำยได้ตำม
ต้องกำรมักจะออกมำในรูปของกระดำษเช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็น
อุปกรณ์ที่นิยมใช้กันมำก มีให้เลือกหลำยชนิดขึ้นอยู่กับคุณภำพของตัว
อักษร ควำมเร็วในกำรพิมพ์ และเทคโนโลยีที่ใช้งำน เครื่องพิมพ์สำมำรถ
แบ่งตำมวิธีกำรพิมพ์ได้ 2 ชนิด คือ
เครื่องพิมพ์แบบกระทบหรือตอก (Impact printer) เป็นกำรใช้
หัวเข็มตอกให้คำร์บอนบนผ้ำหมึกติดบนกระดำษตำมรูปแบบที่ต้องกำร
สำมำรถพิมพ์ครั้งละหลำยชุดโดยใช้กระดำษคำร์บอนวำงระหว่ำง
กระดำษแต่ละแผ่นได้ ส่วนข้อเสียของเครื่องพิมพ์ชนิดนี้ คือ มีเสียงดัง
และคุณภำพงำนพิมพ์ไม่ดีนัก
24
เครื่องพิมพ์แบบไม่กระทบหรือไม่ตอก (Nonimpact printer)
เป็นกำรพิมพ์โดยใช้หมึกพ่นไปบนกระดำษหรือใช้ควำมร้อนและควำมดัน
เพื่อละลำยหมึกให้เป็นลักษณะของอักขระ เป็นกำรพิมพ์ที่เร็วและคมชัด
กว่ำแบบกระทบ และพิมพ์ได้ทั้งตัวอักษรและภำพกรำฟิก รวมทั้งไม่มีเสียง
ขณะพิมพ์ แต่มีข้อจำำกัดคือ ไม่สำมำรถพิมพ์กระดำษแบบสำำเนำ (copy)
ได้
เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser printer) ทำำงำนคล้ำยกับเครื่องถ่ำย
เอกสำร คือ มีแสงเลเซอร์สร้ำงประจุไฟฟ้ำ ซึ่งจะมีผลให้โทนเนอร์
(toner) สร้ำงภำพที่ต้องกำรและพิมพ์ภำพนั้นลงบนกระดำษ เครื่องพิมพ์
เลเซอร์จะมีรุ่นต่ำงๆที่แตกต่ำงกันในด้ำนควำมเร็ว และควำมละเอียดของ
งำนพิมพ์ ในปัจจุบันสำมำรถพิมพ์ได้ละเอียดสูงสุดถึง 1200 จุดต่อนิ้ว
(dot per inch หรือ dpi)
เครื่องพิมพ์พ่นหมึก (Inkjet printer) นิยมใช้กับเครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์ ส่วนมำกจะพิมพ์สีได้ ถึงแม้จะไม่คมชัดเท่ำเครื่องพิมพ์ชนิด
เลเซอร์ แต่ก็คมชัดกว่ำเครื่องพิมพ์ชนิดตอก และมีรำคำถูกกว่ำ
เครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์ นิยมนำำมำใช้งำนตำมบ้ำนอย่ำงมำก
25
เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) ใช้วำดหรือเขียนภำพสำำหรับงำนที่
ต้องกำรควำมละเอียดสูงๆ นิยมใช้กับงำนออกแบบทำงสถำปัตยกรรมและ
วิศวกรรม มีให้เลือกหลำยชนิดโดยจะแตกต่ำงกันในด้ำนควำมเร็ว ขนำด
กระดำษ และจำำนวนปำกกำที่ใช้เขียนในแต่ละครั้ง มีรำคำแพงกว่ำ
เครื่องพิมพ์ธรรมดำ
26
3. หน่วยควำมจำำ Memory
อุปกรณ์ส่วนที่สำำคัญอย่ำงหนึ่งที่คอมพิวเตอร์จะขำดไม่ได้คือ หน่วย
ควำมจำำ Memory ซึ่งมีหลำยประเภท ตำมลักษณะกำรทำำงำน ดังนี้
3.1 หน่วยควำมจำำรอม (ROM) และ (RAM)
คำำว่ำ ROM ย่อมำจำก Read Only Memory เป็นหน่วยควำมจำำที่
เก็บข้อมูลแบบถำวร รอมที่ใช้บันทึกข้อมูลของอุปกรณ์ที่ติดตั้งบน
เมนบอร์ด เช่น ขนำดและประเภทของฮำร์ดดิสก์ที่ใช้ ขนำดของแรม
หน่วยประมวลผลที่ใช้กำรติดตั้งหน่วยขับแผ่นบันทึก (Floppy drive)
เป็นต้น ข้อมูลที่บันทึกในรอม จะยังคงอยู่แม้จะปิดเครื่อง หน้ำที่ของรอม
คือจะตรวจสอบว่ำมีอุปกรณ์ใดบ้ำง ที่ติดตั้งใช้งำน หำกตรวจสอบไม่
อุปกรณ์ที่สำำคัญๆ เช่น ไม่พบฮำร์ดดิสก์ ซีพียู หรือแรม รอมจะหยุดกำร
ทำำงำน
คำำว่ำ RAM ย่อมำจำก Random Access Memory เป็น หน่วย
เก็บข้อมูลหลักของคอมพิวเตอร์ แต่ข้อมูลจะสูญหำยทันที เมื่อปิดเครื่อง
ในกำรใช้งำนจริง จึงต้องบันทึกข้อมูลไว้ในฮำร์ดดิสก์ก่อนปิดเครื่อง
หน่วยควำมจำำแรม มีหน่วยวัดเป็น ไบต์ (byte) ซึ่งถ้ำเป็นเครื่องรุ่น
เก่ำจะนิยมใช้หน่วยควำมจำำแรม 8 หรือ 16 เมกะไบต์ (Megabyte) แต่
ถ้ำเป็นเครื่องรุ่นใหม่ๆ จะใช้แรมขนำด 128 หรือ 256 MB ขึ้นไป ซึ่งจะ
ทำำให้สำมำรถทำำงำนกับโปรแกรมรุ่นใหม่ หรือกับแฟ้มข้อมูลที่มีขนำด
ใหญ่ๆ เช่น งำนมัลติมีเดียหรืองำนกรำฟิกได้
3.2 DRAM (ดีแรม) และ SDRAM (เอสดีแรม)
27
DRAM เป็นหน่วยควำมจำำหลักของเครื่อง นิยมใช้มำกในสมัยก่อน
เพรำะรำคำไม่แพง แต่ทำำงำนได้ช้ำมำกปัจจุบันมีกำรใช้ SDRAM
(Synchronous DRAM) ซึ่งเป็นหน่วยควำมจำำที่มีประสิทธิภำพสูงมำก
ในสมัยก่อนอำจจะมีรำคำสูง แต่ปัจจุบันรำคำได้ถูกลงมำก คนจึงนิยมใช้
SDRAM มำกขึ้น
SIMM (ซิม) เป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำำหรับติดตั้งหน่วย
ควำมจำำ ติดตั้งบนเมนบอร์ด เรำสำมำรถเพิ่มจำำนวนแรมโดยเสียบแผง
วงจรเข้ำกับซิมนี้ เพียงเท่ำนี้ก็สำมำรถเพิ่มแรมได้อย่ำงง่ำยๆสะดวก
รวดเร็วและสำมำรถทำำได้ด้วยตนเอง ดังนั้นข้อจำำกัดของกำรเพิ่มแรม คือ
จำำนวนช่องของ SIMM และขนำดของแรมแต่ละแผงที่นำำมำเสียบลงบน
SIMM
3.3 หน่วยควำมจำำเสมือน (Virtual Memory)
หมำยถึง หน่วยควำมจำำประเภทหนึ่งใช้สำำหรับแสดงผล เป็นหน่วย
ควำมจำำที่ถูกสร้ำงขึ้นมำในกรณีที่หน่วยควำมจำำแรมไม่พอใช้ โดยระบบ
ปฏิบัติกำรจะมีกำรนำำเอำพื้นที่ในฮำร์ดดิสก์บำงส่วนมำเป็นพื้นที่ทำำงำน
ชั่วครำวในขณะเปิดแฟ้มข้อมูล และจะลบทิ้งเมื่อปิดแฟ้มข้อมูล เรำจึง
เรียกว่ำ “หน่วยควำมจำำเสมือน” ข้อเสียของกำรใช้หน่วยควำมจำำเสมือน
คือ ถ้ำพื้นที่ว่ำงมีน้อยกว่ำที่กำำหนดไว้ คอมพิวเตอร์จะทำำงำนช้ำลง กำร
ใช้งำนฮำร์ดดิสก์จึงมักจะให้มีเนื้อที่ที่ไม่ได้ใช้งำน เหลือไว้ไม่น้อยกว่ำ
10 เปอร์เซ็นต์
28
ในกำรใช้งำนคอมพิวเตอร์นั้น เรำจะต้องเลือกขนำดของแรมที่
เหมำะสม โดยเฉพำะโปรแกรมปฏิบัติกำร (OS) รุ่นใหม่ๆ เช่น Windows
98, Windows XP เป็นระบบปฏิบัติกำรขนำด 32 บิต ต้องใช้แรม 64
MB ขึ้นไป หำกใช้แรมน้อยกว่ำนี้เครื่องอำจจะทำำงำนช้ำมำกหรืออำจ
หยุดชะงักได้ง่ำย
3.4 หน่วยควำมจำำแคช (Memory Cache) และ บัส (Bus)
หน่วยควำมจำำแคชเป็นหน่วยควำมจำำที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทำำงำนได้เร็วขึ้น เป็นกำรเก็บข้อมูลที่เรำเคยเรียกใช้แล้วเอำไว้ในกรณีที่
เรำต้องกำรเรียกใช้ก็มำเรียกข้อมูลจำกแคช ซึ่งจะดึงข้อมูลได้เร็วกว่ำ
หน่วยควำมจำำดิสก์มำก
หน่วยควำมจำำแคช มี 2 ประเภท คือ
1. แคชภำยใน ติดตั้งอยู่ภำยในซีพียู เวลำเครื่องประมวลผล ก็จะ
เรียกเก็บข้อมูลที่เก็บไว้ที่แคชใกล้ๆ ซีพียูมำใช้ได้อย่ำงรวดเร็ว
2. แคชภำยนอก จะติดตั้งอยู่บนเมนบอร์ดเหมือนแรม ถ้ำเครื่องไม่
พบแคชในซีพียูก็จะมองหำแคชภำยนอก ถ้ำพบก็จะนำำมำใช้งำน ซึ่งก็จะ
ทำำงำนได้ช้ำกว่ำแคชภำยในอยู่บ้ำง
29
เป็นเส้นทำงวิ่งระหว่ำงข้อมูลหรือคำำสั่ง กำรวัดขนำดควำมกว้ำงของ บัส
เรำเรียกว่ำ “บิต” 8 บิต เท่ำกับ 1 ไบต์ หรือ 1 ตัวอักษร ส่วนควำมเร็ว
ของ บัส วัดด้วยหน่วยเมกะเฮิรตซ์ (Mhz) หรือหนึ่งล้ำนรอบต่อวินำที บัส
ที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ บัสแบบ PCI (Peripheral Component
Interconnect) มีควำมกว้ำงของสัญญำณที่ใช้รับส่งข้อมูลถึง 32 หรือ
64 บิต ควำมเร็วมำกกว่ำ 300 MHz ขึ้นไป นอกจำกนี้ PCI ยังสนับสนุน
คุณสมบัติPlug and Play ที่ใช้ในกำรติดตั้งโปรแกรมที่ใช้ควบคุม
อุปกรณ์ใหม่ด้วย
3.5 หน่วยข้อมูลสำำรอง
คอมพิวเตอร์หรือซีพียูจะเรียกใช้ข้อมูลจำกหน่วยเก็บข้อมูลหลัก คือ
แรมก่อน หำกข้อมูลที่ต้องกำรไม่มีในแรม ก็จะทำำกำรอ่ำนข้อมูลจำก
หน่วยเก็บข้อมูลสำำรองไปเก็บไว้ที่แรม เพรำะหน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง
สำมำรถจะเก็บรักษำข้อมูลไว้ได้ แม้ว่ำจะปิดเครื่อง และเก็บข้อมูลได้
มำกกว่ำหน่วยเก็บข้อมูลหลัก หน่วยเก็บข้อมูลสำำรองแบ่งออกเป็น แผ่น
บันทึก (Floppy Disk) หรือที่นิยมเรียกว่ำ ดิสเก็ตต์ (diskette) มี
ลักษณะเป็นแผ่นแม่เหล็ก ทรงกลม มีพลำสติกแข็งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
ครอบไว้ชั้นนอก ขนำด 3.5 นิ้ว สำมำรถจุข้อมูลได้ 1.44 MB ก่อนกำร
ใช้งำน
จะต้องทำำกำรฟอร์แมตแผ่นก่อน ปัจจุบันแผ่นดิสเก็ตต์จะฟอร์แมตมำจำก
โรงงำนผู้ผลิตแล้ว สำมำรถนำำมำใช้งำนได้ทันที กำรใช้งำนจะเสียบใส่
ในเครื่องขับแผ่นบันทึก (Floppy Drive) ซึ่งเป็นอุปกรณ์อ่ำนและเขียน
แผ่นดิสก์ ติดตั้งอยู่ภำยในตัวถังของเครื่อง แผ่นบันทึก (Floppy disk)
เก็บข้อมูลได้ไม่มำกนัก เหมำะสำำหรับกำรพกพำ เพรำะมีขนำดเล็ก
สำมำรถนำำข้อมูลไปใช้งำนกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ได้สะดวก
30
จำนบันทึกแบบแข็ง (Hard Disk) เป็นหน่วยเก็บข้อมูลขนำดใหญ่
สำมำรถเก็บข้อมูลได้มำกกว่ำฟลอปปี้ดิสก์หลำยล้ำนเท่ำ ฮำร์ดดิสก์ติดตั้ง
ในตัวเครื่อง มีขนำดประมำณ 3.5 นิ้ว แต่มีควำมหนำกว่ำฟลอปปี้ดิสก์ มี
ตัวอ่ำนข้อมูลอยู่ภำยใน ในปัจจุบันมีฮำร์ดดิสก์ตั้งแต่ 40 กิกะไบต์ (GB)
ขึ้นไป จึงสำมำรถเก็บข้อมูลได้มำก รวมทั้งโปรแกรมต่ำงๆ ในปัจจุบัน ที่
ต้องกำรพื้นที่ในกำรเก็บข้อมูลมำกขึ้น โดยเฉพำะโปรแกรมประเภท
กรำฟฟิกหรือมัลติมีเดีย จำำเป็นต้องใช้พื้นที่เก็บข้อมูลมำกพอจึงจะใช้งำน
ได้
ซีดี – รอม (CD-ROM) ย่อมำจำกคำำว่ำ Compact Disk Read – Only
