SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ( Computer System)
ในการใช้คอมพิวเตอร์ทางานแล้วให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามความต้องการ
ของผู้ใช้งานนั้น ย่อมต้องมีองค์ประกอบที่เรียกว่า ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามา
เกี่ยวข้องเสมอ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลาย
ประเภททางานร่วมกัน โดยมีคาสั่งหรือที่เรียกว่าโปรแกรมเป็นตัวสั่งการให้อุปกรณ์
เหล่านั้นทางานได้ตามที่มนุษย์ต้องการ ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงระบบคอมพิวเตอร์สิ่ง
สาคัญของระบบจึงได้แก่ ฮาร์ดแวร์(hardware) ซอฟต์แวร์(software)
และบุคลากร(Peopleware) นั่นคือ เครื่องคอมพิวเตอร์จะทางานได้ต้อง
ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ
• ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ส่วนประกอบ โครงสร้าง รวมถึง
อุปกรณ์ต่อพ่วงที่สนับสนุนการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์
ต่าง ๆ เหล่านี้มนุษย์สามารถมองเห็นและสัมผัสได้ หน้าที่ของฮาร์ดแวร์
ก็คือ ทางานตามคาสั่งควบคุมการทางานต่างๆ ที่มนุษย์เป็นผู้สร้างขึ้น
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ แบ่งออกเป็นส่วนประกอบดังนี้
1. หน่วยรับข้อมูล (Input unit) เป็น
อุปกรณ์รับเข้า ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูล
เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กัน
เป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์ ( Keyboard )
และเมาส์ ( Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์
รับเข้าอื่น ๆ อีก ได้แก่ สแกนเนอร์ (
Scanner), วีดีโอคาเมรา (Video
Camera), ไมโครโฟน (Microphone),
ทัชสกรีน (Touch screen), แทร็คบอล
(Trackball), ดิจิตเซอร์ เทเบิ้ล แอนด์ ครอส
แชร์ (Digiter tablet and crosshair)
2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือ
เรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มี
ส่วนประกอบที่สาคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคานวณ -
หน่วยควบคุม (Control Unit หรือ CU) ทาหน้าที่ควบคุมลาดับ
ขั้นตอนการทางานของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยคานวณและ
หน่วยตรรก หน่วยความจาและแปลคาสั่ง
- หน่วยคานวณและตรรก (Arithmetic and Logic
Unit หรือ ALU) ทาหน้าที่ในการคานวณหาตัวเลข เช่น การบวก ลบ การ
เปรียบเทียบ
- หน่วยความจา เป็นอุปกรณ์ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ใน
การประมวลผล
3. หน่วยความจาภายใน (Primary Storage Section หรือ
Memory) เป็นหน่วยความจาที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถ
ติดต่อกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้โดยตรง มี 2 ประเภท
3.1 หน่วยความจาภายใน
- หน่วยความจาแบบแรม (Random Access
Memory หรือ Ram) เป็นหน่วยความจาชั่วคราว ที่ใช้สาหรับเก็บ
โปรแกรมที่กาลังใช้งานอยู่ขณะนั้น มีความจุของหน่วยเก็บข้อมูลไม่เกิน 640
KB คือผู้ใช้สามารถเขียนหรือลบไปได้ตลอดเวลา ถ้าหากปิดเครื่อง
คอมพิวเตอร์หรือไฟฟ้าดับ จะมีผลทาให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บไว้สูญหายไปหมด
และไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้
- หน่วยความจาแบบรอม (Read Only
Memory หรือ Rom) เป็นหน่วยความจาถาวร ที่สามารถอ่านได้อย่าง
เดียว ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไฟฟ้าดับ ข้อมูลที่
เก็บไว้จะยังคงอยู่
3.2 หน่วยความจาสารอง ได้แก่ เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก แผ่นดิสก์
(Diskett) CD-ROM
แผ่นดิสก์หรือสเกต เป็นจานแม่เหล็กขนาดเล็ก ชนิดอ่อน จัดเก็บข้อมูลโดย
ใช้อานาจแม่เหล็ก การใช้งานจะต้องมี Disk Drive เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ใน
การขับเคลื่อนแผ่นดิสก์ โดยแบ่งตาแหน่งพื้นผิวออกเป็น แทร็คและเซ็คเตอร์
แบ่งออกเป็น 3 ขนาด คือ
- แผ่นดิสก์ขนาด 8 นิ้ว ปัจจุบันไม่นิยมใช้
- แผ่นดิสก์ขนาด 5.25 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามรถบันทึก
ข้อมูลได้ประมาณ 360 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.2 MB
- แผ่นดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามารถ
บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 720 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.44
MB นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน
4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้
จากการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เก็บผลลัพธ์เพื่อ
นาไปใช้ภายหลัง ได้แก่ จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออกมาก
ที่สุด เครื่องพิมพ์ (Printer)
ซอฟแวร์ (Software) คือ คาสั่ง หรือชุดคาสั่ง ทาหน้าที่ควบคุม
การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นส่วนที่ทาให้ผู้ใช้
คอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ (ฮาร์ดแวร์) สามารถสื่อสารกัน
ได้ ทั้งนี้อาจแบ่งซอฟต์แวร์ตามหน้าที่ของการทางานได้ดังนี้
1. โปรแกรมจัดระบบ (System Software) คือ ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ควบคุม
การทางานของคอมพิวเตอร์ เป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์กับเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อช่วยในการจัดการทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ โปรแกรมควบคุมเครื่อง
ระบบปฏิบัติการ เช่น DOS, Windows, Os/2, Unix
2. โปรแกรม์ประยุกต์ (Application Software) คือ ชุดคาสั่งหรือ
โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่ผู้ใช้ต้องการ ได้แก่ โปรแกรม
สาเร็จรูปต่าง ๆ
- โปรแกรมจัดระบบฐานข้อมูล เช่น Microsoft Access Oracle
- โปรแกรมพิมพ์เอกสาร เช่น Microsoft Word
- โปรแกรสร้าง Presentation เช่น Microsoft Power Point
- โปรแกรมช่วยสอน (CAI - Computer Aids Intrruction )
- โปรแกรมคานวณ เช่น Microsoft Excel
3. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Software) เป็นโปรแกรมที่ใช้เครื่องมืในการช่วยให้การใช้
งานคอมพิวเตอร์มีความคล่องตัวขึ้น และสามารถแก้ปัญหาอันเกิดจากการใช้งานได้ เช่น
- โปรแกรมกาจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ เช่น Mcafee, Scan, Norton Anitivirus
- โปรแกรมที่ใช้บีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็กลง เพื่อให้สามารถคัดลอกไปใช้ได้สะดวก เช่น
Winzip เป็นต้น
4. โปรแกรมแปลงภาษา (Language Translater) ใช้ในการสร้างโปรแกรมประยุกต์เพื่อ
นาไปใช้งานด้านต่างๆ โดยการเขียนชุดคาสั่งเพื่อควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทางาน และใช้โปรแกรมแปลง
ภาษาดังกล่าวทาหน้าที่แปลงชุดคาสั่งที่สร้างขึ้น (High Level Language) ให้ไปเป็นคาสั่งที่
เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ (Low Level Language)
โปรแกรมแปลงภาษาโดยทั่วไปมี 2 ประเภท คือ
4.1 คอมไพเลอร์ (Compiler) โปรแกรมประเภทนี้จะทาหน้าที่แปลงชุดคาสั่งที่สร้างขึ้นทั้งหมด
(ตั้งแต่คาสั่งแรกจนถึงคาสั่งสุดท้าย) ในคราวเดียวกัน เช่น ภาษา Pascal, C, C++
4.2 อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) โปรแกรมประเภทนี้จะทาหน้าที่แปลงชุดคาสั่ง แล้วแสดง
ผลลัพธ์ออกมา ทาให้ง่ายต่อการแก้ไขคาสั่งที่ผิดพลาดได้ทันที เช่น ภาษา Basic
พีเพิลแวร์ (People Ware) หรือผู้ใช้ระบบ ในระบบคอมพิวเตอร์
ผู้ใช้ส่วนใหญ่เป็นส่วนหนึ่งที่จะก่อใ้เกิดผลลัพธ์จากการให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทางาน ด้วยเหตุที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างชุดคาสั่งหรือ
โปรแกรมขึ้นมาเพื่อควบคุมการทางานของเครื่องนั่นเอง ในที่นี้จะขอ
กล่าวถึงผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในระดับต่างๆ ดังนี้
1. ผู้บริหาร (Manager) ทาหน้าที่กากับดูแลวางแนวนโยบายในส่วนที่
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้องค์กรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2. นักวิเคราะห์และนักออกแบบระบบ
(System Analysis & Deign) ทาหน้าที่วางแผนและออกแบบ
ระบบงาน เพื่อนาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน
3. นักเขียนโปรแกรม (Programmer) ทาหน้าที่เขียน/สร้าง
ชุดคาสั่งเพื่อควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทางาน
4. ผู้ปฏิบัติการ (Operator) ทาหน้าที่ควบคุมเครื่อง เตรียมข้อมูล
และป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นPhicha Pintharong
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4nareerat inthukhahit
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)Supaksorn Tatongjai
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงจีระภา บุญช่วย
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมnawapornsattasan
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technologyNittaya Intarat
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsupatra2011
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 

