SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ใบความรู้วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 3204-2001 ปวส.
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง วิธีการปฏิบัติ ที่มีการจัดลาดับอย่างมีรูปแบบและขั้นตอน
เพื่อที่จะทาให้เกิดประสิทธิภาพ ในเรื่องของความรวดเร็ว ความน่าเชื่อถือ ความถูกต้อง เป็นต้น
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลดิบ ที่ได้ผ่านการประมวลผล จากคอมพิวเตอร์มา
แล้ว นั่นคือได้ผ่านการคานวณ การจัดเรียง การเปรียบเทียบ เป็นต้น ผลลัพธ์ที่ได้สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องได้ เรียกว่า สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ จึงหมายถึง วิธีการปฏิบัติที่มีการจัดลาดับอย่างมีรูปแบบและขั้นตอน เพื่อที่จะทาให้
เกิดประสิทธิภาพ ในเรื่องของความรวดเร็ว ความน่าเชื่อถือ ความถูกต้อง ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่มีการนา
คอมพิวเตอร์ การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสาหรับการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม มาทางาน
ร่วมกัน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ โดยนาข้อมูลป้ อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วทาการ
ประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ
ระบบคอมพิวเตอร์
ะบบคอมพิวเตอร์ คือองค์ประกอบหลัก ที่จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางาน ได้อย่างสมบูรณ์ ถ้า
ขาดองค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถที่จะทางานได้ ระบบของคอมพิวเตอร์นี้
ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลักที่สาคัญ 3 ส่วนคือ
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คืออุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้ า อยู่ภายในเป็น
ส่วนใหญ่ สามารถจับต้องได้ เช่น กล่องซีพียู (Case) จอภาพ (Monitor) แป้ นพิมพ์ (Keyboard)
สแกนเนอร์(Scanner) เมนบอร์ด (Mainboard) ฮาร์ดดิสก์(Harddisk) เครื่องพิมพ์
(Printer) เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ (Software) คือโปรแกรม หรือชุดคาสั่ง ที่สั่งควบคุมให้ฮาร์ดแวร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์
ทางาน ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ซอฟต์แวร์จะถูกบรรจุอยู่ในสื่อ หรือวัสุดที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ฟอบปี้ดิสก์ ,
ฮาร์ดดิสก์ , ซีดีรอม , เทปไดร์ฟ และ ดีวีดีรอม เป็นต้น
พีเพิลแวร์ (Peopleware) คือ บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทางาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นนักวิเคราะห์ระบบ
(System Analysis) ผู้เขียน โปรแกรม (Programmer) ผู้ใช้โปรแกรม (User) โดยสรุปก็คือ บุคคลใดก็ตาม ที่มีหน้าที่
เกี่ยวข้องกับเครื่องคอมพิวเตอร์ จะถือว่าเป็นพีเพิลแวร์ทั้งสิ้น
ความหมายของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System :OS) หมายถึงโปรแกรม ที่ทาหน้าที่ในการจัดการ
ระบบ เพื่อติดต่อระหว่าง ฮาร์ดแวร์กับกับซอฟต์แวร์ ประเภทต่าง ๆ ให้สะดวกมากขึ้น เปรียบเสมือนเป็น
ตัวกลาง คอยจัดการระบบคอมพิวเตอร์ ระหว่างโปรแกรมกับฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ สอบ และค้นหา ไดร
