SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
ความรู้ เบืองต้ นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
้
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Agenda







ทาความรู้ จักกับคอมพิวเตอร์
คุณลักษณะเด่ นของคอมพิวเตอร์
องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ประเภทของเครื่ องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
รูจกกับคอมพิวเตอร์
้ั

คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคานวณในรูปของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ ที่
สามารถรับข้อมูลและคาสัง ผ่านอุปกรณ์รบข้อมูล แล้วนาข้อมูลและ
่
ั
ค าสัง นั้ น ไปประมวลผลด้ว ยหน่ ว ยประมวลผลเพื่ อ ให้ไ ด้ผ ลลัพ ธ์ที่
่
ต้องการและแสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึ ก
รายการต่างๆไว้เพื่อใช้งานได้ดวยอุปกรณ์บนทึกข้อมูลสารอง
้
ั
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์
4’s Special ของเครื่องคอมพิวเตอร์
 ความจา (Storage)
 ความเร็ว (Speed)
 การปฏิบตงานอัตโนมัติ (Self Acting)
ั ิ
 ความน่าเชื่อถือ (Sure)
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ความจา (Storage)
เป็ นความสามารถในการเก็ บข้อมูล จานวนมาก และเป็ นระยะ
เวลานาน ซึ่ งถื อ ได้ว่า เป็ น "หัว ใจ" ของการท างานแบบอัตโนมัติของ
เครื่องคอมพิวเตอร์
แบ่งได้ 2 ระบบคือ
 หน่วยความจาหลัก (Primary Storage)
 หน่วยความจารอง (Secondary Storage)
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ความเร็ว (Speed)
เป็ นความสามารถในการประมวลผลข้อมูลภายในเวลาที่ส้นที่สุด โดย
ั
ความเร็วของการประมวลผล พิจารณาจากความสามารถในการประมวลผล
ซ้าๆ ในช่วงเวลาหนึ่ งๆ เรียกว่า "ความถี่ (Frequency)" โดยนับความถี่เป็ น
"จานวนคาสัง" หรือ "จานวนครั้ง" หรือ "จานวนรอบ" ในหนึ่ งนาที และเรียก
่
หน่ วยนี้ ว่า Hz (Hertz = Cycle/Second)
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
การปฏิบติงานอัตโนมัติ (Self Acting)
ั
เป็ นความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
ตามลาดับคาสัง ได้อย่างถูกต้อง และต่อเนื่ อง โดยอัตโนมัติ ตามคาสังและ
่
่
ขั้นตอนที่นักคอมพิวเตอร์ (มนุ ษย์) ได้กาหนดไว้
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ความน่าเชื่อถือ (Sure)
เป็ นความสามารถในการประมวลผลที่ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถกต้อง
ู
โดยนับได้วาเป็ นสิ่งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย
่
ความสามารถนี้ เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคาสัง และข้อมูล ที่นักคอมพิวเตอร์ได้
่
กาหนดให้กบเครื่องคอมพิวเตอร์
ั
2. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)




เป็ นลักษณะทางกายภายของเครื่ อ งคอมพิว เตอร์ หมายถึ งตัวเครื่ อ ง
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้างที่เกี่ยวข้อง
มีส่วนประกอบที่สาคัญคือ
 หน่วยรับข้อมูล (Input Unit),

(Central Processing Unit)
 หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit)
 หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)
 หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Unit)
 หน่วยประมวลผลกลาง
ส่วนประกอบที่สาคัญของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
CENTRAL PROCESSING UNIT

INPUT UNIT

OUTPUT UNIT

MEMORY

SECONDARY STORAGE
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.2 ซอฟต์แวร์ (Software)





เป็ นชุดคาสังหรือโปรแกรม ที่สงให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่างๆ ตามต้องการ
่
ั่
ชุ ด คาสังหรื อโปรแกรมนั้ น จะเขี ยนมาจากภาษาคอมพิว เตอร์ ภาษาใด
่
ภาษาหนึ่ ง และมี โ ปรแกรมเมอร์ หรื อ นั ก เขี ย นโปรแกรม เป็ นผู้ใ ช้
ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้น เป็ นซอฟต์แวร์แบบต่างๆ ขึ้ นมา
ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
ซอฟต์แวระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.3 บุคคลากร หรือ ผูใช้ (Peopleware)
้