Memory เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่ได้รับควำมนิยมมำกรำคำไม่แพง มีอำยุ
กำรใช้หลำยปี และมีขนำดเล็ก ซีดีรอมเป็นแผ่นพลำสติกกลม เส้นผ่ำน
ศูนย์กลำง 4.75 นิ้ว ผิวหน้ำเคลือบด้วยโลหะสะท้อนแสง เพื่อป้องกัน
ข้อมูลที่บันทึกไว้บันทึกและอ่ำนข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์ ปกติซีดีรอมใน
ปัจจุบันจะมีควำมจุประมำณ 700 MB หรือเท่ำกับหนังสือประมำณ
700,000 หน้ำ หรือเท่ำกับฟลอปปี้ดิสก์ขนำด 1.44 MB ถึง 700 แผ่น
สำมำรถบันทึกข้อมูลได้มำก โดยเฉพำะงำนด้ำนมัลติมีเดียทั้งภำพ แสง
เสียง ในเวลำเดียวกัน ที่สำำคัญ คือ เป็นระบบที่ปลอดภัยจำกไวรัส
31
ดีวีดี – รอม (DVD-ROM) ย่อมำจำก Digital Video Disk Read –
Only Memory เป็นหน่วยเก็บข้อมูลรองชนิดหนึ่งที่กำำลังได้รับควำม
นิยมมำกลักษณะคล้ำยซีดีรอมแต่สำมำรถเก็บข้อมูลได้มำกกว่ำซีดีรอม
หลำยเท่ำคือ ขนำดมำตรฐำนเก็บข้อมูลได้ 4.7 GB หรือ 7 เท่ำของซีดี
รอม และพัฒนำต่อเนื่องไปตลอดดีวีดีแผ่นหนึ่งสำมำรถบรรจุภำพยนตร์
ควำมยำวถึง 133 นำทีได้โดยใช้ลักษณะกำรบีบอัดข้อมูลแบบ MPEG-2
และระบบเสียงแบบดอลบี (Dolby AC-3) ปัจจุบันดีวีดีนิยมใช้ในกำร
บันทึกภำพยนตร์และมัลติมีเดีย
4. ซอร์ฟแวร์ Software
คอมพิวเตอร์จะทำำงำนไม่ได้เลยหำกปรำศจำก ซอร์ฟแวร์ Software
ที่จะคอยรับคำำสั่งในรูปแบบต่ำง ๆ ไปประมวลผล และแสดงผลออกมำ
4.1 ชนิดของ software
32
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติกำร (Operating System Software-OS)
หมำยถึง ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ควบคุมกำรทำำงำนทั้งหมดของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ โดยคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบปฏิบัติกำรอย่ำงใด
อย่ำงหนึ่งเสมอ ระบบปฏิบัติกำรยอดนิยมในปัจจุบัน คือ Windows 95,
Windows 98, Windows 2000,Windows Me, Windows XP,
Linux, DOS เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมำยถึง โปรแกรม
ที่เขียนขึ้นมำเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำำงำนเฉพำะด้ำน เช่น
โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมออกแบบ โปรแกรมสำำเร็จรูปต่ำงๆ เช่น
Microsoft Word, Excel, PowerPoint เป็นต้น
กำรใช้คอมพิวเตอร์ในกำรทำำงำนด้ำนต่ำงๆ
เมื่อหลำยปีก่อน คอมพิวเตอร์มีอยู่ไม่มำกนัก ส่วนใหญ่จะเป็นระบบ
เมนเฟรม ซึ่งมีขนำดใหญ่และรำคำแพง ส่วนมำกจะใช้งำนทำงด้ำน
วิทยำศำสตร์เท่ำนั้น ซึ่งจะไม่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำำวันมำกนัก แต่ใน
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้มีขนำดเล็กลง และ รำคำไม่แพงนัก คนทั่วไป
สำมำรถซื้อหำมำใช้ได้เหมือนกับ เครื่องใช้ไฟฟ้ำโดยทั่วไป ในหน่วย
งำนทั้งภำครัฐบำลและเอกชนมีกำรนำำคอมพิวเตอร์มำใช้ในหน่วยงำนขึ้น
และมีแนวโน้มที่จะมีกำรใช้สูงขึ้น โดยปัจจุบันกำรใช้คอมพิวเตอร์มีหลำก
หลำยลักษณะ ได้แก่
1. คอมพิวเตอร์ในสถำนศึกษำ
2. คอมพิวเตอร์ในงำนวิศวกรรม
33
3. คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์์
4. คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
5. คอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร
6. คอมพิวเตอร์ในร้านค้าปลีก
7. คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์์
8. คอมพิวเตอร์ในการคมนาคม และการสื่อสาร
9. คอมพิวเตอร์ในงานด้านอุตสาหกรรม
10. คอมพิวเตอร์ในวงราชการ
1. คอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา
ปัจจุบันตามสถานศึกษาต่างๆ ได้มีการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ
เรียนการสอนอย่างมากมาย รวมทั้งใช้คอมพิวเตอร์ในงานบริหารของ
โรงเรียน เช่น การจัดทำาประวัตินักเรียน ประวัติครูอาจารย์ การคัด
คะแนนสอบ การจัดทำาตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ในงานห้องสมุด การ
จัดทำาตารางสอน เป็นต้น ตัวอย่างในการประยุกต์ด้านการศึกษา เช่น
โปรแกรมรายงานการลงทะเบียนเรียน โปรแกรมตรวจข้อสอบ เป็นต้น
2. คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม
คอมพิวเตอร์สามารถทำางานในด้านวิศวกรรมได้ตั้งแต่ขั้นตอนการลอก
เขียนแบบ จนกระทั่งถึงการออกแบบโครงสร้างของสถาปัตยกรรมต่างๆ
ตลอดจนช่วยคำานวณโครงสร้าง ช่วยในการวางแผนและควบคุมการ
สร้าง
34
3. คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์
คอมพิวเตอร์สามารถทำางานร่วมกับเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ
เช่น เครื่องมือวิเคราะห์สารเคมี เครื่องมือการทดลองต่างๆ แม้กระทั่งการ
เดินทางของยานอวกาศต่างๆ การถ่ายพื้นผิวโลกบนดาวอังคาร เป็นต้น
4. คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้มากมาย มีความรวดเร็ว และถูก
ต้อง ทำาให้สามารถได้ข้อมูลที่ช่วยให้สามารถตัดสินใจในการดำาเนิน
ธุรกิจ ตลอดจนงานทางด้านเอกสารงานพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น
5. คอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร
ในแวดวงธนาคารนับได้ว่าคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทมากที่สุด
เพราะธนาคารจะมีการนำาข้อมูล Transaction) เป็นประจำาทุกวัน การหา
อัตราดอกเบี้ยต่างๆ นอกจากนี้การใช้บริการ ATM ซึ่งลูกค้าสามารถฝาก
35
ถอนเงินได้จากเครื่องอัตโนมัติ ซึ่งจะให้สะดวกแก่ผู้ใช้บริการเป็นอย่าง
ยิ่ง และเป็นที่นิยมแพร่หลายในปัจจุบัน
6. คอมพิวเตอร์ในร้านค้าปลีก
ปัจจุบันเห็นได้ว่า ได้มีธุรกิจร้านค้าปลีกหรือที่เรียกว่า "เฟรนไซน์"
เป็นจำานวนมาก ได้มีการนำาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการ ให้บริการลูกค้า
เช่น ให้บริการชำาระ ค่านำ้า - ไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ เป็นต้น จะเห็นได้ว่ามี
การ online ระหว่างร้านค้าเหล่านั้นกับหน่วยงานนั้นๆ เพื่อสามารถตัด
ยอดบัญชีได้ เป็นต้น
7. คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์
คอมพิวเตอร์ได้ถูกนำามาใช้ในการเก็บประวัติของคนไข้ ควบคุมการ
รับและจ่ายยา ตลอดจนยังอยู่ในอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ เช่น
เครื่องมือผ่าตัด บันทึกการเต้นของหัวใจ ตรวจคลื่นสมอง และด้านการหา
ตำาแหน่งของอวัยวะก่อนการผ่าตัด เป็นต้น
36
Basic1
Basic1
Basic1
Basic1
Basic1

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศArm'Physics Sonsern-Srichai
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์nprave
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมnawapornsattasan
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4Mevenwen Singollo
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsupatra2011
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 

What's hot (20)

คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

Similar to Basic1

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศนายโอ ครับท่าน
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์prakaipet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นjintana2
 
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นคอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นjintana2
 
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศMameawjung ZaZa
 
1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwka1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwkaguest53a11a
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นTonic Junk
 

Similar to Basic1 (20)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นคอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
 
Comandtechno5
Comandtechno5Comandtechno5
Comandtechno5
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
Learnning02
Learnning02Learnning02
Learnning02
 
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwka1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwka
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 

Basic1