เวอร์ต่าง ๆ ได้เอง มีระบบการทางานที่เรียกว่าPlug and Play และมีหน้าจอที่สวยงาม รองรับการใช้
งาน ทางด้านอินเตอร์เน็ต และระบบมัลติมีเดีย ได้เป็นอย่างดีให้ทดลองเปิดเครื่อง จะเข้าสู่ระบบปฏิบัติการ
Windows โดยอัตโนมัติ ปรากฏหน้าจอดังนี้
หน้าที่ของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ
เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่าง ผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ โดย
การจัดเตรียมโปรแกรมระบบปฏิบัติการ ใส่ไว้ในฮาร์ดดิสก์ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือใน
การติดต่อกับผู้ใช้เช่น ระบบปฏิบัติการ DOS ติดต่อกับผู้ใช้ โดยให้พิมพ์คาสั่ง ที่เครื่องหมายพร้อมรอรับ
คาสั่ง (Prompt Singe) ส่วนระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ติดต่อกับผู้ใช้โดยใช้ภาพกราฟิกส์ เป็นต้น
ควบคุมการทางานฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุมการใช้ดิสก์ไดรฟ์ ฮาร์ดดิสก์ คีย์บอร์ด และจอภาพ
เป็นต้น
ทางานร่วมกับโปรแกรมที่อยู่ในรอม เมื่อเริ่มบูตเครื่อง OS จะทางานต่อจากโปรแกรมประเภท
Firmware (ซอฟต์แวร์ ที่บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ บันทึกไว้ในหน่วยความจารอม เพื่อตรวจสอบความ
พร้อมของฮาร์ดแวร์ในระบบ) ที่จัดเก็บไว้ในรอม จะทางานเมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เรามักเรียก
Firmware นี้ว่า BIOS (Basic Input Output System) โดย BIOS จะทาการตรวจสอบ
ความพร้อม ระบบฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ จากนั้นจึงส่งหน้าที่ให้แก่ OS เพื่อให้ควบคุมการทางานของ
คอมพิวเตอร์
จัดตารางการใช้ทรัพยากร การเข้าใช้หน่วยประมวลผลกลาง
จัดการข้อมูลและสารสนเทศในหน่วยความจา
จัดการระบบการจัดเก็บไฟล์ข้อมูลลงบนสื่อสารอง (Secondary Storage Unit)
นาโปรแกรมประเภทอื่น เข้าประมวลผลในคอมพิวเตอร์ นอกจากประมวลผลแล้วยังคอยให้บริการ เมื่อ
โปรแกรมต่าง ๆ ต้องการใช้ทรัพยากรของระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่หน่วยความจา ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดรฟ์
เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย
จัดการเชื่อมต่อและควบคุมอุปกรณ์รอบข้างของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ เครื่องสแกนเนอร์
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการดอส :::: ระบบปฏิบัติการดอส (DOS : Disk Operating System)
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ xp 2007 2015
ระบบปฏิบัติการปาล์ม
ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์
ระบบปฏิบัติการ Windows 8 การบูต Windows 8 ด้วย HDD แบบ SSD ใช้เวลาบูต
เครื่อง 7 วินาทีเร็วกว่า Windows 7 ที่บูต 17 วิ เกือบ 10 วินาที
-Internet Explorer 10 สวยงามและไม่ช้าเหมือนเคยภาพลักษณ์ของ IE ที่คุ้นตาคนทั่วโลกคือเบ
ราเซอร์ที่ช้า ดูโบราณ และไม่มีใครอยากใช้แต่ IE 10 มาพร้อมกับภาพลักษณ์ที่ดูทันสมัยและ
ความเร็วก็ไม่ได้แย่ไปกว่าเบราเซอร์
-ปรับปรุง Task ManagerTask Manager ที่ใช้เพื่อดูการทางานของ Windows
ความหมายของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ มา
เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพื่อการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (File Server) ช่องทางการสื่อสาร (Communication Chanel) สถานี