What's hot (18)

คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
 
การรับรู้ข้อมูล
การรับรู้ข้อมูลการรับรู้ข้อมูล
การรับรู้ข้อมูล
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAuraiwan Worrasiri
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Rattana234
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์minimonkey
 

Viewers also liked (7)

908140239254 pay slipreport
908140239254 pay slipreport908140239254 pay slipreport
908140239254 pay slipreport
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Introduction to programming
Introduction  to  programmingIntroduction  to  programming
Introduction to programming
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 

Similar to ระบบคอมพิวเตอร์

Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardwarestandbyme mj
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2ment1823
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1Pepan Pan
 
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์Manaf Joraka
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 

Similar to ระบบคอมพิวเตอร์ (20)

Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
iam
iamiam
iam
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1
 
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
 
2p
2p2p
2p
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Work3 48
Work3 48Work3 48
Work3 48
 
Whatiscomputer
WhatiscomputerWhatiscomputer
Whatiscomputer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 

More from ThanThai Sangwong

More from ThanThai Sangwong (6)

M5 3 2 20 22
M5 3 2 20 22M5 3 2 20 22
M5 3 2 20 22
 
M5 3 2 20 22
M5 3 2 20 22M5 3 2 20 22
M5 3 2 20 22
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
ใบงานที่4 53 10
ใบงานที่4 53 10ใบงานที่4 53 10
ใบงานที่4 53 10
 