บุคลากรหรือผูใช้เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญมาก ต้องมีความรูความ
้
้
เข้าใจในการใช้งานเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์แล้ว จะทาให้การใช้งาน
ไม่มีประสิทธิภาพ
โดยสามารถแบ่งกลุ่มบุคลากรออกเป็ น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ
กลุ่มผูใช้งานทัวไป
้
่
กลุ่มผูเชี่ยวชาญ
้
กลุ่มผูบริหาร
้
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.3 บุคคลากร หรือ ผูใช้ (People ware)
้


กลุ่มผูใช้งานทัวไป
้
่
 ผูใช้งานคอมพิวเตอร์ (User / End User)
้

ถือว่าเป็ นผูใช้งานระดับตาสุด ไม่จาเป็ นต้องมีความเชี่ยวชาญมากนักก็
้
่
สามารถใช้งานได้ โดยศึกษาจากคูมือการปฏิบติงาน หรือรับการอบรม
่
ั
เพิ่มเติมเพื่อให้สามารถใช้งานได้
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.3 บุคคลากร หรือ ผูใช้ (People ware)
้


กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญ
ช่างเทคนิ คคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/ Computer

Technician)
นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
นักเขียนโปรแกรม (Programmer)
วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer)
ผูดแลเน็ ตเวิรก (Network Administrator)
ู้
์
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.3 บุคคลากร หรือ ผูใช้ (People ware)
้


กลุ่มผูบริหาร
้
 ผูบริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
้

(CIO – Chief

Information Officer)
 หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Center Manager/
Information Manager)
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.4 ข้อมูลและสารสนเทศ(Data/Information)


ข้อมูล
หมายถึ ง ข้อมูลที่ ได้จ ากการสารวจจริ ง ซึ่ ง อาจเป็ นข้อเท็ จจริ ง หรื อ
เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น บุคคล สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ



สารสนเทศ
หมายถึ ง สิ่งที่ ได้จากการนาข้อมูลไปผ่านกระบวนการหนึ่ งก่อน จึงได้
สารสนเทศออกมา ซึ่งเป็ นข้อมูลที่ผ่านการเลือกให้เหมาะกับการใช้งาน
ให้ทนเวลา
ั
การซือของในร้ านซุปเปอร์ มาร์ เก็ต
้

ข้ อมูล (Data)

การประมวลผลด้ วย
เครื่องคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ (Information) ใน
รู ปของรายงานสรุ ปและกราฟ
สาหรั บผู้บริหาร
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.4 ข้อมูลและสารสนเทศ(Data/Information)
สารสนเทศที่มีประโยชน์น้ นจะมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
ั
มีความสั มพันธ์ กน (Relevant) สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ
ั
สถานการณ์ปัจจุบน
ั
มีความทันสมัย (Timely)
ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้เมื่อ
ต้องการ
มีความถูกต้ องแม่ นยา
เมื่อป้ อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์แล้ว ผลลัพธ์ที่ได้
(Accurate)
จะต้องถูกต้องในทุกๆ ส่ วน
มีความกระชับรัดกุม
ข้อมูลจะต้องถูกย่อให้มีความกระชับ และความยาวที่
(Concise)
พอเหมาะ
มีความสมบูรณ์ ในตัวเอง ต้องรวบรวมข้อมูลที่สาคัญไว้อย่างครบถ้วน
(Complete)
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.5 กระบวนการทางาน (Procedure)




หมายถึง ขั้นตอนที่ผใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะบางอย่างจาก
ู้
คอมพิวเตอร์
ผูใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนจะต้องรูกระบวนการทางาน พื้ นฐานของเครื่อง
้
้
คอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง เช่น


การใช้เครื่อง ฝาก – ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ถ้าต้องการ
ถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.5 กระบวนการทางาน (Procedure)
1.
2.

3.
4.
5.

6.

จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทางาน
สอดบัตร และพิมพ์รหัสผูใช้
้
เลือกรายการ
ใส่จานวนเงินที่ตองการ
้
รับเงิน
รับใบบันทึกรายการ และบัตรคืน
3. ประเภทของเครืองคอมพิวเตอร ์
่








จาแนกตามขนาดและความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์
ประเภท ดังนี้
ซูเปอรคอมพิวเตอร ์ (Super Computer)
์
เมนเฟรมคอมพิวเตอร ์ (Mainframe Computer)
มินิคอมพิวเตอร ์ (Minicomputer)
ไมโครคอมพิวเตอร ์ (Microcomputer)
คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer)

ได้

5
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
ซูเปอรคอมพิวเตอร ์ (Super
์
Computer)

เป็ นเครืองคอมพิวเตอรทีมขนาดใหญและมีราคา
่
์ ่ ี
่
สูง มีความเร็ วในการประมวลผลถึง 1,000 ล้าน
ค า สั่ ง ต่ อ 1 วิ น า ที ภ า ย ใ น เ ค รื่ อ ง มี ห น่ ว ย
ประมวลผลเป็ นจานวนมากทาให้สามารถประมวลผล
คาสั่ งหลายคาสั่ งพรอมกันได้
เหมาะสาหรับงานที่
้
ต้ อ ง ค า น ว ณ ผ ล ซั บ ซ้ อ น
แ ล ะ เ ป็ น ง า น ที่ มี
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
เมนเฟรมคอมพิวเตอร ์ (Mainframe
Computer)

ั
เป็ นเครื่อ งคอมพิว เตอร ที่ม ีล ก ษณะการท างาน
์
โดยมีผู้ใช้หลายๆ คนในเวลาเดียวกันได้ สามารถ
ประมวลผล 10 ล้านค าสั่ งต่อ 1 วินาที
เหมาะ
ส าหรับ งานที่ ม ี ก ารเก็ บ ข้ อมู ล ปริ ม าณมาก เช่ น
ธนาคาร
โรงพยาบาล
ก า ร ใ ช้
เมนเฟรมคอมพิวเตอร ตองคานึ งถึง อุณหภูมและ
ิ
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
มินิคอมพิวเตอร ์ (Minicomputer)

มีลกษณะเดียวกันกับเครืองเมนเฟรมคอมพิวเตอร ์
ั
่
แตมีขนาดเล็กกวา และมีประสิ ทธิภาพตากวา ทังใน
้
่
่
่
่
ด้ านความเร็ ว ในการประมวลผล และความจุ ข อง
หน่วยความจา ปัจจุบนองคกรขนาดกลางและขนาด
ั
์
เล็ ก จะนิ ย มใช้ มินิ ค อมพิว เตอร เป็ นเครื่อ งแม่ ข่ าย
์
(Server) เพือควบคุมระบบเครือขายในองคกร
่
่
์
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
ไมโครคอมพิวเตอร ์
(Microcomputer)

หรือ ที่เ รีย กว่ า เครื่อ งคอมพิว เตอร ส่ วน
์
บุ ค คล (Personal
Computer
:PC) เป็ นเครื่อ ง
คอมพิวเตอรทีเหมาะสาหรับการใช้งาน 1 คน
์ ่
ตอ 1 เครือง หรือ ใช้เชื่อมตอกับเครืองใน
่
่
่
่
เครือขาย
ไมโครคอมพิวเตอรมีลกษณะการ
่
์ ั
ใช้ งานง่ าย เคลื่ อ นย้ ายสะดวก ราคาถู ก
ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง ไ ม โ ค ร ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์ เ ช่ น
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer)

เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ ก ที่ สุดเมื่ อเที ยบกับคอมพิวเตอร์
ประเภทอื่นๆ อี กทั้งยังสามารถพกพาไปในที่ ต่างๆได้ง่าย ประโยชน์
การใช้ค อมพิ ว เตอร์ ป ระเภทนี้ อาจน าไปใช้ใ นการจัด การข้อ มู ล
ประจาวัน การสร้างปฏิทินนั ดหมาย การดูหนั งฟั งเพลง รวมถึ งการ
รั บ ส่ ง อี เ ม ล์ บ าง รุ่ น อ าจ มี ค ว า ม ส าม า รถ เ ที ยบ เ คี ยง ไ ด้ กั บ
ไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ปาล์ม, พ๊อกเก็ตพีซี เป็ นต้น
4. คอมพิวเตอร์ยุคใหม่