  • 1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Basic Concepts of Computer and Information Technology ส่วนประกอบทางกายภาพของคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ใน ชีวิตประจำาวันและงานด้านต่างๆ เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคม Basic physical make-up of a personal computer, computer and information network, computer applications in everyday life, information technology and society. เนื้อหาความรู้ในโมดูลที่ 1 1. บทนำา คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ชนิดของคอมพิวเตอร์ การทำางานของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 2. ฮาร์ดแวร์ Hardware หน่วยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) อุปกรณ์นำาเข้า (Input devices) อุปกรณ์แสดงผล (Output devices) 3. หน่วยความจำา Memory หน่วยความจำารอม (ROM) และ (RAM) DRAM (ดีแรม) และ SDRAM (เอสดีแรม) SIMM (ซิม) หน่วยความจำาเสมือน (Virtual Memory) หน่วยความจำาแคช (Memory Cache) และ บัส (Bus) หน่วยข้อมูลสำารอง 4. ซอร์ฟแวร์ Software ชนิดของ Software 5. คอมพิวเตอร์กับชีวิตประจำาวันและงานด้านต่าง ๆ คอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ คอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร คอมพิวเตอร์ในร้านค้าปลีก คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์ คอมพิวเตอร์ในการคมนาคม และการสื่อสาร
  • 2. คอมพิวเตอร์ในงานด้านอุตสาหกรรม คอมพิวเตอร์ในวงราชการ 6. เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคม การเปลี่ยนแปลงของโลก ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว ทรัพย์สินทางปัญญา 1. บทนำา ในสภาวะการณ์ปัจจุบัน คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศมี บทบาทต่อการทำางานเป็นอย่างมาก ในบทเรียนนี้จะกล่าวถึงความหมาย ชนิด การทำางาน ของคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศกับการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม 1.1 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ในบทนี้จะกล่าวถึง ความหมายของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศ ประโยชน์ที่มนุษย์นำามาใช้ด้านต่างๆ 1.1.1 ความหมายของของพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำางานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำาข้อมูลและคำาสั่งได้ ทำาให้สามารถทำางานไปได้โดยอัตโนมัติ ด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้ประโยชน์ในการคำานวณหรือการทำางาน ต่างๆได้เกือบทุกชนิด คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการคำานวณ และประมวลผลข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยคุณสมบัติ 3 ประการ คือ ความเร็ว (Speed) เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางานด้วยความเร็วสูงมาก หน่วยความเร็วของการทำางานของคอมพิวเตอร์วัดเป็น - มิลลิเซกัน (Millisacond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000 วินาที - ไมโครเซกัน (Microsecond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000,000 วินาที - นาโนเซกัน (Nanosacond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000,000,000 วินาที 2
  • 3. หน่วยความจำา (Memory) เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยหน่วย ความจำา สามารถใช้บันทึกและเก็บข้อมูลได้คราวละมากๆ สามารถเก็บคำา สั่งต่อๆ กันที่เราเรียกว่า โปรแกรม และนำามาประมวลในคราวเดียวกัน ซึ่งเป็นปัจจัยทำาให้คอมพิวเตอร์สามารถทำางานเก็บข้อมูลได้คราวละมากๆ และสามารถประมวลผลได้เร็วและถูกต้อง ความสามารถในการเปรียบเทียบ (Logical) เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบ ด้วยหน่วยคำานวณและตรรกะ นอกจากจะมีความสามารถในการคำานวณ แล้วยังมีความสามารถในการเปรียบเทียบ ความสามารถนี้เองที่ทำาให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างกับเครื่องคิดเลข และคุณสมบัตินี้ที่ทำาให้นัก คอมพิวเตอร์สร้างโปรแกรมอัตโนมัติขึ้นใช้อย่างกว้างขวาง คอมพิวเตอร์ ยังมีความแม่นยำาในการคำานวณ มีความเที่ยงตรงแม้จะทำางานเหมือนเดิม ซำ้ากันหลายรอบ และสามารถติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ อีก ด้วย 3
  • 4. 1.1.2 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ การใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์กระจายไปอยู่ในทุกวงการ - ด้านธุรกิจ ได้แก่การนำาคอมพิวเตอร์มาประมวลงานด้านธุรกิจ - ด้านการธนาคาร ปัจจุบันทุกธนาคารจะนำาระบบคอมพิวเตอร์มา ใช้งานในองค์กรของตนเพื่อให้บริการลูกค้า - ด้านตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์เป็นศูนย์กลางการซื้อขาย หลักทรัพย์ จะมีข้อมูลจำานวนมากและต้องการความรวดเร็วในการปฏิบัติ งาน - ธุรกิจโรงแรม ระบบคอมพิวเตอร์สามารถใช้ในการบริหาร โรงแรม การจองห้องพัก การติดตั้งระบบ Online ตามแผนกต่างๆ - การแพทย์ มีการนำาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างกว้างขวาง เช่น ทะเบียนประวัติคนไข้,ระบบข้อมูลการให้ภูมิคุ้มกันโรค,สถิติด้านการ แพทย์,ด้านการบัญชี - วงการศึกษา การนำาคอมพิวเตอร์มาใช้กับสถาบันการศึกษาจะมี ระบบงานที่เกี่ยวกับ การเรียนการสอน การวิจัย การบริหาร - ด้านอุตสาหกรรมทั่วไป - ด้านธุรกิจสายการบิน สายการบินต่างๆทั่วโลกได้นำาเอา คอมพิวเตอร์มาใช้งานอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะงานการสำารองที่นั่งและ เที่ยวบิน - ด้านการบันเทิง เช่น วงการภาพยนตร์ การดนตรี เต้นรำา 1.1.3 ความหมายและความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ มาจากคำาภาษาอังกฤษว่า Information Technology และมีผู้นิยมเรียกทับศัพท์ย่อว่า IT สุชาดา กีระนันท์ (2541) ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีทุกด้านที่เข้า ร่วมกัน ในกระบวนการจัดเก็บสร้าง และสื่อสารสนเทศ ครรชิต มาลัยวงศ์ (2539) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วยเทคโนโลยีที่สำาคัญ สองสาขาคือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม โดยทั่วไปแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศจะครอบคลุมถึงเทคโนโลยีต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการบันทึก จัดเก็บ ประมวลผลสืบค้น ส่งและรับข้อมูลในรูปของ 4
  • 5. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวมถึงเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์จัดเก็บ บันทึกและค้นคืน เครือข่ายสื่อสาร ข้อมูล อุปกรณ์สื่อสาร และโทรคมนาคม รวมทั้งระบบที่ควบคุมการทำางานของอุปกรณ์เหล่านี้ ครรชิต มาลัยวงศ์ (2541) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำาคัญ ดังนี้ 1. สามารถจัดเก็บข้อมูลจากจุดเกิดได้อย่างรวดเร็ว 2. สามารถบันทึกข้อมูลจำานวนมากๆไว้ใช้งานหรือไว้อ้างอิง การดำาเนินงานหรือการตัดสินใจใดๆ 3. สามารถคำานวณผลลัพธ์ต่างๆได้รวดเร็ว 4. สามารถสร้างผลลัพธ์ได้หลากหลายรูปแบบ 5. สามารถส่งสารสนเทศ ข้อมูล หรือผลลัพธ์ที่ได้จากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว 1.2 ชนิดของคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ โดยใช้ความ แตกต่างจากขนาดของเครื่อง ความเร็วในการประมวลผล รวมทั้งราคา เป็นหลัก ซึ่งแบ่งได้เป็นดังนี้ คือ 1.2.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ Super Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ โดยใช้ความ แตกต่างจากขนาดของเครื่อง ความเร็วในการประมวลผล รวมทั้งราคาเป็นหลัก ซึ่งแบ่งได้เป็นดังนี้ คือ หมายถึง คอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ที่มีสมรรถนะสูง มีความเร็วใน การทำางาน และประสิทธิ ภาพสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ มีราคาแพงมาก มี ขนาดใหญ่ สามารถคำานวณทางคณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อ 5