งาน (Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation
System)
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ
ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น
ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่าHost
Computer
ช่องทางการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ
(Receiver) และผู้ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สาหรับการเชื่อมต่อ
เครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตี
เกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น
ประวัติความเป็นมา
อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่เป็นเครือข่ายใหญ่ และเครือข่ายย่อย จานวนมากเชื่อมต่อกัน เป็น
จานวนหลายร้อยล้านเครื่อง ซึ่งใช้ในการติดต่อสื่อสารข้อมูลที่เป็นรูปภาพ ข้อความ และเสียง โดยผ่าน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีผู้ใช้งานกระจายอยู่ทั่วโลก
อินเทอร์เน็ต มีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผลทางการทหาร เนื่องจากในยุคสงครามเย็น เมื่อประมาณ พ.ศ.
2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรีประชาธิปไตย ซึ่งนาโดยสหรัฐอเมริกา โดยต่างฝ่าย ต่างก็
กลัวขีปนาวุธ ของอีกฝ่ายหนึ่ง โดยผู้นาสหรัฐอเมริกา วิตกว่า ถ้าหากทางฝ่ายรัฐเซีย ยิงขีปนาวุธนิวเคลียร์
เข้ามา ถล่มจุดยุทธศาสตร์บางจุดของตนเองขึ้นมา อาจจะทาให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกันเสียหายได้ จึง
ได้สั่งให้มีการวิจัย เพื่อสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชนิดใหม่ขึ้นมา เพื่อป้ องกันความเสียหาย โดยมีจุ
ประสงค์ว่า ถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง ถูกทาลาย แต่เครื่องอื่นก็จะต้องใช้งานต่อไปได้ หน่วยงานที่
ทาหน้าที่ดูแลระบบเครือข่าย ในขณะนั้นมีชื่อว่า ARPA (Advanced Research Projects
Agency) ดังนั้นชื่อเครือข่ายในขณะนั้น จึงถูกเรียกว่า ARPANET ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 เครือข่าย
ขยายใหญ่โต เพิ่มมากขึ้น จากการระดม นักวิจัยเพื่อสร้างมาตรฐานใหม่ขึ้นมา เพื่อความเหมาะสม จึงได้
มาตรฐาน TCP/IP และนอกจากประโยชน์ด้านงานวิจัย และทางทหารแล้ว ยังได้นามาใช้ประโยชน์
ทางด้านธุรกิจ และการพาณิชย์อีกด้วย ต่อมาในปี พ.ศ. 2532 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
และนามาใช้ประโยชน์ ในการติดต่อข้อมูลข่าวสารมากมาย สาหรับในประเทศไทยได้มีการเริ่มต้นติดตั้ง
ระบบอินเทอร์เน็ต เป็นครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการศึกษาของ
มหาวิทยาลัย โดยติดต่อกับสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย โดยเชื่อมต่อเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ เพื่อรับส่ง
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2530 ต่อมากระทวง
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและพลังงาน ได้มอบหมายให้ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
แห่งชาติ (NECTEC) ให้ทุนสนับสนุน แก่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อ
ศึกษา ถึงการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตร์ 12 แห่งเข้าเป็นเครือข่าย