ใบงานที่4 53-10
ใบงานที่4 53-10ใบงานที่4 53-10
ใบงานที่4 53-10
 

ระบบคอมพิวเตอร์

  • 2. ระบบคอมพิวเตอร์ ( Computer System) ในการใช้คอมพิวเตอร์ทางานแล้วให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามความต้องการ ของผู้ใช้งานนั้น ย่อมต้องมีองค์ประกอบที่เรียกว่า ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามา เกี่ยวข้องเสมอ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลาย ประเภททางานร่วมกัน โดยมีคาสั่งหรือที่เรียกว่าโปรแกรมเป็นตัวสั่งการให้อุปกรณ์ เหล่านั้นทางานได้ตามที่มนุษย์ต้องการ ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงระบบคอมพิวเตอร์สิ่ง สาคัญของระบบจึงได้แก่ ฮาร์ดแวร์(hardware) ซอฟต์แวร์(software) และบุคลากร(Peopleware) นั่นคือ เครื่องคอมพิวเตอร์จะทางานได้ต้อง ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ
  • 3. • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ส่วนประกอบ โครงสร้าง รวมถึง อุปกรณ์ต่อพ่วงที่สนับสนุนการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ต่าง ๆ เหล่านี้มนุษย์สามารถมองเห็นและสัมผัสได้ หน้าที่ของฮาร์ดแวร์ ก็คือ ทางานตามคาสั่งควบคุมการทางานต่างๆ ที่มนุษย์เป็นผู้สร้างขึ้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ แบ่งออกเป็นส่วนประกอบดังนี้
  • 4. 1. หน่วยรับข้อมูล (Input unit) เป็น อุปกรณ์รับเข้า ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กัน เป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์ ( Keyboard ) และเมาส์ ( Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ รับเข้าอื่น ๆ อีก ได้แก่ สแกนเนอร์ ( Scanner), วีดีโอคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน (Microphone), ทัชสกรีน (Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิตเซอร์ เทเบิ้ล แอนด์ ครอส แชร์ (Digiter tablet and crosshair)
  • 5. 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือ เรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มี ส่วนประกอบที่สาคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคานวณ - หน่วยควบคุม (Control Unit หรือ CU) ทาหน้าที่ควบคุมลาดับ ขั้นตอนการทางานของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยคานวณและ หน่วยตรรก หน่วยความจาและแปลคาสั่ง - หน่วยคานวณและตรรก (Arithmetic and Logic Unit หรือ ALU) ทาหน้าที่ในการคานวณหาตัวเลข เช่น การบวก ลบ การ เปรียบเทียบ - หน่วยความจา เป็นอุปกรณ์ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ใน การประมวลผล
  • 6. 3. หน่วยความจาภายใน (Primary Storage Section หรือ Memory) เป็นหน่วยความจาที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถ ติดต่อกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้โดยตรง มี 2 ประเภท 3.1 หน่วยความจาภายใน - หน่วยความจาแบบแรม (Random Access Memory หรือ Ram) เป็นหน่วยความจาชั่วคราว ที่ใช้สาหรับเก็บ โปรแกรมที่กาลังใช้งานอยู่ขณะนั้น มีความจุของหน่วยเก็บข้อมูลไม่เกิน 640 KB คือผู้ใช้สามารถเขียนหรือลบไปได้ตลอดเวลา ถ้าหากปิดเครื่อง คอมพิวเตอร์หรือไฟฟ้าดับ จะมีผลทาให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บไว้สูญหายไปหมด และไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้ - หน่วยความจาแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เป็นหน่วยความจาถาวร ที่สามารถอ่านได้อย่าง เดียว ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไฟฟ้าดับ ข้อมูลที่ เก็บไว้จะยังคงอยู่
  • 7. 3.2 หน่วยความจาสารอง ได้แก่ เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก แผ่นดิสก์ (Diskett) CD-ROM แผ่นดิสก์หรือสเกต เป็นจานแม่เหล็กขนาดเล็ก ชนิดอ่อน จัดเก็บข้อมูลโดย ใช้อานาจแม่เหล็ก การใช้งานจะต้องมี Disk Drive เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ใน การขับเคลื่อนแผ่นดิสก์ โดยแบ่งตาแหน่งพื้นผิวออกเป็น แทร็คและเซ็คเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ขนาด คือ - แผ่นดิสก์ขนาด 8 นิ้ว ปัจจุบันไม่นิยมใช้ - แผ่นดิสก์ขนาด 5.25 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามรถบันทึก ข้อมูลได้ประมาณ 360 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.2 MB - แผ่นดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามารถ บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 720 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.44 MB นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน
  • 8. 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้ จากการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เก็บผลลัพธ์เพื่อ นาไปใช้ภายหลัง ได้แก่ จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออกมาก ที่สุด เครื่องพิมพ์ (Printer)
  • 9. ซอฟแวร์ (Software) คือ คาสั่ง หรือชุดคาสั่ง ทาหน้าที่ควบคุม การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นส่วนที่ทาให้ผู้ใช้ คอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ (ฮาร์ดแวร์) สามารถสื่อสารกัน ได้ ทั้งนี้อาจแบ่งซอฟต์แวร์ตามหน้าที่ของการทางานได้ดังนี้
  • 10. 1. โปรแกรมจัดระบบ (System Software) คือ ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ควบคุม การทางานของคอมพิวเตอร์ เป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการจัดการทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ โปรแกรมควบคุมเครื่อง ระบบปฏิบัติการ เช่น DOS, Windows, Os/2, Unix 2. โปรแกรม์ประยุกต์ (Application Software) คือ ชุดคาสั่งหรือ โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่ผู้ใช้ต้องการ ได้แก่ โปรแกรม สาเร็จรูปต่าง ๆ - โปรแกรมจัดระบบฐานข้อมูล เช่น Microsoft Access Oracle - โปรแกรมพิมพ์เอกสาร เช่น Microsoft Word - โปรแกรสร้าง Presentation เช่น Microsoft Power Point - โปรแกรมช่วยสอน (CAI - Computer Aids Intrruction ) - โปรแกรมคานวณ เช่น Microsoft Excel
  • 11. 3. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Software) เป็นโปรแกรมที่ใช้เครื่องมืในการช่วยให้การใช้ งานคอมพิวเตอร์มีความคล่องตัวขึ้น และสามารถแก้ปัญหาอันเกิดจากการใช้งานได้ เช่น - โปรแกรมกาจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ เช่น Mcafee, Scan, Norton Anitivirus - โปรแกรมที่ใช้บีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็กลง เพื่อให้สามารถคัดลอกไปใช้ได้สะดวก เช่น Winzip เป็นต้น 4. โปรแกรมแปลงภาษา (Language Translater) ใช้ในการสร้างโปรแกรมประยุกต์เพื่อ นาไปใช้งานด้านต่างๆ โดยการเขียนชุดคาสั่งเพื่อควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทางาน และใช้โปรแกรมแปลง ภาษาดังกล่าวทาหน้าที่แปลงชุดคาสั่งที่สร้างขึ้น (High Level Language) ให้ไปเป็นคาสั่งที่ เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ (Low Level Language) โปรแกรมแปลงภาษาโดยทั่วไปมี 2 ประเภท คือ 4.1 คอมไพเลอร์ (Compiler) โปรแกรมประเภทนี้จะทาหน้าที่แปลงชุดคาสั่งที่สร้างขึ้นทั้งหมด (ตั้งแต่คาสั่งแรกจนถึงคาสั่งสุดท้าย) ในคราวเดียวกัน เช่น ภาษา Pascal, C, C++ 4.2 อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) โปรแกรมประเภทนี้จะทาหน้าที่แปลงชุดคาสั่ง แล้วแสดง ผลลัพธ์ออกมา ทาให้ง่ายต่อการแก้ไขคาสั่งที่ผิดพลาดได้ทันที เช่น ภาษา Basic
  • 12. พีเพิลแวร์ (People Ware) หรือผู้ใช้ระบบ ในระบบคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้ส่วนใหญ่เป็นส่วนหนึ่งที่จะก่อใ้เกิดผลลัพธ์จากการให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทางาน ด้วยเหตุที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างชุดคาสั่งหรือ โปรแกรมขึ้นมาเพื่อควบคุมการทางานของเครื่องนั่นเอง ในที่นี้จะขอ กล่าวถึงผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในระดับต่างๆ ดังนี้
  • 13. 1. ผู้บริหาร (Manager) ทาหน้าที่กากับดูแลวางแนวนโยบายในส่วนที่ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้องค์กรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2. นักวิเคราะห์และนักออกแบบระบบ (System Analysis & Deign) ทาหน้าที่วางแผนและออกแบบ ระบบงาน เพื่อนาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน 3. นักเขียนโปรแกรม (Programmer) ทาหน้าที่เขียน/สร้าง ชุดคาสั่งเพื่อควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทางาน 4. ผู้ปฏิบัติการ (Operator) ทาหน้าที่ควบคุมเครื่อง เตรียมข้อมูล และป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์