  • 6. วินาที และได้รับการออกแบบเพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากได้อย่าง รวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน งานควบคุม ขีปนาวุธ งานควบคุมทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ งาน ด้านวิทยาศาสตร์เคมี งานทำาแบบจำาลองโมเลกุลของสารเคมี งานด้าน วิศวกรรมการออกแบบ งานวิเคราะห์โครงสร้างอาคารที่ซับซ้อน ซึ่งหาก ใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลาใน การคำานวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถ แก้ไขปัญหาได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น ซูเปอร์คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจำาที่ใหญ่มากๆ สามารถทำางานหลาย อย่างได้พร้อมๆ กัน โดยที่งานเหล่านั้นอาจจะเป็นงานที่แตกต่างกัน อาจ จะเป็นงานใหญ่ที่ถูกแบ่งย่อยไปให้หน่วยประมวลผลแต่ละตัวทำางานก็ได้ และยังใช้โครงสร้างการคำานวณแบบขนานที่เรียกว่า เอ็มพีพี (Massively Parallel Processing : MPP) ซึ่งเป็นการคำานวณที่กระทำา กับข้อมูลหลายๆ ตัวหรือหลายๆ งานในเวลาเดียวกันได้พร้อมๆ กันเป็น จำานวนมาก ทำาให้มีความสามารถในการทำางานแบบมัลติโปรเซสซิง (Multiprocessing) หรือความสามารถในการทำางานหลายงานพร้อมๆ กันได้ ดังนั้น จึงมีผู้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (High Performance Computer) ความเร็วในการคำานวณของซูเปอร์คอมพิวเตอร์จะมีการวัดหน่วย เป็น นาโนวินาที (nanosecond) หรือเศษหนึ่งส่วนพันล้านวินาที และ กิกะฟลอป (gigaflop) หรือการคำานวณหนึ่งพันล้านครั้งในหนึ่งวินาที ปัจจุบันประเทศไทย มีเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์ Cray YMP ใช้ในงาน วิจัย อยู่ที่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์สมรรถภาพสูง (HPCC) ศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ผู้ใช้เป็นนักวิจัยด้าน วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ทั่วประเทศ 6
  • 7. 1.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ Mainframe Computer หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีสมรรถะสูง แต่ยังตำ่ากว่าซู เปอร์คอมพิวเตอร์ มีความเร็วสูงมาก มีหน่วยความจำาขนาดมหึมา เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้จำานวนหลายร้อยคน ที่ใช้ โปรแกรมที่แตกต่างกันนับร้อยพร้อมๆ กันได้ เหมาะกับการใช้งานทั้งใน ด้านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวข้องกับ ข้อมูลจำานวนมากๆ เครื่องเมนเฟรมได้รับการพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยพร้อมๆ กันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่จะมีจำานวนหน่วยประมวลที่น้อย กว่า และเครื่องเมนเฟรมจะวัดความเร็วอยู่ในหน่วยของ เมกะฟลอป (Megaflop) หรือการคำานวณหนึ่งล้านครั้งในหนึ่งวินาที ข้อเด่นของการใช้เมนเฟรมจึงอยู่ที่งานที่ต้องการให้มีระบบ ศูนย์กลาง และกระจายการใช้งานไปเป็นจำานวนมากเช่น ระบบเอทีเอ็ม ซึ่งเชื่อมต่อกับฐาน เครื่องเมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผู้ใช้เหล่านั้นไว้ ในหน่วยความจำาหลัก และมีการสับเปลี่ยนหรือสวิทช์การทำางานระหว่าง 7
  • 8. โปรแกรมต่างๆ เหล่านั้นอย่างรวดเร็ว โดยที่ผู้ใช้จะไม่รู้สึกเลยว่าเครื่อง เมนเฟรมที่ใช้ มีการสับเปลี่ยนการทำางานไปทำางานของผู้ใช้คนอื่นๆ อยู่ ตลอดเวลา หลักการที่เครื่องเมนเฟรมสามารถทำางานหลายโปรแกรม พร้อมๆ กันนั้นเรียกว่า มัลติโปรแกรม-มิง (Multiprogramming) 1.2.3 มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง มีสมรรถนะตำ่ากว่าเครื่อง เมนเฟรม แต่สูงกว่าเวิร์คสเตชัน จุดเด่นที่สำาคัญ คือ ราคาย่อมเยากว่า เมนเฟรม และการใช้งานใช้บุคลากรไม่มากนักมินิคอมพิวเตอร์เริ่มพัฒนา ขึ้นใน ค.ศ. 1960 ต่อมาบริษัท Digital Equipment Corporation หรือ DEC ได้ ประกาศตัวมินิ คอมพิวเตอร์ DEC PDP-8 (Programmed Data Processor) ในปี ค.ศ.1965 ซึ่งได้รับความนิยมจากบริษัทหรือองค์กรที่มีขนาดกลาง เพราะมี ราคาถูกกว่าเครื่องเมนเฟรมมากเครื่องมินิ คอมพิวเตอร์ใช้หลักการของ มัลติโปรแกรมมิงเช่นเดียวกับเครื่องเมนเฟรม โดยจะสามารถรองรับผู้ ใช้ได้นับร้อยคนพร้อมๆกัน แต่เครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะทำางานได้ช้ากว่า การควบคุมผู้ใช้งานต่างๆ ทำาน้อยกว่า สื่อที่เก็บข้อมูลมีความจุไม่สูงเท่า เมนเฟรม 8
  • 9. การทำางานบนเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้จะสามารถ ควบคุมการรับข้อมูลและดูการแสดงผลบนจอภาพได้เท่านั้น ไม่สามารถ ควบคุมอุปกรณ์รอบข้างอื่นๆ ได้ แต่การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ชนิดที่มีผู้ ใช้คนเดียวนั้น ผู้ใช้สามารถควบคุมอุปกรณ์รอบข้างต่างๆ ได้ทั้งหมด ไม่ ว่าจะเป็นหน่วยรับข้อมูลหน่วยประมวลผล หน่วย แสดงผล ตลอดจน หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง สามารถเลือกใช้โปรแกรมได้ โดยไม่ต้องกังวลว่า จะต้องไปแย่งเวลาการเรียกใช้ข้อมูลกับผู้ใช้อื่น 9
  • 10. 1.2.4 เวิร์คสเตชั่น และไมโครคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์สำาหรับผู้ใช้คนเดียว สามารถแบ่งออกเป็นสองรุ่น คือ เวิร์คสเตชัน หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ถูกออกแบบมาให้เป็น คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ สามารถทำางานพร้อมกันได้หลายงาน และ ประมวลผลเร็วมาก มีความสามารถในการคำานวณด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นการแสดงผลด้านกราฟิก เช่น นำามา ช่วยในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อออกแบบชิ้นส่วน เป็นต้น ซึ่งจากการที่ ต้องทำางานกราฟิกที่มีความละเอียดสูง ทำาให้เวิร์คสเตชันใช้หน่วย ประมวลผลที่มีประสิทธิภาพมาก รวมทั้งมีหน่วยเก็บข้อมูลสำารองจำานวน มากด้วย เวิร์คสเตชันส่วนมากใช้ชิปประเภท RISC (Reduce instruction set computer) ซึ่งเป็นชิปที่ลดจำานวนคำาสั่งที่สามารถใช้ สั่งงานให้เหลือเฉพาะที่จำาเป็น เพื่อให้สามารถทำางานได้ด้วยความเร็วสูง 10
  • 11. ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก และใช้งาน คนเดียว เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) จัดว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทั้งระบบใช้งานครั้ง ละคนเดียว หรือใช้งานในลักษณะเครือข่าย แบ่งได้หลายลักษณะตาม ขนาด เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบตั้งโต๊ะ (Personal Computer) หรือแบบพกพา (Portable Computer) 1.3 การทำางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อช่วยให้ ทำางานได้เร็ว สะดวก และแม่นยำามากขึ้น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้ ทำางานอย่างได้มีประสิทธิภาพ จึงต้องเรียนรู้ และเข้าใจ ส่วนประกอบ วิธี การทำางานของ คอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนสำาคัญคือ ขั้นตอนที่ 1 การรับข้อมูลและคำาสั่ง คอมพิวเตอร์รับข้อมูลและคำา สั่งผ่านอุปกรณ์นำาเข้าข้อมูล คือ เมาส์ คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ ไมโครโฟน ฯลฯ ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลหรือคิดคำานวณ ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ รับเข้ามา จะถูกประมวลผลโดยการทำางานของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) ตามคำาสั่งของโปรแกรม หรือ ซอฟต์แวร์ การประมวลผลข้อมูล เช่น นำาข้อมูลมาบวก ลบ คูณ หาร ทำาการเรียงลำาดับข้อมูล นำาข้อมูลมาจัดกลุ่ม นำาข้อมูลมาหาผลรวม เป็นต้น ขั้นตอนที่ 3 การแสดงผลลัพธ์ คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ของ ข้อมูลที่ป้อน หรือแสดงผลจากการประมวลผล ทางจอภาพ (Monitor) เครื่องพิมพ์ (Printer) หรือลำาโพง ขั้นตอนที่ 4 การเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์จะทำาการเก็บผลลัพธ์จาก การประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึกข้อมูล (Floppy disk) ซีดีรอม เพื่อให้สามารถนำามาใช้ใหม่ได้ในอนาคต 1.3 การทำางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อช่วยให้ ทำางานได้เร็ว สะดวก และแม่นยำามากขึ้น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้ ทำางานอย่างได้มีประสิทธิภาพ จึงต้องเรียนรู้ และเข้าใจ ส่วนประกอบ วิธี การทำางานของ คอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนสำาคัญคือ ขั้นตอนที่ 1 การรับข้อมูลและคำาสั่ง คอมพิวเตอร์รับข้อมูลและคำา สั่งผ่านอุปกรณ์นำาเข้าข้อมูล คือ เมาส์ คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ ไมโครโฟน ฯลฯ ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลหรือคิดคำานวณ ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ รับเข้ามา จะถูกประมวลผลโดยการทำางานของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) ตามคำาสั่งของโปรแกรม หรือ ซอฟต์แวร์ การประมวลผลข้อมูล เช่น นำาข้อมูลมาบวก ลบ คูณ หาร 11