เดียวกันเมื่อ พ.ศ. 2531 หลังจากนั้นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เป็นเกตเวย์อินเทอร์เน็ต ในประเทศ
ไทยและเริ่มให้บริการทางอินเทอร์เน็ต เต็มรูปแบบในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 และต่อมาเมื่อปี พ.ศ.
2537 การสื่อสารแห่งประเทศไทย ร่วมลงทุนกับหน่วยงานของรัฐ และเอกชน เปิดให้บริการอินเทอร์เน็ต
เชิงพาณิชย์ 2 รายคือบริษัทอินเทอร์เน็ตประเทศไทย จากัด และบริษัท อินเทอร์เน็ต คอมเมอร์เชียล แอนด์
โนว์เลจเซอร์วิส จากัด ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น KSC คอมเมอร์เชียลอินเทอร์เน็ต จากัด
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ทาความเข้าใจได้ยาก ส่วนใหญ่ต้องม
ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดีจึงจะสามารถ
เขียนโปรแกรมสั่งงานได้ มีข้อดีในส่วนที่เขียนโปรแกรมควบคุมฮาร์ดแวร์ แต่ละส่วนได้โดยตรงจึงทางานได้
เร็ว แต่ไม่เหมาะที่จะใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างของภาษาระดับต่าได้แก่ ภาษาเครื่อง
(Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี้(Assembly Language) เป็นต้น
ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ไม่ยากนัก
เพราะมีลักษณะเป็นภาษาแบบโครงสร้าง ทาความเข้าใจได้ เหมือนกับภาษาระดับสูง แต่ทางานได้รวดเร็ว
เหมือนกับภาษาระดับต่า สามารถใช้บนเครื่องที่มีความเร็วต่างกัน โดยไม่ต้องดัดแปลง ภาษาระดับกลาง
ได้นาข้อดีของภาษาระดับต่า และระดับสูงมาพัฒนาเป็นภาษาระดับกลาง ดังนั้นภาษาระดับกลาง จึงเป็น
ที่นิยมใช้กันแพร่หลาย ตัวอย่างของภาษาระดับกลางได้ภาษาซี เป็นต้น
ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะ ของการ
ใช้คาสั่งเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มาก การสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน จะต้องมีการแปล
ความหมายของคาสั่ง โดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคาสั่งที่เรียกว่า Interpreter หรือ แปลครั้งเดียวทั้ง
โปรแกรมที่เรียกว่า Compiler
กาเนิดภาษาซี
ด้วยศักยภาพ และเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ที่แพร่หลาย จึงทาให้มีผู้คิดค้นพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาซีขึ้น คือ นายเดนนิส ริทชี่ (Dennis Ritchie) ที่ศูนย์วิจัยเบล (Bell Laboratories)
ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. 1972 และเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติการยูนิกส์ ซึ่ง
ใช้กันแพร่หลายในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ภาษาซี เป็นภาษาที่มีความใกล้เคียง กับ
ภาษาระดับต่า (low-level language) จึงทาให้นักพัฒนาโปรแกรม สามารถที่จะกาหนด
รายละเอียด ของโปรแกรม ให้เข้าถึงการทางานในส่วนต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ ให้มากที่สุด เพื่อให้เกิด
ความเร็วในการทางานสูงสุด และในขณะเดียวกัน ภาษาซีก็ยังมีความเป็นภาษาระดับสูง (high - level
language) ซึ่งทาให้ผู้พัฒนา สามารถที่จะพัฒนาโปรแกรมได้ โดยเน้นไปที่การแก้ปัญหาที่ต้องการได้
อย่างอิสระ
1. กรณีที่อยู่ในไดร์ฟซี โฟลเดอร์ TC และโฟลเดอร์ย่อย BIN C:TCBIN>
2. พิมพ์ TC และกดปุ่ม Enter C:TCBIN>TC
3. กรณีที่สร้างช๊อตคัตของไอคอนโปรแกรมภาษาซีเอาไว้บนเดสก์ทอปให้ดับเบิลคลิกที่
ไอคอนของโปรแกรมภาษาซี ในหนังสือเล่มนี้จะใช้ภาษา C++