เดสก์ท็อป (Desktop)
โน๊ ตบุ๊ค (Notebook)
เดสก์โน๊ ต (Desknote)
แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC)
พีดีเอ (PDA-Personal Digital
Assistants)
สมาร์ทโฟน (Smart Phone)
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
เดสก์ท็อป (Desktop)

เป็ นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะที่ใช้ในสานักงานหรือตามบ้าน
ทั ่วไป นิ ย มใช้ส าหรับ การประมวลผล ตัว เครื่ อ งและจอภาพ
สามารถจัด วางเพื่ อทางานบนโต๊ะได้อย่างสบาย ปั จจุ บันมี การ
ผลิตที่เน้นความสวยงามและราคาถูก
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
โน๊ตบุค (Notebook)
๊

คอมพิวเตอร์โน๊ตบุคมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับพีซี
๊
แต่จะมีขนาดเล็กและบางลง มีน้ าหนักเบาสามารถพกพา
ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น และข้อแตกต่างอีกประการหนึ่งคือ
โน๊ตบุคจะมีแบตเตอรี่ไว้สาหรับการทางานด้วย ที่สาคัญ
๊
ราคาถูกลงกว่าเมื่อก่อนมาก แต่ยงถือว่ามีราคาแพงกว่า
ั
พีซีธรรมดา
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
เดสก์โน๊ต (Desknote)

เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาอีกแบบหนึ่ งคล้ายๆกับ
โน๊ตบุ๊ค ต่างกันตรงที่เดสก์โน๊ตไม่มีแบตเตอรี่ที่คอยจ่ายไฟ
๊
ให้จึ ง ต้อ งเสี ย บปลักตลอดเวลาที่ ใ ช้ อี ก ทั้ ง ราคาถู ก กว่ า
โน๊ตบุ๊ค เหมาะกับผูที่มีสานักงานหลายๆที่ และเดินทางไป
้
มาบ่อยๆ
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC)

เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผูใช้สามารถปอนข้อมูลเข้าไปได้
้
้
โดยการเขี ยนบนจอภาพเหมื อ นกับ การเขี ยนข้อความลงไปใน
สมุดโน๊ต และเครื่องสามารถที่จะแปลงข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นเก็บ
ไว้ไ ด้ และบางเครื่ อ งยัง สามารถพลิ กหน้า จอได้ 2 แบบ คื อ
เหมื อนกับ การใช้ง านแบบโน๊ต บุ๊ค หรื อเหมื อนกับ กระดานรอง
เขียนก็ได้
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
พีดีเอ (PDA-Personal Digital Assistants)
สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่มคือ
(Palm)
พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC)
ปาล์ม
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
ปาล์ม (Palm)

เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาที่เปิ ดตลาดมาก่อน แต่เดิม
นั้ น เน้น เพื่ อ การใช้ง านส าหรับ เป็ นเครื่ อ งบัน ทึ ก ช่ ว ยจ าต่า งๆ
(organizer) เช่น การนัดหมาย ปฏิทิน สมุดโทรศัพท์ แต่ปัจจุบัน
ได้พัฒ นาให้มี ขี ด ความสามารถต่า งๆ เพิ่ ม มากขึ้ น โดยจะใช้
ระบบปฏิบตการที่เป็ นของตัวเองเรียกว่า Palm OS
ั ิ
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC)

เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อานวยความสะดวกในการใช้งาน
ได้ดีเช่นเดียวกับเครื่องปาล์ม แต่จะแตกต่างจากเครื่องปาล์มใน
เรื่องของระบบปฏิบัติการที่ใช้จะอิงกับค่ายไมโครซอฟท์เป็ นหลัก
ผูใช้งานพ็อกเก็ตพีซีที่ชินกับระบบปฏิบัติการของไมโครซอฟท์มา
้
ก่อน สามารถใช้งานได้ง่ายมาก แต่จะกินกาลังของเครื่องมากกว่า
เครื่องปาล์ม
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
สมาร์ทโฟน (Smart Phone)