  • 12. ทำำกำรเรียงลำำดับข้อมูล นำำข้อมูลมำจัดกลุ่ม นำำข้อมูลมำหำผลรวม เป็นต้น ขั้นตอนที่ 3 กำรแสดงผลลัพธ์ คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ของ ข้อมูลที่ป้อน หรือแสดงผลจำกกำรประมวลผล ทำงจอภำพ (Monitor) เครื่องพิมพ์ (Printer) หรือลำำโพง ขั้นตอนที่ 4 กำรเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์จะทำำกำรเก็บผลลัพธ์จำก กำรประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล เช่น ฮำร์ดดิสก์ แผ่นบันทึกข้อมูล (Floppy disk) ซีดีรอม เพื่อให้สำมำรถนำำมำใช้ใหม่ได้ในอนำคต 1.4.1 จอภำพ (Monitor) อำจเรียกทับศัพท์ว่ำ มอนิเตอร์ (Monitor), สกรีน (Screen), ดิสเพลย์ (Display) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลทั้งข้อควำม ภำพนิ่ง และภำพ เคลื่อนไหว จอภำพในปัจจุบันส่วนมำกใช้จอแบบหลอดภำพ (CRT หรือ Cathode Ray Tube) เหมือนจอภำพของเครื่องรับโทรทัศน์ และจอแบบ ผลึกเหลว (LCD หรือ Liquid Crystal Display) มีลักษณะเป็นจอแบน 1.4.2 ตัวเครื่อง (Computer Case) เป็นส่วนที่เก็บอุปกรณ์หลักของคอมพิวเตอร์ เช่น CPU, Disk Drive, Hard Disk ฯลฯ 1.4.3. คีย์บอร์ด (Keyboard) 12
  • 13. หรือแป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้พิมพ์คำำสั่ง หรือป้อนข้อมูล เข้ำสู่คอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ดมีลักษณะคล้ำยแป้นพิมพ์ดีด แต่จะมีปุ่มพิมพ์ มำกกว่ำ 1.4.4 เมำส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรชี้ตำำแหน่งต่ำงๆบนจอภำพ ซึ่งจะ เป็นกำรสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำำงำน เช่นเดียวกับกำรป้อนคำำสั่งทำงคีย์บอร์ด เมื่อเลื่อนเมำส์ไปมำจะทำำให้เครื่องหมำยชี้ตำำแหน่งบนจอภำพ (Cusor) เลื่อนไปในทิศทำงเดียวกันกับที่เลื่อนเมำส์นั้น 1.4.5 เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลข้อมูลออกมำทำงกระดำษ เครื่องพิมพ์มี หลำยแบบ เช่น เครื่องพิมพ์จุด (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer) และเครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Inkjet Printer) เป็นต้น 1.4.6 สแกนเนอร์ (Scanner) 13
  • 14. เป็นอุปกรณ์นำำเข้ำข้อมูล โดยเอำรูปภำพหรือข้อควำมมำส แกน แล้วจัดเก็บไว้เป็นไฟล์ภำพ เพื่อนำำไปใช้งำนต่อไป เครื่องสแกนมีทั้ง ชนิด อ่ำนได้เฉพำะภำพขำวดำำ และชนิดอ่ำนภำพสีได้ นอกจำกนี้ยังมีชนิด มือถือ 1.4.7 โมเด็ม (Modem) เป็นอุปกรณ์ที่ทำำหน้ำที่แปลงสัญญำณคอมพิวเตอร์ให้ สำมำรถส่งไปตำมสำยโทรศัพท์ได้ และแปลงข้อมูลจำกสำยโทรศัพท์ให้เป็น สัญญำณที่คอมพิวเตอร์สำมำรถรับรู้ได้ 2. ฮำร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ฮำร์ดแวร์์ หมำยถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ รอบข้ำงที่เกี่ยวข้องต่ำงๆ ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่สำำคัญคือ หน่วยประมวล ผลกลำง หน่วยควำมจำำหลัก หน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล และหน่วย เก็บข้อมูลสำำรอง 2.1 หน่วยประมวลผลกลำง (CPU: Central Processing Unit) หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit – CPU) หรืออำจ เรียกว่ำ ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) หรือชิป (Chip) เป็น หัวใจของคอมพิวเตอร์ ทำำหน้ำที่ในกำรคิดคำำนวณ ประมวลผล และควบคุม กำรทำำงำนของอุปกรณ์อื่นในระบบ ลักษณะของซีพียูจะเป็นชิ้นส่วนขนำด เล็กมำก ภำยในประกอบด้วยทรำนซิสเตอร์ประกอบกันเป็นวงจรหลำยล้ำน 14
  • 15. ตัว ตัวอย่ำงเช่น ซีพียูรุ่นเพนเทียมจะมีทรำนซิสเตอร์เล็กๆจำำนวนมำกถึง 3.1 ล้ำนตัว ซีพียูมีหน่วยที่ใช้ในกำรบอกขนำดเรียกว่ำ บิต (Bit) ถ้ำจำำนวนบิต มำกจะสำมำรถทำำงำนได้เร็วมำกควำมเร็วของซีพียู (Speed) มีหน่วยวัด เป็น เมกะเฮริตซ์ (MHz = MegaHertz) ถ้ำค่ำตัวเลขยิ่งสูงแสดงว่ำยิ่งมี ควำมเร็วมำก ปัจจุบันควำมเร็วของซีพียูสำมำรถทำำงำนได้ถึงระดับกิกะเฮ ริตซ์ (GHz = Gigahertz) โดยมีควำมเร็วระหว่ำง 2-3 GHz ในกำร เลือกใช้ซีพียู ผู้จำำหน่ำยจะบอกไว้ว่ำเครื่องรุ่นนี้มีควำมเร็วเท่ำใด เช่น Pentium IV 2.8 GHz หมำยควำมว่ำ CPU รุ่นเพนเทียม IV มีควำมเร็ว 2.8 กิกะเฮิรตซ์ 2.1.1 องค์ประกอบของหน่วยประมวลผลกลำง หน่วยประมวลผลกลำง "ไมโครโปรเซสเซอร์" (Microprocessor) ประกอบด้วยหน่วยสำำคัญสองหน่วย คือ หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำำ หน้ำที่ควบคุมกำรทำำงำนของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ เปรียบเสมือนเป็น ศูนย์กลำงระบบประสำท ที่ทำำหน้ำที่ควบคุมกำรทำำงำนของส่วนประกอบ ต่ำงๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะรับรู้คำำสั่งต่ำงๆ ในรูปของคำำสั่งภำษำ เครื่องเท่ำนั้น หน่วยคำำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit) หรือที่เรียกสั้นๆว่ำ เอแอลยู (ALU)ทำำหน้ำที่ประมวลผลกำรคำำนวณทำง คณิตศำสตร์ ตลอดจนกำรเปรียบเทียบทำงตรรกะทั้งหมด 15
  • 16. กำรทำำงำนในซีพียูมี รีจิสเตอร์ (Register) คอยทำำหน้ำที่เก็บและ ถ่ำยทอดข้อมูลหรือคำำสั่งที่ถูกนำำเข้ำมำปฏิบัติกำรภำยในซีพียู รวมทั้งมี บัส (Bus) เป็นเส้นทำงในกำรส่งผ่ำนสัญญำณไฟฟ้ำของหน่วยต่ำงๆ ภำยในระบบ 2.2 อุปกรณ์นำำเข้ำ (Input devices) ทำำหน้ำที่รับข้อมูลจำกผู้ใช้เข้ำสู่หน่วยควำมจำำหลัก ที่พบเห็นอยู่ ทั่วไปได้แก่ 2.2.1 อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device) แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นหน่วยรับข้อมูลที่นิยมใช้กันมำกที่สุด เพรำะ เป็นอุปกรณ์มำตรฐำนในกำรป้อนข้อมูลสำำหรับเทอร์มินัล และไมโคร คอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะมีลักษณะคล้ำยแป้นของเครื่องพิมพ์ดีด แต่มี จำำนวนแป้นมำกกว่ำ และถูกแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มด้วยกันคือ - แป้นอักขระ (Character Keys) มีลักษณะกำรจัดวำงตัวอักษร เหมือนแป้นบนเครื่องพิมพ์ดีด - แป้นควบคุม (Control Keys) เป็นแป้นที่มีหน้ำที่สั่งกำรบำงอย่ำง โดยใช้งำนร่วมกับแป้นอื่น - แป้นฟังก์ชัน (Function Keys) คือ แป้นที่อยู่แถวบนสุด มี สัญลักษณ์เป็น F1,...F12 ซอฟต์แวร์แต่ละชนิดอำจกำำหนดแป้นเหล่ำนี้ให้ มีหน้ำที่เฉพำะอย่ำงแตกต่ำงกันไป - แป้นตัวเลข (Numeric Keys) เป็นแป้นที่แยกจำกแป้นอักขระมำ อยู่ทำงด้ำนขวำ มีลักษณะคล้ำยเครื่องคิดเลข ช่วยอำำนวยควำมสะดวกใน กำรบันทึกตัวเลขเข้ำสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจำกนี้ ยังมีแป้นพิมพ์บำงประเภทที่ออกแบบมำให้ใช้กับงำนเฉพำะ ด้ำน เช่น แป้นพิมพ์ที่ใช้ในร้ำนอำหำรแบบเร่งด่วน (fast food restaurant) จะใช้พิมพ์เฉพำะชื่ออำหำร เช่น ถ้ำต้องกำร french fries ก็กดที่แป้นคำำว่ำ “French fries” ตำมด้วยรำคำเท่ำนั้น หรือแป้น 16
  • 17. พิมพ์ที่ใช้เครื่องฝำก-ถอนอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine) เป็นต้น 2.2.2 อุปกรณ์ชี้ตำำแหน่ง Pointing Devices เมำส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์สำำหรับใช้เลื่อนตัวชี้ตำำแหน่ง (Cursor) บนจอภำพ มีหลำยขนำดและมี รูปร่ำงต่ำงกันไป แต่ที่นิยมใช้จะมีขนำดเท่ำ ฝ่ำมือ มีลูกกลมกลิ้งอยู่ด้ำนล่ำง หรือเป็นระบบแสง ส่วนด้ำนบนจะมีปุ่มให้ กดจำำนวนสอง สำม หรือสี่ปุ่ม แต่ที่นิยมใช้กันมำกคือ สองปุ่ม ใช้ส่งข้อมูล เข้ำสู่หน่วยควำมจำำหลักโดยกำรเลื่อนเมำส์ให้ลูกกลมด้ำนล่ำงหมุน เพื่อ เป็นกำรเลื่อนตัวชี้ตำำแหน่งบนจอภำพไปยังตำำแหน่งที่ต้องกำรทำำให้กำร โต้ตอบระหว่ำงผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทำำได้รวดเร็วกว่ำแป้นพิมพ์ ผู้ใช้ อำจใช้เมำส์วำดรูป เลือกทำง เลือกจำกเมนู และเปลี่ยนแปลงหรือย้ำย ข้อควำม ปัจจุบันเมำส์ได้มีกำรพัฒนำเป็นแบบเมำส์ไร้สำย อย่ำงไรก็ดี เมำส์ ยังไม่สำมำรถใช้ในกำรป้อนตัวอักษรได้ จึงยังคงต้องใช้คู่กับแป้นพิมพ์ใน กรณีที่มีกำรพิมพ์ ตัวอักษร แต่สำำหรับผู้ที่เริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ กำรใช้ เมำส์เพียงอย่ำงเดียวจะทำำให้เกิดควำมผิดพลำดน้อยกว่ำกำรใช้แป้นพิมพ์ ลูกกลมควบคุม (Trackball) เป็นอุปกรณ์ชี้ตำำแหน่ง โดยจะเป็นลูกบอล เล็กๆซึ่งอำจวำงอยู่หน้ำจอภำพในเนื้อที่ของแป้นพิมพ์ หรือเป็นอุปกรณ์ต่ำง หำกเช่นเดียวกับเมำส์ เมื่อผู้ใช้หมุนลูกบอลก็จะเป็นกำรเลื่อนตำำแหน่งของ ตัวชี้ตำำแหน่งบนจอภำพ มีหลักกำรทำำงำนเช่นเดียวกับเมำส์ แท่งชี้ควบคุม (Track Point) เป็นอุปกรณ์ชี้ตำำแหน่งขนำดเล็ก นิยมใช้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพำจะเป็นแท่งพลำสติกเล็กๆ อยู่ตรงกลำงแป้น 17