More Related Content

What's hot

ห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อังห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อังpattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAuraiwan Worrasiri
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารChuan Fsk
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkorawinploy
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารbuntitaaaaa
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNew Prapairin
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNawaminthrachinuthit Bodindecha School
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารtophapp
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดelfinspiritap
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6ครู อินดี้
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029CUPress
 
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารklaokitti
 
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุดคำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุดelfinspiritap
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimproncharita
 

What's hot (18)

ห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อังห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
 
ฟิต
ฟิตฟิต
ฟิต
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุดคำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
 

Viewers also liked

Information Literacy of Undergraduate Students at Srinakharinwirot University
Information Literacy of Undergraduate Students at Srinakharinwirot UniversityInformation Literacy of Undergraduate Students at Srinakharinwirot University
Information Literacy of Undergraduate Students at Srinakharinwirot UniversitySrinakharinwirot University
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศKanitta_p
 
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศKanitta_p
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ของระบบสารสนเทศบทที่ 3 ซอฟต์แวร์ของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ของระบบสารสนเทศCpruce Labs
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 

Viewers also liked (8)

Information Literacy of Undergraduate Students at Srinakharinwirot University
Information Literacy of Undergraduate Students at Srinakharinwirot UniversityInformation Literacy of Undergraduate Students at Srinakharinwirot University
Information Literacy of Undergraduate Students at Srinakharinwirot University
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
 
OPAC Searching
OPAC Searching OPAC Searching
OPAC Searching
 
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ของระบบสารสนเทศบทที่ 3 ซอฟต์แวร์ของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ของระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 

Similar to บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์delloov
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
Introduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for LearningIntroduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for Learningkhon Kaen University
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1airly2011
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศsea111111
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายTa Khanittha
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศssuser64d17e1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศssuser64d17e1
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศDuangsuwun Lasadang
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnitszy151
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารbuntitaaaaa
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศParit Ncy
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจFluke Ggo
 
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบ
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบ
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบThanadphon
 