เป็ นกลุ่มของโทรศัพท์มือถือที่พฒนาขีดความสามารถให้มี
ั
การทางานได้ใกล้เคี ยงกับพีดีเอเป็ นอย่างมาก โดยสมาร์ทโฟน
สามารถที่จะใช้เป็ นเครื่องโทรศัพท์ได้ในตัว รวมถึงความสามารถ
อื่ น ๆ เช่ น กล้อ งถ่ า ยรู ป การใช้ง านอิ น เตอร์เ น็ ต เป็ นต้น ซึ่ ง
คุ ณ สมบั ติ ต่ า งๆเหล่ า นี้ ขึ้ นอยู่ กั บ ระบบปฏิ บั ติ ก ารที่ ใ ช้ด ้ว ย
เช่นเดียวกัน
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต
ศาสตร์ทางด้านปั ญ ญาประดิ ษฐ์ (Artificial Intelligence) ได้เข้ามามี
บทบาทในการสร้างปั ญญาเทียมเลียนแบบการคิดหรือสมองของมนุ ษย์ ซึ่งใน
งานหลายๆด้านก็มีการประยุกต์เอาคอมพิวเตอร์เข้าไปใช้เพื่อคิดและตัดสินใจ
แก้ปัญหาต่างๆ ได้เป็ นอย่างดี เช่น
 ระบบผูเชี่ยวชาญ (expert system)
้
 ระบบหุนยนต์ (robotics)
่
 ภาธรรมชาติ (natural language)
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต
ระบบผูเชี่ยวชาญ (expert system)
้


เป็ นศาสตร์แ ขนงหนึ่ ง ของปั ญญาประดิ ษ ฐ์ที่ น าเอาคอมพิ ว เตอร์ม า
ประยุกต์ใช้งาน เพื่อเก็ บรวบรวมความรูต่างๆ ที่ จาเป็ นต้องใช้สาหรับ
้
งานใดงานหนึ่ งให้อยูตลอดไปในหน่ วยงานโดยไม่ขนกับบุคคล
่
ึ้
 ช่วยเพิ่มประสิทธิ ภาพในการตรวจสอบ วินิจฉัย ตัดสิ นใจต่ างๆ ได้อย่าง
แม่นยา เช่น ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญในวงการแพทย์เพื่อวินิจฉัยโรค
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต

ระบบหุ่นยนต์ (robotics)


นาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้ทางานร่วมกับเครื่องจักร
และอุปกรณ์บงคับบางชนิ ด เกิดเป็ น “หุนยนต์” (robot)
ั
่
 สามารถทางานทดแทนแรงงานคนได้เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
กับลักษณะงานที่มีความเสี่ยงต่ออันตรายมากๆ
 อาจพบเห็นการออกแบบหุ่นยนต์โดยอาศัยการทางานของโปรแกรม
คอมพิ วเตอร์เพื่ อเลี ยนแบบพฤติ กรรมของสิ่ งมี ชีวิต และสามารถ
นามาใช้งานได้จริง เช่น หุนยนต์สุนัข เป็ นต้น
่
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต

ภาษาธรรมชาติ (natural language)


การเข้าใจภาษาธรรมชาติของมนุ ษย์เป็ นการนาเอาความสามารถ
ของของคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสื่อสารกับมนุ ษย์ให้สะดวกขึ้ น
 ตัวอย่างที่พบเห็นมากที่สุด เช่น การใช้ระบบรับรูและจาเสียงพูดของ
้
มนุ ษย์หรือที่เรียกว่า speech recognition ที่คอมพิวเตอร์สามารถ
แยกแยะเสียงได้
 ทาให้ลดระยะเวลาในการทางานของผูใช้ลงได้มากทีเดียว
้
แบบฝึ กหัด
จงวิเคราะห์วาคอมพิวเตอร์ในอนาคตจะ
่
สามารถทาอะไรได้บาง
้