  • 18. พิมพ์ บังคับโดยใช้นิ้วหัวแม่มือเพื่อเลื่อนตำำแหน่งของตัวชี้ตำำแหน่งบน จอภำพเช่นเดียวกับเมำส์ แผ่นรองสัมผัส จะเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมที่วำงอยู่หน้ำแป้นพิมพ์ สำมำรถใช้นิ้ววำดเพื่อเลื่อนตำำแหน่งของตัวชี้ตำำแหน่งบนจอภำพเช่นเดียว กับเมำส์ จอยสติก (Joy stick) จะเป็นก้ำนสำำหรับใช้โยกขึ้นลง/ซ้ำยขวำ เพื่อย้ำย ตำำแหน่งของตัวชี้ตำำแหน่งบนจอภำพ มีหลักกำรทำำงำนเช่นเดียวกับเมำส์ แต่จะมีแป้นกดเพิ่มเติมมำจำำนวนหนึ่งสำำหรับสั่งงำนพิเศษ นิยมใช้กับกำร เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์หรือควบคุมหุ่นยนต์ 2.2.3 จอภำพระบบไวต่อกำรสัมผัส จอภำพระบบสัมผัส (Touch screen) เป็นจอภำพแบบพิเศษซึ่งผู้ ใช้เพียงแตะปลำยนิ้วลงบนจอภำพในตำำแหน่งที่กำำหนดไว้ เพื่อเลือกกำร ทำำงำนที่ต้องกำร นิยมใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้ผู้ที่ใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่คล่องนักสำมำรถเลือกข้อมูลที่ต้องกำรได้อย่ำง สะดวกรวดเร็ว จะพบกำรใช้งำนมำกในร้ำนอำหำรแบบเร่งด่วน หรือใช้ แสดงข้อมูลกำรท่องเที่ยว เป็นต้น 18
  • 19. 2.2.4 ระบบปำกกำ (Pen-Based System) ปำกกำแสง (Light Pen) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สัมผัสกับจอภำพเพื่อชี้ ตำำแหน่งและวำดข้อมูล โดยใช้เซลล์ แบบ photoelectric ซึ่งมีควำมไว ต่อแสงเป็นตัวกำำหนดตำำแหน่งบนจอภำพ รวมทั้งสำมำรถใช้วำดลักษณะ หรือรูปแบบของข้อมูลให้ปรำกฏบนจอภำพ กำรใช้งำนทำำได้โดยกำรแตะ ปำกกำแสงไปบนจอภำพตำมตำำแหน่งที่ต้องกำรนิยมใช้กับงำน คอมพิวเตอร์ช่วยกำรออกแบบ (CAD หรือ Computer Aided Design) รวมทั้งนิยมใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลโดยกำรเขียนด้วยมือใน คอมพิวเตอร์ขนำดเล็ก เช่น PDA เป็นต้น 2.2.5 อุปกรณ์กวำดข้อมูล (Data Scanning Devices) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ ระบบกำรวิเครำะห์แสง (Optical recognition Systems) ช่วยให้มีกำรพิมพ์ข้อมูลเข้ำน้อยที่สุด โดยจะอ่ำนข้อมูลเข้ำสู่ เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกำรใช้ลำำแสงกวำดผ่ำนข้อควำม หรือสัญลักษณ์ ต่ำงๆที่พิมพ์ไว้ เพื่อนำำไปแยกแยะรูปแบบต่อไป ในปัจจุบันมีกำรประยุกต์ใช้ ในงำนต่ำงๆกันมำก โดยมีอุปกรณ์ที่ได้รับควำมนิยม คือ เครื่องอ่ำนรหัสบำร์โคด (Bar Code Reader) เป็นอุปกรณ์ที่มี ลักษณะคล้ำยปำกกำแสง ใช้ฉำยแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องกำรอ่ำน ซึ่ง รหัสสินค้ำต่ำงๆจะอยู่ในรูปของแถบสีดำำและขำวต่อเนื่องกันไป เรียกว่ำรหัส บำร์โคด เครื่องอ่ำนรหัสบำร์โคดจะอ่ำนข้อมูลบนแถบบำร์โคด เพื่อเรียก 19
  • 20. ข้อมูลจำกรำยกำรสินค้ำนั้น เช่นรำคำสินค้ำ จำำนวนที่เหลืออยู่ในคลังสินค้ำ เป็นต้น ออกมำจำกฐำนข้อมูล แล้วจึงทำำกำรประมวลผลข้อมูลรำยกำรนั้น ในปัจจุบัน บำร์โคคได้รับควำมนิยมอย่ำงมำก เนื่องจำกไม่ต้องทำำกำรพิมพ์ ข้อมูลเข้ำด้วยแป้นพิมพ์ จึงลดควำมผิดพลำดของข้อมูลและประหยัดเวลำได้ มำก ระบบบำร์โคดเป็นสิ่งที่ผู้ใช้จะพบเห็นในชีวิตประจำำวันได้บ่อยที่สุด เช่น ในห้ำงสรรพสินค้ำ ร้ำนขำยหนังสือ และห้องสมุด เป็นต้น สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่ำนหรือสแกน (Scan) ข้อมูลบนเอกสำรเข้ำสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้วิธีส่องแสงไปยังวัตถุที่ ต้องกำร แสงที่ส่องไปยังวัตถุแล้วสะท้อนกลับมำจะถูกส่งผ่ำนไปที่ เซลล์ไว แสง (Charge-Coupled Device หรือ CCD) ซึ่งจะทำำกำรตรวจจับควำม เข้มของแสงที่สะท้อนออกมำจำกวัตถุและแปลงให้อยู่ในรูปของข้อมูลทำง ดิจิตอล เอกสำรที่อ่ำนอำจจะประกอบด้วยข้อควำมหรือรูปภำพกรำฟิกก็ได้ กล้องถ่ำยภำพดิจิตอล (Digital camera) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำำหรับ ถ่ำยภำพแบบไม่ต้องใช้ฟิล์ม โดยเก็บภำพที่ถ่ำยไว้ในลักษณะดิจิตอลด้วย อุปกรณ์ CCD (Charge Coupled Device) ภำพที่ได้จะประกอบด้วยจุด เล็กๆ จำำนวนมำก และสำมำรถนำำเข้ำเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งำนได้โดย ไม่ต้องใช้อุปกรณ์สแกนเนอร์อีกเป็นอุปกรณ์ที่เริ่มได้รับควำมนิยมเพิ่มขึ้น เรื่อยๆ เนื่องจำกไม่ต้องใช้ฟิล์มในกำรถ่ำยภำพและสำมำรถดูผลลัพธ์ได้จำก จอที่ติดอยู่กับกล้องได้ในทันที 20
  • 21. กล้องถ่ำยทอดวีดีโอดิจิตอล (Digital Video) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำำหรับ บันทึกภำพเคลื่อนไหว และเก็บเป็นข้อมูลแบบดิจิตอล นิยมใช้ในกำรประชุม ทำงไกลผ่ำนวิดีโอ (Video conference) ซึ่งเป็นกำรประชุมแบบกลุ่มผ่ำน เครือข่ำยคอมพิวเตอร์ เช่น ผ่ำนอินเทอร์เน็ต เป็นต้น อย่ำงไรก็ดีกล้อง ถ่ำยทอดวีดีโอแบบดิจิตอลยังอยู่ 2.3 อุปกรณ์แสดงผล (Output devices) หมำยถึง กำรแสดงผลออกมำให้ผู้ใช้ได้รับทรำบในขณะนั้น แต่เมื่อ เลิกกำรทำำงำนหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็จะหำยไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บ ได้ แต่ถ้ำต้องกำรเก็บผลลัพธ์นั้นก็สำมำรถส่งถ่ำยไปเก็บในรูปของข้อมูล ในหน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง เพื่อให้สำมำรถใช้งำนในภำยหลัง หน่วยแสดง ผลที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ คือ 2.3.1 หน่วยแสดงผลชั่วครำว หมำยถึง กำรแสดงผลออกมำให้ผู้ใช้ได้รับทรำบในขณะนั้น แต่เมื่อ เลิกกำรทำำงำนหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็จะหำยไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้ แต่ถ้ำต้องกำรเก็บผลลัพธ์นั้นก็สำมำรถส่งถ่ำยไปเก็บในรูปของข้อมูลใน หน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง เพื่อให้สำมำรถใช้งำนในภำยหลัง หน่วยแสดงผลที่ จัดอยู่ในกลุ่มนี้ คือ จอภำพ (Monitor) ใช้แสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ให้ผู้ใช้เห็นได้ทันที 21
  • 22. มีรูปร่ำงคล้ำยจอภำพของโทรทัศน์บนจอภำพประกอบด้วยจุดจำำนวน มำกมำย เรียกจุดเหล่ำนั้นว่ำ จุดภำพ (pixel) ถ้ำมีจุดภำพจำำนวนมำกก็จะ ทำำให้ ผู้ใช้มองเห็นภำพบนจอได้ชัดเจนมำกขึ้น จอภำพที่ใช้ในปัจจุบันแบ่ง ได้เป็นสองประเภท คือ - จอซีอำร์ที (Cathode Ray Tube) นิยมใช้กับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมำกในปัจจุบันใช้หลักกำรยิงแสงผ่ำนหลอดภำพ คล้ำยกับโทรทัศน์ - จอภำพแอลซีดี (Liquid Crystal Display) เป็นจอภำพ ที่มีลักษณะบำง นำ้ำหนักเบำและกินไฟน้อย แต่มีรำคำสูง เทคโนโลยีจอแอล ซีดีในปัจจุบันจะมีสองแบบคือ Passive Matrix ซึ่งมีรำคำตำ่ำแต่ขำดควำม คมชัดและอำจมองไม่เห็นภำพเมื่อผู้ใช้มองจำกบำงมุม ส่วน Active Matrix หรือบำงครั้งอำจเรียกว่ำ Thin Film Transistor (TFT) จะให้ ภำพที่คมชัดกว่ำแต่จะมีรำคำสูงกว่ำมำก ในส่วนควำมละเอียดของจอภำพ ปัจจุบัน นิยมใช้จอภำพชนิดสีแบบ Super Video Graphic Adapter หรือเรียกสั้นๆว่ำ ซูเปอร์วีจีเอ (Super VGA) ซึ่งมีควำมละเอียด 800x600 จุดภำพ สำำหรับจอภำพที่มีควำมละเอียดตำ่ำ (low resolution) ส่วนจอภำพ ที่มีควำมละเอียดสูง จะนิยมใช้ควำมละเอียดที่ 1024x768, 1280x1024 หรือ 1600x1200 จุดภำพ (pixel) ซึ่งจะให้ควำมคมชัดที่สูงมำก 22