Similar to บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
Introduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for LearningIntroduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for Learning
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบ
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบ
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบ
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. ใบความรู้วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 3204-2001 ปวส. บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง วิธีการปฏิบัติ ที่มีการจัดลาดับอย่างมีรูปแบบและขั้นตอน เพื่อที่จะทาให้เกิดประสิทธิภาพ ในเรื่องของความรวดเร็ว ความน่าเชื่อถือ ความถูกต้อง เป็นต้น สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลดิบ ที่ได้ผ่านการประมวลผล จากคอมพิวเตอร์มา แล้ว นั่นคือได้ผ่านการคานวณ การจัดเรียง การเปรียบเทียบ เป็นต้น ผลลัพธ์ที่ได้สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องได้ เรียกว่า สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ จึงหมายถึง วิธีการปฏิบัติที่มีการจัดลาดับอย่างมีรูปแบบและขั้นตอน เพื่อที่จะทาให้ เกิดประสิทธิภาพ ในเรื่องของความรวดเร็ว ความน่าเชื่อถือ ความถูกต้อง ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่มีการนา คอมพิวเตอร์ การสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสาหรับการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม มาทางาน ร่วมกัน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ โดยนาข้อมูลป้ อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วทาการ ประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ระบบคอมพิวเตอร์ ะบบคอมพิวเตอร์ คือองค์ประกอบหลัก ที่จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางาน ได้อย่างสมบูรณ์ ถ้า ขาดองค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถที่จะทางานได้ ระบบของคอมพิวเตอร์นี้ ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลักที่สาคัญ 3 ส่วนคือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คืออุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้ า อยู่ภายในเป็น ส่วนใหญ่ สามารถจับต้องได้ เช่น กล่องซีพียู (Case) จอภาพ (Monitor) แป้ นพิมพ์ (Keyboard) สแกนเนอร์(Scanner) เมนบอร์ด (Mainboard) ฮาร์ดดิสก์(Harddisk) เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นต้น ซอฟต์แวร์ (Software) คือโปรแกรม หรือชุดคาสั่ง ที่สั่งควบคุมให้ฮาร์ดแวร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ ทางาน ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ซอฟต์แวร์จะถูกบรรจุอยู่ในสื่อ หรือวัสุดที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ฟอบปี้ดิสก์ , ฮาร์ดดิสก์ , ซีดีรอม , เทปไดร์ฟ และ ดีวีดีรอม เป็นต้น
  • 2. พีเพิลแวร์ (Peopleware) คือ บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทางาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นนักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ผู้เขียน โปรแกรม (Programmer) ผู้ใช้โปรแกรม (User) โดยสรุปก็คือ บุคคลใดก็ตาม ที่มีหน้าที่ เกี่ยวข้องกับเครื่องคอมพิวเตอร์ จะถือว่าเป็นพีเพิลแวร์ทั้งสิ้น ความหมายของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System :OS) หมายถึงโปรแกรม ที่ทาหน้าที่ในการจัดการ ระบบ เพื่อติดต่อระหว่าง ฮาร์ดแวร์กับกับซอฟต์แวร์ ประเภทต่าง ๆ ให้สะดวกมากขึ้น เปรียบเสมือนเป็น ตัวกลาง คอยจัดการระบบคอมพิวเตอร์ ระหว่างโปรแกรมกับฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ สอบ และค้นหา ไดร เวอร์ต่าง ๆ ได้เอง มีระบบการทางานที่เรียกว่าPlug and Play และมีหน้าจอที่สวยงาม รองรับการใช้ งาน ทางด้านอินเตอร์เน็ต และระบบมัลติมีเดีย ได้เป็นอย่างดีให้ทดลองเปิดเครื่อง จะเข้าสู่ระบบปฏิบัติการ Windows โดยอัตโนมัติ ปรากฏหน้าจอดังนี้ หน้าที่ของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่าง ผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ โดย การจัดเตรียมโปรแกรมระบบปฏิบัติการ ใส่ไว้ในฮาร์ดดิสก์ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือใน การติดต่อกับผู้ใช้เช่น ระบบปฏิบัติการ DOS ติดต่อกับผู้ใช้ โดยให้พิมพ์คาสั่ง ที่เครื่องหมายพร้อมรอรับ คาสั่ง (Prompt Singe) ส่วนระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ติดต่อกับผู้ใช้โดยใช้ภาพกราฟิกส์ เป็นต้น ควบคุมการทางานฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุมการใช้ดิสก์ไดรฟ์ ฮาร์ดดิสก์ คีย์บอร์ด และจอภาพ เป็นต้น ทางานร่วมกับโปรแกรมที่อยู่ในรอม เมื่อเริ่มบูตเครื่อง OS จะทางานต่อจากโปรแกรมประเภท Firmware (ซอฟต์แวร์ ที่บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ บันทึกไว้ในหน่วยความจารอม เพื่อตรวจสอบความ พร้อมของฮาร์ดแวร์ในระบบ) ที่จัดเก็บไว้ในรอม จะทางานเมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เรามักเรียก Firmware นี้ว่า BIOS (Basic Input Output System) โดย BIOS จะทาการตรวจสอบ