More Related Content

What's hot

องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้คน ขี้เล่า
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์krutitirut
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตNuunamnoy Singkham
 
ตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศWoodyThailand
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5พงศธร ภักดี
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)Khon Kaen University
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับdevilp Nnop
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการpop Jaturong
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4krunuy5
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าCoco Tan
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nuchita Kromkhan
 

What's hot (20)

องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
ตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศ
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
 
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบthanathip
 
ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์jirawat thaporm
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012NECTEC
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (20)

Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
 
(บทที่ 2)
(บทที่ 2)(บทที่ 2)
(บทที่ 2)
 
ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302
 

More from ยุทธกิจ สัตยาวุธ

มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 

More from ยุทธกิจ สัตยาวุธ (20)

วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
 
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
 
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
 
Covid19Ranong3152563
Covid19Ranong3152563Covid19Ranong3152563
Covid19Ranong3152563
 
Handfootmouth59
Handfootmouth59Handfootmouth59
Handfootmouth59
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
ปชส.จากสายด่วน 191
ปชส.จากสายด่วน 191ปชส.จากสายด่วน 191
ปชส.จากสายด่วน 191
 
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
 
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
 
Librariean 2562
Librariean 2562Librariean 2562
Librariean 2562
 
ประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
ประกาศเลื่อนวันจับฉลากประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
ประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
 
บทคัดย่อ (แก้ไข)
บทคัดย่อ (แก้ไข)บทคัดย่อ (แก้ไข)
บทคัดย่อ (แก้ไข)
 
Ab creative thinking
Ab creative thinkingAb creative thinking
Ab creative thinking
 
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
 
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
 
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
 
ประการรับสมัครครูปฐมวัย
ประการรับสมัครครูปฐมวัยประการรับสมัครครูปฐมวัย
ประการรับสมัครครูปฐมวัย
 