  • 23. ปัจจัยหนึ่งที่ทำำให้ภำพดูคมชัดมำกขึ้นถึงแม้ว่ำจะมีจำำนวนจุดภำพ เท่ำกัน ก็คือ ระยะห่ำงระหว่ำงจุดภำพ (dot pitch) โดยระยะห่ำง ระหว่ำงจุดภำพน้อยก็จะให้ควำมละเอียดได้มำกกว่ำ จอภำพที่มีขำยใน ท้องตลำดปัจจุบันมีระยะห่ำงระหว่ำงจุดภำพอยู่ระหว่ำง 0.25-0.28 หน่วย ซึ่งระยะห่ำงระหว่ำงจุดภำพนี้เป็นสิ่งที่ติดมำกับเครื่องไม่สำมำรถ เปลี่ยนแปลงได้ในส่วนของจำำนวนสีนั้น ณ ขณะใดขณะหนึ่งแต่ละจุด ภำพจะแสดงสีได้เพียงสีเดียวเท่ำนั้น ซึ่งสีต่ำงๆ จะถูก แทนด้วยตัวเลข ดังนั้น ถ้ำจอภำพแสดงได้ 16 สี เลขเหล่ำนั้นก็จะแทน ด้วย 4 บิต ถ้ำต้องกำรแสดงถึง 256 สี ก็จะต้องใช้ 8 บิตแทนรหัสสีนั้นๆ กำร์ดวิดีโอ (Video Card) กำรต่อจอภำพเข้ำกับเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์นั้นจะต้องมีแผงวงจรกรำฟิก (Graphic Adapter Board) หรือเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ กำร์ดวีดีโอ (video card) ซึ่งจอภำพแต่ละ ชนิดต้องกำรแผงวงจรที่ต่ำงกัน แผงวงจรกรำฟิกจะถูกเสียบเข้ำกับ ช่อง ขยำยเพิ่มเติม (expansion slot) ในคอมพิวเตอร์แผงวงจรกรำฟิกมักจะ มีหน่วยควำมจำำเฉพำะที่เรียกว่ำ หน่วยควำมจำำวีดีโอ (video memory) เพื่อให้ใช้โปรแกรมด้ำนกรำฟิกได้สวยงำมและรวดเร็ว ซึ่งหน่วยควำมจำำ นี้อำจใช้แรมธรรมดำหรือแรมแบบพิเศษต่ำงๆ เพื่อให้ สำมำรถทำำงำนได้เร็วขึ้น เช่น วีดีโอแรม (video RAM) ซึ่งบำงครั้งเรียก ว่ำ วีแรม (VRAM) เป็นต้น ปัจจัยประกำรหนึ่งที่ผู้ใช้จอภำพต้องคำำนึง คือ อัตรำกำรเปลี่ยน ภำพ (refresh rate) ของกำร์ดวีดีโอโดยภำพที่แสดงบนจอภำพแต่ละ ภำพนั้นจะถูกลบและแสดงภำพใหม่เริ่มจำกบนลงล่ำง หำกอัตรำกำร เปลี่ยนภำพในแนวดิ่ง (Vertical-refresh rate) เป็น 60 ครั้งต่อวินำที หรือ 60 Hz จะเกิดกำรกระพริบทำำให้ผู้ใช้ปวดศีรษะได้มีผู้วิจัยพบว่ำ อัตรำเปลี่ยนภำพในแนวดิ่งไม่ควรตำ่ำกว่ำ 70 Hz จึงจะไม่เกิดกำรกระ พริบ และทำำให้ผู้ใช้ดูจอภำพได้อย่ำงสบำยตำ นอกจำกนี้ยังมีอุปกรณ์ สำำหรับถอดรหัสภำพแบบ MPEG (Motion Picture Experts) ซึ่งอำจ อยู่ในรูปของซอฟต์แวร์ หรือฮำร์ดแวร์ที่ติดอยู่บนกำร์ดวีดีโอ อันจะทำำให้ สำมำรถแสดงภำพเคลื่อนไหว เช่น ภำพยนตร์ต่ำงๆ บนจอคอมพิวเตอร์ ได้อย่ำงต่อเนื่อง 23
  • 24. อุปกรณ์เสียง (Audio Output) คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ๆ มักจะมี หน่วยแสดงเสียง ซึ่งประกอบด้วย ลำำโพง(speaker) และ กำร์ดเสียง (sound card) เพื่อให้ผู้ใช้สำมำรถฟังเพลงในขณะทำำงำน หรือให้ เครื่องคอมพิวเตอร์รำยงำนเป็นเสียงให้ทรำบเมื่อเกิดปัญหำต่ำงๆ เช่น ไม่มีกระดำษในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น รวมทั้งสำมำรถเล่นเกมส์ที่มีเสียง ประกอบได้อย่ำงสนุกสนำน โดยลำำโพงจะมีหน้ำที่ในกำรแปลงสัญญำณ จำกคอมพิวเตอร์ให้เป็นเสียงเช่นเดียวกับลำำโพงวิทยุ ส่วนกำร์ดเสียงจะ เป็นแผงวงจรเพิ่มเติมที่นำำมำเสียงกับช่องเสียบขยำยในเมนบอร์ด เพื่อ ช่วยให้คอมพิวเตอร์สำมำรถส่งสัญญำณเสียงผ่ำนลำำโพง รวมทั้งสำมำรถ ต่อไมโครโฟนเข้ำมำที่กำร์ดเพื่อบันทึกเสียงเก็บไว้ด้วย 2.3.2 หน่วยแสดงผลถำวร หมำยถึง กำรแสดงผลที่สำมำรถจับต้องและเคลื่อนย้ำยได้ตำม ต้องกำรมักจะออกมำในรูปของกระดำษเช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็น อุปกรณ์ที่นิยมใช้กันมำก มีให้เลือกหลำยชนิดขึ้นอยู่กับคุณภำพของตัว อักษร ควำมเร็วในกำรพิมพ์ และเทคโนโลยีที่ใช้งำน เครื่องพิมพ์สำมำรถ แบ่งตำมวิธีกำรพิมพ์ได้ 2 ชนิด คือ เครื่องพิมพ์แบบกระทบหรือตอก (Impact printer) เป็นกำรใช้ หัวเข็มตอกให้คำร์บอนบนผ้ำหมึกติดบนกระดำษตำมรูปแบบที่ต้องกำร สำมำรถพิมพ์ครั้งละหลำยชุดโดยใช้กระดำษคำร์บอนวำงระหว่ำง กระดำษแต่ละแผ่นได้ ส่วนข้อเสียของเครื่องพิมพ์ชนิดนี้ คือ มีเสียงดัง และคุณภำพงำนพิมพ์ไม่ดีนัก 24
  • 25. เครื่องพิมพ์แบบไม่กระทบหรือไม่ตอก (Nonimpact printer) เป็นกำรพิมพ์โดยใช้หมึกพ่นไปบนกระดำษหรือใช้ควำมร้อนและควำมดัน เพื่อละลำยหมึกให้เป็นลักษณะของอักขระ เป็นกำรพิมพ์ที่เร็วและคมชัด กว่ำแบบกระทบ และพิมพ์ได้ทั้งตัวอักษรและภำพกรำฟิก รวมทั้งไม่มีเสียง ขณะพิมพ์ แต่มีข้อจำำกัดคือ ไม่สำมำรถพิมพ์กระดำษแบบสำำเนำ (copy) ได้ เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser printer) ทำำงำนคล้ำยกับเครื่องถ่ำย เอกสำร คือ มีแสงเลเซอร์สร้ำงประจุไฟฟ้ำ ซึ่งจะมีผลให้โทนเนอร์ (toner) สร้ำงภำพที่ต้องกำรและพิมพ์ภำพนั้นลงบนกระดำษ เครื่องพิมพ์ เลเซอร์จะมีรุ่นต่ำงๆที่แตกต่ำงกันในด้ำนควำมเร็ว และควำมละเอียดของ งำนพิมพ์ ในปัจจุบันสำมำรถพิมพ์ได้ละเอียดสูงสุดถึง 1200 จุดต่อนิ้ว (dot per inch หรือ dpi) เครื่องพิมพ์พ่นหมึก (Inkjet printer) นิยมใช้กับเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์ ส่วนมำกจะพิมพ์สีได้ ถึงแม้จะไม่คมชัดเท่ำเครื่องพิมพ์ชนิด เลเซอร์ แต่ก็คมชัดกว่ำเครื่องพิมพ์ชนิดตอก และมีรำคำถูกกว่ำ เครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์ นิยมนำำมำใช้งำนตำมบ้ำนอย่ำงมำก 25
  • 26. เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) ใช้วำดหรือเขียนภำพสำำหรับงำนที่ ต้องกำรควำมละเอียดสูงๆ นิยมใช้กับงำนออกแบบทำงสถำปัตยกรรมและ วิศวกรรม มีให้เลือกหลำยชนิดโดยจะแตกต่ำงกันในด้ำนควำมเร็ว ขนำด กระดำษ และจำำนวนปำกกำที่ใช้เขียนในแต่ละครั้ง มีรำคำแพงกว่ำ เครื่องพิมพ์ธรรมดำ 26
  • 27. 3. หน่วยควำมจำำ Memory อุปกรณ์ส่วนที่สำำคัญอย่ำงหนึ่งที่คอมพิวเตอร์จะขำดไม่ได้คือ หน่วย ควำมจำำ Memory ซึ่งมีหลำยประเภท ตำมลักษณะกำรทำำงำน ดังนี้ 3.1 หน่วยควำมจำำรอม (ROM) และ (RAM) คำำว่ำ ROM ย่อมำจำก Read Only Memory เป็นหน่วยควำมจำำที่ เก็บข้อมูลแบบถำวร รอมที่ใช้บันทึกข้อมูลของอุปกรณ์ที่ติดตั้งบน เมนบอร์ด เช่น ขนำดและประเภทของฮำร์ดดิสก์ที่ใช้ ขนำดของแรม หน่วยประมวลผลที่ใช้กำรติดตั้งหน่วยขับแผ่นบันทึก (Floppy drive) เป็นต้น ข้อมูลที่บันทึกในรอม จะยังคงอยู่แม้จะปิดเครื่อง หน้ำที่ของรอม คือจะตรวจสอบว่ำมีอุปกรณ์ใดบ้ำง ที่ติดตั้งใช้งำน หำกตรวจสอบไม่ อุปกรณ์ที่สำำคัญๆ เช่น ไม่พบฮำร์ดดิสก์ ซีพียู หรือแรม รอมจะหยุดกำร ทำำงำน คำำว่ำ RAM ย่อมำจำก Random Access Memory เป็น หน่วย เก็บข้อมูลหลักของคอมพิวเตอร์ แต่ข้อมูลจะสูญหำยทันที เมื่อปิดเครื่อง ในกำรใช้งำนจริง จึงต้องบันทึกข้อมูลไว้ในฮำร์ดดิสก์ก่อนปิดเครื่อง หน่วยควำมจำำแรม มีหน่วยวัดเป็น ไบต์ (byte) ซึ่งถ้ำเป็นเครื่องรุ่น เก่ำจะนิยมใช้หน่วยควำมจำำแรม 8 หรือ 16 เมกะไบต์ (Megabyte) แต่ ถ้ำเป็นเครื่องรุ่นใหม่ๆ จะใช้แรมขนำด 128 หรือ 256 MB ขึ้นไป ซึ่งจะ ทำำให้สำมำรถทำำงำนกับโปรแกรมรุ่นใหม่ หรือกับแฟ้มข้อมูลที่มีขนำด ใหญ่ๆ เช่น งำนมัลติมีเดียหรืองำนกรำฟิกได้ 3.2 DRAM (ดีแรม) และ SDRAM (เอสดีแรม) 27
  • 28. DRAM เป็นหน่วยควำมจำำหลักของเครื่อง นิยมใช้มำกในสมัยก่อน เพรำะรำคำไม่แพง แต่ทำำงำนได้ช้ำมำกปัจจุบันมีกำรใช้ SDRAM (Synchronous DRAM) ซึ่งเป็นหน่วยควำมจำำที่มีประสิทธิภำพสูงมำก ในสมัยก่อนอำจจะมีรำคำสูง แต่ปัจจุบันรำคำได้ถูกลงมำก คนจึงนิยมใช้ SDRAM มำกขึ้น SIMM (ซิม) เป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำำหรับติดตั้งหน่วย ควำมจำำ ติดตั้งบนเมนบอร์ด เรำสำมำรถเพิ่มจำำนวนแรมโดยเสียบแผง วงจรเข้ำกับซิมนี้ เพียงเท่ำนี้ก็สำมำรถเพิ่มแรมได้อย่ำงง่ำยๆสะดวก รวดเร็วและสำมำรถทำำได้ด้วยตนเอง ดังนั้นข้อจำำกัดของกำรเพิ่มแรม คือ จำำนวนช่องของ SIMM และขนำดของแรมแต่ละแผงที่นำำมำเสียบลงบน SIMM 3.3 หน่วยควำมจำำเสมือน (Virtual Memory) หมำยถึง หน่วยควำมจำำประเภทหนึ่งใช้สำำหรับแสดงผล เป็นหน่วย ควำมจำำที่ถูกสร้ำงขึ้นมำในกรณีที่หน่วยควำมจำำแรมไม่พอใช้ โดยระบบ ปฏิบัติกำรจะมีกำรนำำเอำพื้นที่ในฮำร์ดดิสก์บำงส่วนมำเป็นพื้นที่ทำำงำน ชั่วครำวในขณะเปิดแฟ้มข้อมูล และจะลบทิ้งเมื่อปิดแฟ้มข้อมูล เรำจึง เรียกว่ำ “หน่วยควำมจำำเสมือน” ข้อเสียของกำรใช้หน่วยควำมจำำเสมือน คือ ถ้ำพื้นที่ว่ำงมีน้อยกว่ำที่กำำหนดไว้ คอมพิวเตอร์จะทำำงำนช้ำลง กำร ใช้งำนฮำร์ดดิสก์จึงมักจะให้มีเนื้อที่ที่ไม่ได้ใช้งำน เหลือไว้ไม่น้อยกว่ำ 10 เปอร์เซ็นต์ 28
  • 29. ในกำรใช้งำนคอมพิวเตอร์นั้น เรำจะต้องเลือกขนำดของแรมที่ เหมำะสม โดยเฉพำะโปรแกรมปฏิบัติกำร (OS) รุ่นใหม่ๆ เช่น Windows 98, Windows XP เป็นระบบปฏิบัติกำรขนำด 32 บิต ต้องใช้แรม 64 MB ขึ้นไป หำกใช้แรมน้อยกว่ำนี้เครื่องอำจจะทำำงำนช้ำมำกหรืออำจ หยุดชะงักได้ง่ำย 3.4 หน่วยควำมจำำแคช (Memory Cache) และ บัส (Bus) หน่วยควำมจำำแคชเป็นหน่วยควำมจำำที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำำงำนได้เร็วขึ้น เป็นกำรเก็บข้อมูลที่เรำเคยเรียกใช้แล้วเอำไว้ในกรณีที่ เรำต้องกำรเรียกใช้ก็มำเรียกข้อมูลจำกแคช ซึ่งจะดึงข้อมูลได้เร็วกว่ำ หน่วยควำมจำำดิสก์มำก หน่วยควำมจำำแคช มี 2 ประเภท คือ 1. แคชภำยใน ติดตั้งอยู่ภำยในซีพียู เวลำเครื่องประมวลผล ก็จะ เรียกเก็บข้อมูลที่เก็บไว้ที่แคชใกล้ๆ ซีพียูมำใช้ได้อย่ำงรวดเร็ว 2. แคชภำยนอก จะติดตั้งอยู่บนเมนบอร์ดเหมือนแรม ถ้ำเครื่องไม่ พบแคชในซีพียูก็จะมองหำแคชภำยนอก ถ้ำพบก็จะนำำมำใช้งำน ซึ่งก็จะ ทำำงำนได้ช้ำกว่ำแคชภำยในอยู่บ้ำง 29