  • 3. ความพร้อม ระบบฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ จากนั้นจึงส่งหน้าที่ให้แก่ OS เพื่อให้ควบคุมการทางานของ คอมพิวเตอร์ จัดตารางการใช้ทรัพยากร การเข้าใช้หน่วยประมวลผลกลาง จัดการข้อมูลและสารสนเทศในหน่วยความจา จัดการระบบการจัดเก็บไฟล์ข้อมูลลงบนสื่อสารอง (Secondary Storage Unit) นาโปรแกรมประเภทอื่น เข้าประมวลผลในคอมพิวเตอร์ นอกจากประมวลผลแล้วยังคอยให้บริการ เมื่อ โปรแกรมต่าง ๆ ต้องการใช้ทรัพยากรของระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่หน่วยความจา ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดรฟ์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย จัดการเชื่อมต่อและควบคุมอุปกรณ์รอบข้างของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ เครื่องสแกนเนอร์ ประเภทของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการดอส :::: ระบบปฏิบัติการดอส (DOS : Disk Operating System) ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ xp 2007 2015 ระบบปฏิบัติการปาล์ม ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ ระบบปฏิบัติการ Windows 8 การบูต Windows 8 ด้วย HDD แบบ SSD ใช้เวลาบูต เครื่อง 7 วินาทีเร็วกว่า Windows 7 ที่บูต 17 วิ เกือบ 10 วินาที -Internet Explorer 10 สวยงามและไม่ช้าเหมือนเคยภาพลักษณ์ของ IE ที่คุ้นตาคนทั่วโลกคือเบ ราเซอร์ที่ช้า ดูโบราณ และไม่มีใครอยากใช้แต่ IE 10 มาพร้อมกับภาพลักษณ์ที่ดูทันสมัยและ ความเร็วก็ไม่ได้แย่ไปกว่าเบราเซอร์
  • 4. -ปรับปรุง Task ManagerTask Manager ที่ใช้เพื่อดูการทางานของ Windows ความหมายของระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ มา เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น องค์ประกอบของระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพื่อการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (File Server) ช่องทางการสื่อสาร (Communication Chanel) สถานี งาน (Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System) คอมพิวเตอร์แม่ข่าย คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่าHost Computer ช่องทางการสื่อสาร ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ (Receiver) และผู้ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สาหรับการเชื่อมต่อ เครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตี เกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น
  • 5. ประวัติความเป็นมา อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่เป็นเครือข่ายใหญ่ และเครือข่ายย่อย จานวนมากเชื่อมต่อกัน เป็น จานวนหลายร้อยล้านเครื่อง ซึ่งใช้ในการติดต่อสื่อสารข้อมูลที่เป็นรูปภาพ ข้อความ และเสียง โดยผ่าน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีผู้ใช้งานกระจายอยู่ทั่วโลก อินเทอร์เน็ต มีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผลทางการทหาร เนื่องจากในยุคสงครามเย็น เมื่อประมาณ พ.ศ. 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรีประชาธิปไตย ซึ่งนาโดยสหรัฐอเมริกา โดยต่างฝ่าย ต่างก็ กลัวขีปนาวุธ ของอีกฝ่ายหนึ่ง โดยผู้นาสหรัฐอเมริกา วิตกว่า ถ้าหากทางฝ่ายรัฐเซีย ยิงขีปนาวุธนิวเคลียร์ เข้ามา ถล่มจุดยุทธศาสตร์บางจุดของตนเองขึ้นมา อาจจะทาให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกันเสียหายได้ จึง ได้สั่งให้มีการวิจัย เพื่อสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชนิดใหม่ขึ้นมา เพื่อป้ องกันความเสียหาย โดยมีจุ ประสงค์ว่า ถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง ถูกทาลาย แต่เครื่องอื่นก็จะต้องใช้งานต่อไปได้ หน่วยงานที่ ทาหน้าที่ดูแลระบบเครือข่าย ในขณะนั้นมีชื่อว่า ARPA (Advanced Research Projects Agency) ดังนั้นชื่อเครือข่ายในขณะนั้น จึงถูกเรียกว่า ARPANET ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 เครือข่าย ขยายใหญ่โต เพิ่มมากขึ้น จากการระดม นักวิจัยเพื่อสร้างมาตรฐานใหม่ขึ้นมา เพื่อความเหมาะสม จึงได้ มาตรฐาน TCP/IP และนอกจากประโยชน์ด้านงานวิจัย และทางทหารแล้ว ยังได้นามาใช้ประโยชน์ ทางด้านธุรกิจ และการพาณิชย์อีกด้วย ต่อมาในปี พ.