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

  • 2. Agenda      ทาความรู้ จักกับคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะเด่ นของคอมพิวเตอร์ องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื่ องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
  • 3. รูจกกับคอมพิวเตอร์ ้ั คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคานวณในรูปของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ ที่ สามารถรับข้อมูลและคาสัง ผ่านอุปกรณ์รบข้อมูล แล้วนาข้อมูลและ ่ ั ค าสัง นั้ น ไปประมวลผลด้ว ยหน่ ว ยประมวลผลเพื่ อ ให้ไ ด้ผ ลลัพ ธ์ที่ ่ ต้องการและแสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึ ก รายการต่างๆไว้เพื่อใช้งานได้ดวยอุปกรณ์บนทึกข้อมูลสารอง ้ ั
  • 4. 1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ 4’s Special ของเครื่องคอมพิวเตอร์  ความจา (Storage)  ความเร็ว (Speed)  การปฏิบตงานอัตโนมัติ (Self Acting) ั ิ  ความน่าเชื่อถือ (Sure)
  • 5. 1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ความจา (Storage) เป็ นความสามารถในการเก็ บข้อมูล จานวนมาก และเป็ นระยะ เวลานาน ซึ่ งถื อ ได้ว่า เป็ น "หัว ใจ" ของการท างานแบบอัตโนมัติของ เครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งได้ 2 ระบบคือ  หน่วยความจาหลัก (Primary Storage)  หน่วยความจารอง (Secondary Storage)
  • 6. 1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ความเร็ว (Speed) เป็ นความสามารถในการประมวลผลข้อมูลภายในเวลาที่ส้นที่สุด โดย ั ความเร็วของการประมวลผล พิจารณาจากความสามารถในการประมวลผล ซ้าๆ ในช่วงเวลาหนึ่ งๆ เรียกว่า "ความถี่ (Frequency)" โดยนับความถี่เป็ น "จานวนคาสัง" หรือ "จานวนครั้ง" หรือ "จานวนรอบ" ในหนึ่ งนาที และเรียก ่ หน่ วยนี้ ว่า Hz (Hertz = Cycle/Second)
  • 7. 1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) การปฏิบติงานอัตโนมัติ (Self Acting) ั เป็ นความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล ตามลาดับคาสัง ได้อย่างถูกต้อง และต่อเนื่ อง โดยอัตโนมัติ ตามคาสังและ ่ ่ ขั้นตอนที่นักคอมพิวเตอร์ (มนุ ษย์) ได้กาหนดไว้
  • 8. 1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ความน่าเชื่อถือ (Sure) เป็ นความสามารถในการประมวลผลที่ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถกต้อง ู โดยนับได้วาเป็ นสิ่งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย ่ ความสามารถนี้ เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคาสัง และข้อมูล ที่นักคอมพิวเตอร์ได้ ่ กาหนดให้กบเครื่องคอมพิวเตอร์ ั
  • 10. 2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)   เป็ นลักษณะทางกายภายของเครื่ อ งคอมพิว เตอร์ หมายถึ งตัวเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้างที่เกี่ยวข้อง มีส่วนประกอบที่สาคัญคือ  หน่วยรับข้อมูล (Input Unit), (Central Processing Unit)  หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit)  หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)  หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Unit)  หน่วยประมวลผลกลาง
  • 12. 2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.2 ซอฟต์แวร์ (Software)    เป็ นชุดคาสังหรือโปรแกรม ที่สงให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่างๆ ตามต้องการ ่ ั่ ชุ ด คาสังหรื อโปรแกรมนั้ น จะเขี ยนมาจากภาษาคอมพิว เตอร์ ภาษาใด ่ ภาษาหนึ่ ง และมี โ ปรแกรมเมอร์ หรื อ นั ก เขี ย นโปรแกรม เป็ นผู้ใ ช้ ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้น เป็ นซอฟต์แวร์แบบต่างๆ ขึ้ นมา ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ซอฟต์แวระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
  • 13. 2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลากร หรือ ผูใช้ (Peopleware) ้   บุคลากรหรือผูใช้เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญมาก ต้องมีความรูความ ้ ้ เข้าใจในการใช้งานเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์แล้ว จะทาให้การใช้งาน ไม่มีประสิทธิภาพ โดยสามารถแบ่งกลุ่มบุคลากรออกเป็ น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ กลุ่มผูใช้งานทัวไป ้ ่ กลุ่มผูเชี่ยวชาญ ้ กลุ่มผูบริหาร ้
  • 14. 2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลากร หรือ ผูใช้ (People ware) ้  กลุ่มผูใช้งานทัวไป ้ ่  ผูใช้งานคอมพิวเตอร์ (User / End User) ้ ถือว่าเป็ นผูใช้งานระดับตาสุด ไม่จาเป็ นต้องมีความเชี่ยวชาญมากนักก็ ้ ่ สามารถใช้งานได้ โดยศึกษาจากคูมือการปฏิบติงาน หรือรับการอบรม ่ ั เพิ่มเติมเพื่อให้สามารถใช้งานได้