  • 30. เป็นเส้นทำงวิ่งระหว่ำงข้อมูลหรือคำำสั่ง กำรวัดขนำดควำมกว้ำงของ บัส เรำเรียกว่ำ “บิต” 8 บิต เท่ำกับ 1 ไบต์ หรือ 1 ตัวอักษร ส่วนควำมเร็ว ของ บัส วัดด้วยหน่วยเมกะเฮิรตซ์ (Mhz) หรือหนึ่งล้ำนรอบต่อวินำที บัส ที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ บัสแบบ PCI (Peripheral Component Interconnect) มีควำมกว้ำงของสัญญำณที่ใช้รับส่งข้อมูลถึง 32 หรือ 64 บิต ควำมเร็วมำกกว่ำ 300 MHz ขึ้นไป นอกจำกนี้ PCI ยังสนับสนุน คุณสมบัติPlug and Play ที่ใช้ในกำรติดตั้งโปรแกรมที่ใช้ควบคุม อุปกรณ์ใหม่ด้วย 3.5 หน่วยข้อมูลสำำรอง คอมพิวเตอร์หรือซีพียูจะเรียกใช้ข้อมูลจำกหน่วยเก็บข้อมูลหลัก คือ แรมก่อน หำกข้อมูลที่ต้องกำรไม่มีในแรม ก็จะทำำกำรอ่ำนข้อมูลจำก หน่วยเก็บข้อมูลสำำรองไปเก็บไว้ที่แรม เพรำะหน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง สำมำรถจะเก็บรักษำข้อมูลไว้ได้ แม้ว่ำจะปิดเครื่อง และเก็บข้อมูลได้ มำกกว่ำหน่วยเก็บข้อมูลหลัก หน่วยเก็บข้อมูลสำำรองแบ่งออกเป็น แผ่น บันทึก (Floppy Disk) หรือที่นิยมเรียกว่ำ ดิสเก็ตต์ (diskette) มี ลักษณะเป็นแผ่นแม่เหล็ก ทรงกลม มีพลำสติกแข็งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม ครอบไว้ชั้นนอก ขนำด 3.5 นิ้ว สำมำรถจุข้อมูลได้ 1.44 MB ก่อนกำร ใช้งำน จะต้องทำำกำรฟอร์แมตแผ่นก่อน ปัจจุบันแผ่นดิสเก็ตต์จะฟอร์แมตมำจำก โรงงำนผู้ผลิตแล้ว สำมำรถนำำมำใช้งำนได้ทันที กำรใช้งำนจะเสียบใส่ ในเครื่องขับแผ่นบันทึก (Floppy Drive) ซึ่งเป็นอุปกรณ์อ่ำนและเขียน แผ่นดิสก์ ติดตั้งอยู่ภำยในตัวถังของเครื่อง แผ่นบันทึก (Floppy disk) เก็บข้อมูลได้ไม่มำกนัก เหมำะสำำหรับกำรพกพำ เพรำะมีขนำดเล็ก สำมำรถนำำข้อมูลไปใช้งำนกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ได้สะดวก 30
  • 31. จำนบันทึกแบบแข็ง (Hard Disk) เป็นหน่วยเก็บข้อมูลขนำดใหญ่ สำมำรถเก็บข้อมูลได้มำกกว่ำฟลอปปี้ดิสก์หลำยล้ำนเท่ำ ฮำร์ดดิสก์ติดตั้ง ในตัวเครื่อง มีขนำดประมำณ 3.5 นิ้ว แต่มีควำมหนำกว่ำฟลอปปี้ดิสก์ มี ตัวอ่ำนข้อมูลอยู่ภำยใน ในปัจจุบันมีฮำร์ดดิสก์ตั้งแต่ 40 กิกะไบต์ (GB) ขึ้นไป จึงสำมำรถเก็บข้อมูลได้มำก รวมทั้งโปรแกรมต่ำงๆ ในปัจจุบัน ที่ ต้องกำรพื้นที่ในกำรเก็บข้อมูลมำกขึ้น โดยเฉพำะโปรแกรมประเภท กรำฟฟิกหรือมัลติมีเดีย จำำเป็นต้องใช้พื้นที่เก็บข้อมูลมำกพอจึงจะใช้งำน ได้ ซีดี – รอม (CD-ROM) ย่อมำจำกคำำว่ำ Compact Disk Read – Only Memory เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่ได้รับควำมนิยมมำกรำคำไม่แพง มีอำยุ กำรใช้หลำยปี และมีขนำดเล็ก ซีดีรอมเป็นแผ่นพลำสติกกลม เส้นผ่ำน ศูนย์กลำง 4.75 นิ้ว ผิวหน้ำเคลือบด้วยโลหะสะท้อนแสง เพื่อป้องกัน ข้อมูลที่บันทึกไว้บันทึกและอ่ำนข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์ ปกติซีดีรอมใน ปัจจุบันจะมีควำมจุประมำณ 700 MB หรือเท่ำกับหนังสือประมำณ 700,000 หน้ำ หรือเท่ำกับฟลอปปี้ดิสก์ขนำด 1.44 MB ถึง 700 แผ่น สำมำรถบันทึกข้อมูลได้มำก โดยเฉพำะงำนด้ำนมัลติมีเดียทั้งภำพ แสง เสียง ในเวลำเดียวกัน ที่สำำคัญ คือ เป็นระบบที่ปลอดภัยจำกไวรัส 31
  • 32. ดีวีดี – รอม (DVD-ROM) ย่อมำจำก Digital Video Disk Read – Only Memory เป็นหน่วยเก็บข้อมูลรองชนิดหนึ่งที่กำำลังได้รับควำม นิยมมำกลักษณะคล้ำยซีดีรอมแต่สำมำรถเก็บข้อมูลได้มำกกว่ำซีดีรอม หลำยเท่ำคือ ขนำดมำตรฐำนเก็บข้อมูลได้ 4.7 GB หรือ 7 เท่ำของซีดี รอม และพัฒนำต่อเนื่องไปตลอดดีวีดีแผ่นหนึ่งสำมำรถบรรจุภำพยนตร์ ควำมยำวถึง 133 นำทีได้โดยใช้ลักษณะกำรบีบอัดข้อมูลแบบ MPEG-2 และระบบเสียงแบบดอลบี (Dolby AC-3) ปัจจุบันดีวีดีนิยมใช้ในกำร บันทึกภำพยนตร์และมัลติมีเดีย 4. ซอร์ฟแวร์ Software คอมพิวเตอร์จะทำำงำนไม่ได้เลยหำกปรำศจำก ซอร์ฟแวร์ Software ที่จะคอยรับคำำสั่งในรูปแบบต่ำง ๆ ไปประมวลผล และแสดงผลออกมำ 4.1 ชนิดของ software 32
  • 33. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติกำร (Operating System Software-OS) หมำยถึง ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ควบคุมกำรทำำงำนทั้งหมดของเครื่อง คอมพิวเตอร์ โดยคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบปฏิบัติกำรอย่ำงใด อย่ำงหนึ่งเสมอ ระบบปฏิบัติกำรยอดนิยมในปัจจุบัน คือ Windows 95, Windows 98, Windows 2000,Windows Me, Windows XP, Linux, DOS เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมำยถึง โปรแกรม ที่เขียนขึ้นมำเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำำงำนเฉพำะด้ำน เช่น โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมออกแบบ โปรแกรมสำำเร็จรูปต่ำงๆ เช่น Microsoft Word, Excel, PowerPoint เป็นต้น กำรใช้คอมพิวเตอร์ในกำรทำำงำนด้ำนต่ำงๆ เมื่อหลำยปีก่อน คอมพิวเตอร์มีอยู่ไม่มำกนัก ส่วนใหญ่จะเป็นระบบ เมนเฟรม ซึ่งมีขนำดใหญ่และรำคำแพง ส่วนมำกจะใช้งำนทำงด้ำน วิทยำศำสตร์เท่ำนั้น ซึ่งจะไม่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำำวันมำกนัก แต่ใน ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้มีขนำดเล็กลง และ รำคำไม่แพงนัก คนทั่วไป สำมำรถซื้อหำมำใช้ได้เหมือนกับ เครื่องใช้ไฟฟ้ำโดยทั่วไป ในหน่วย งำนทั้งภำครัฐบำลและเอกชนมีกำรนำำคอมพิวเตอร์มำใช้ในหน่วยงำนขึ้น และมีแนวโน้มที่จะมีกำรใช้สูงขึ้น โดยปัจจุบันกำรใช้คอมพิวเตอร์มีหลำก หลำยลักษณะ ได้แก่ 1. คอมพิวเตอร์ในสถำนศึกษำ 2. คอมพิวเตอร์ในงำนวิศวกรรม 33
  • 34. 3. คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์์ 4. คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 5. คอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร 6. คอมพิวเตอร์ในร้านค้าปลีก 7. คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์์ 8. คอมพิวเตอร์ในการคมนาคม และการสื่อสาร 9. คอมพิวเตอร์ในงานด้านอุตสาหกรรม 10. คอมพิวเตอร์ในวงราชการ 1. คอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา ปัจจุบันตามสถานศึกษาต่างๆ ได้มีการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ เรียนการสอนอย่างมากมาย รวมทั้งใช้คอมพิวเตอร์ในงานบริหารของ โรงเรียน เช่น การจัดทำาประวัตินักเรียน ประวัติครูอาจารย์ การคัด คะแนนสอบ การจัดทำาตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ในงานห้องสมุด การ จัดทำาตารางสอน เป็นต้น ตัวอย่างในการประยุกต์ด้านการศึกษา เช่น โปรแกรมรายงานการลงทะเบียนเรียน โปรแกรมตรวจข้อสอบ เป็นต้น 2. คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม คอมพิวเตอร์สามารถทำางานในด้านวิศวกรรมได้ตั้งแต่ขั้นตอนการลอก เขียนแบบ จนกระทั่งถึงการออกแบบโครงสร้างของสถาปัตยกรรมต่างๆ ตลอดจนช่วยคำานวณโครงสร้าง ช่วยในการวางแผนและควบคุมการ สร้าง 34
  • 35. 3. คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์สามารถทำางานร่วมกับเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ เช่น เครื่องมือวิเคราะห์สารเคมี เครื่องมือการทดลองต่างๆ แม้กระทั่งการ เดินทางของยานอวกาศต่างๆ การถ่ายพื้นผิวโลกบนดาวอังคาร เป็นต้น 4. คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้มากมาย มีความรวดเร็ว และถูก ต้อง ทำาให้สามารถได้ข้อมูลที่ช่วยให้สามารถตัดสินใจในการดำาเนิน ธุรกิจ ตลอดจนงานทางด้านเอกสารงานพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น 5. คอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร ในแวดวงธนาคารนับได้ว่าคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทมากที่สุด เพราะธนาคารจะมีการนำาข้อมูล Transaction) เป็นประจำาทุกวัน การหา อัตราดอกเบี้ยต่างๆ นอกจากนี้การใช้บริการ ATM ซึ่งลูกค้าสามารถฝาก 35
  • 36. ถอนเงินได้จากเครื่องอัตโนมัติ ซึ่งจะให้สะดวกแก่ผู้ใช้บริการเป็นอย่าง ยิ่ง และเป็นที่นิยมแพร่หลายในปัจจุบัน 6. คอมพิวเตอร์ในร้านค้าปลีก ปัจจุบันเห็นได้ว่า ได้มีธุรกิจร้านค้าปลีกหรือที่เรียกว่า "เฟรนไซน์" เป็นจำานวนมาก ได้มีการนำาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการ ให้บริการลูกค้า เช่น ให้บริการชำาระ ค่านำ้า - ไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ เป็นต้น จะเห็นได้ว่ามี การ online ระหว่างร้านค้าเหล่านั้นกับหน่วยงานนั้นๆ เพื่อสามารถตัด ยอดบัญชีได้ เป็นต้น 7. คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์ คอมพิวเตอร์ได้ถูกนำามาใช้ในการเก็บประวัติของคนไข้ ควบคุมการ รับและจ่ายยา ตลอดจนยังอยู่ในอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ เช่น เครื่องมือผ่าตัด บันทึกการเต้นของหัวใจ ตรวจคลื่นสมอง และด้านการหา ตำาแหน่งของอวัยวะก่อนการผ่าตัด เป็นต้น 36