ศ. 2532 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และนามาใช้ประโยชน์ ในการติดต่อข้อมูลข่าวสารมากมาย สาหรับในประเทศไทยได้มีการเริ่มต้นติดตั้ง ระบบอินเทอร์เน็ต เป็นครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการศึกษาของ มหาวิทยาลัย โดยติดต่อกับสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย โดยเชื่อมต่อเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ เพื่อรับส่ง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2530 ต่อมากระทวง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและพลังงาน ได้มอบหมายให้ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC) ให้ทุนสนับสนุน แก่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อ ศึกษา ถึงการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตร์ 12 แห่งเข้าเป็นเครือข่าย เดียวกันเมื่อ พ.ศ. 2531 หลังจากนั้นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เป็นเกตเวย์อินเทอร์เน็ต ในประเทศ ไทยและเริ่มให้บริการทางอินเทอร์เน็ต เต็มรูปแบบในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 และต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2537 การสื่อสารแห่งประเทศไทย ร่วมลงทุนกับหน่วยงานของรัฐ และเอกชน เปิดให้บริการอินเทอร์เน็ต
  • 6. เชิงพาณิชย์ 2 รายคือบริษัทอินเทอร์เน็ตประเทศไทย จากัด และบริษัท อินเทอร์เน็ต คอมเมอร์เชียล แอนด์ โนว์เลจเซอร์วิส จากัด ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น KSC คอมเมอร์เชียลอินเทอร์เน็ต จากัด ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ทาความเข้าใจได้ยาก ส่วนใหญ่ต้องม ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดีจึงจะสามารถ เขียนโปรแกรมสั่งงานได้ มีข้อดีในส่วนที่เขียนโปรแกรมควบคุมฮาร์ดแวร์ แต่ละส่วนได้โดยตรงจึงทางานได้ เร็ว แต่ไม่เหมาะที่จะใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างของภาษาระดับต่าได้แก่ ภาษาเครื่อง (Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี้(Assembly Language) เป็นต้น ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ไม่ยากนัก เพราะมีลักษณะเป็นภาษาแบบโครงสร้าง ทาความเข้าใจได้ เหมือนกับภาษาระดับสูง แต่ทางานได้รวดเร็ว เหมือนกับภาษาระดับต่า สามารถใช้บนเครื่องที่มีความเร็วต่างกัน โดยไม่ต้องดัดแปลง ภาษาระดับกลาง ได้นาข้อดีของภาษาระดับต่า และระดับสูงมาพัฒนาเป็นภาษาระดับกลาง ดังนั้นภาษาระดับกลาง จึงเป็น ที่นิยมใช้กันแพร่หลาย ตัวอย่างของภาษาระดับกลางได้ภาษาซี เป็นต้น ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะ ของการ ใช้คาสั่งเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มาก การสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน จะต้องมีการแปล ความหมายของคาสั่ง โดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคาสั่งที่เรียกว่า Interpreter หรือ แปลครั้งเดียวทั้ง โปรแกรมที่เรียกว่า Compiler กาเนิดภาษาซี ด้วยศักยภาพ และเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ที่แพร่หลาย จึงทาให้มีผู้คิดค้นพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซีขึ้น คือ นายเดนนิส ริทชี่ (Dennis Ritchie) ที่ศูนย์วิจัยเบล (Bell Laboratories) ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. 1972 และเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติการยูนิกส์ ซึ่ง ใช้กันแพร่หลายในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ภาษาซี เป็นภาษาที่มีความใกล้เคียง กับ
  • 7. ภาษาระดับต่า (low-level language) จึงทาให้นักพัฒนาโปรแกรม สามารถที่จะกาหนด รายละเอียด ของโปรแกรม ให้เข้าถึงการทางานในส่วนต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ ให้มากที่สุด เพื่อให้เกิด ความเร็วในการทางานสูงสุด และในขณะเดียวกัน ภาษาซีก็ยังมีความเป็นภาษาระดับสูง (high - level language) ซึ่งทาให้ผู้พัฒนา สามารถที่จะพัฒนาโปรแกรมได้ โดยเน้นไปที่การแก้ปัญหาที่ต้องการได้ อย่างอิสระ 1. กรณีที่อยู่ในไดร์ฟซี โฟลเดอร์ TC และโฟลเดอร์ย่อย BIN C:TCBIN> 2. พิมพ์ TC และกดปุ่ม Enter C:TCBIN>TC 3. กรณีที่สร้างช๊อตคัตของไอคอนโปรแกรมภาษาซีเอาไว้บนเดสก์ทอปให้ดับเบิลคลิกที่ ไอคอนของโปรแกรมภาษาซี ในหนังสือเล่มนี้จะใช้ภาษา C++