  • 15. 2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลากร หรือ ผูใช้ (People ware) ้  กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญ ช่างเทคนิ คคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/ Computer Technician) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) นักเขียนโปรแกรม (Programmer) วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer) ผูดแลเน็ ตเวิรก (Network Administrator) ู้ ์
  • 16. 2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลากร หรือ ผูใช้ (People ware) ้  กลุ่มผูบริหาร ้  ผูบริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ้ (CIO – Chief Information Officer)  หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Center Manager/ Information Manager)
  • 17. 2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.4 ข้อมูลและสารสนเทศ(Data/Information)  ข้อมูล หมายถึ ง ข้อมูลที่ ได้จ ากการสารวจจริ ง ซึ่ ง อาจเป็ นข้อเท็ จจริ ง หรื อ เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น บุคคล สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ  สารสนเทศ หมายถึ ง สิ่งที่ ได้จากการนาข้อมูลไปผ่านกระบวนการหนึ่ งก่อน จึงได้ สารสนเทศออกมา ซึ่งเป็ นข้อมูลที่ผ่านการเลือกให้เหมาะกับการใช้งาน ให้ทนเวลา ั
  • 18. การซือของในร้ านซุปเปอร์ มาร์ เก็ต ้ ข้ อมูล (Data) การประมวลผลด้ วย เครื่องคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ (Information) ใน รู ปของรายงานสรุ ปและกราฟ สาหรั บผู้บริหาร
  • 19. 2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.4 ข้อมูลและสารสนเทศ(Data/Information) สารสนเทศที่มีประโยชน์น้ นจะมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ั มีความสั มพันธ์ กน (Relevant) สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ ั สถานการณ์ปัจจุบน ั มีความทันสมัย (Timely) ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้เมื่อ ต้องการ มีความถูกต้ องแม่ นยา เมื่อป้ อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์แล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ (Accurate) จะต้องถูกต้องในทุกๆ ส่ วน มีความกระชับรัดกุม ข้อมูลจะต้องถูกย่อให้มีความกระชับ และความยาวที่ (Concise) พอเหมาะ มีความสมบูรณ์ ในตัวเอง ต้องรวบรวมข้อมูลที่สาคัญไว้อย่างครบถ้วน (Complete)
  • 20. 2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.5 กระบวนการทางาน (Procedure)   หมายถึง ขั้นตอนที่ผใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะบางอย่างจาก ู้ คอมพิวเตอร์ ผูใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนจะต้องรูกระบวนการทางาน พื้ นฐานของเครื่อง ้ ้ คอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง เช่น  การใช้เครื่อง ฝาก – ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ถ้าต้องการ ถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น
  • 21. 2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2.5 กระบวนการทางาน (Procedure) 1. 2. 3. 4. 5. 6. จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทางาน สอดบัตร และพิมพ์รหัสผูใช้ ้ เลือกรายการ ใส่จานวนเงินที่ตองการ ้ รับเงิน รับใบบันทึกรายการ และบัตรคืน
  • 22. 3. ประเภทของเครืองคอมพิวเตอร ์ ่      จาแนกตามขนาดและความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ประเภท ดังนี้ ซูเปอรคอมพิวเตอร ์ (Super Computer) ์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร ์ (Mainframe Computer) มินิคอมพิวเตอร ์ (Minicomputer) ไมโครคอมพิวเตอร ์ (Microcomputer) คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer) ได้ 5
  • 23. 3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซูเปอรคอมพิวเตอร ์ (Super ์ Computer) เป็ นเครืองคอมพิวเตอรทีมขนาดใหญและมีราคา ่ ์ ่ ี ่ สูง มีความเร็ วในการประมวลผลถึง 1,000 ล้าน ค า สั่ ง ต่ อ 1 วิ น า ที ภ า ย ใ น เ ค รื่ อ ง มี ห น่ ว ย ประมวลผลเป็ นจานวนมากทาให้สามารถประมวลผล คาสั่ งหลายคาสั่ งพรอมกันได้ เหมาะสาหรับงานที่ ้ ต้ อ ง ค า น ว ณ ผ ล ซั บ ซ้ อ น แ ล ะ เ ป็ น ง า น ที่ มี
  • 24. 3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร ์ (Mainframe Computer) ั เป็ นเครื่อ งคอมพิว เตอร ที่ม ีล ก ษณะการท างาน ์ โดยมีผู้ใช้หลายๆ คนในเวลาเดียวกันได้ สามารถ ประมวลผล 10 ล้านค าสั่ งต่อ 1 วินาที เหมาะ ส าหรับ งานที่ ม ี ก ารเก็ บ ข้ อมู ล ปริ ม าณมาก เช่ น ธนาคาร โรงพยาบาล ก า ร ใ ช้ เมนเฟรมคอมพิวเตอร ตองคานึ งถึง อุณหภูมและ ิ
  • 25. 3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร ์ (Minicomputer) มีลกษณะเดียวกันกับเครืองเมนเฟรมคอมพิวเตอร ์ ั ่ แตมีขนาดเล็กกวา และมีประสิ ทธิภาพตากวา ทังใน ้ ่ ่ ่ ่ ด้ านความเร็ ว ในการประมวลผล และความจุ ข อง หน่วยความจา ปัจจุบนองคกรขนาดกลางและขนาด ั ์ เล็ ก จะนิ ย มใช้ มินิ ค อมพิว เตอร เป็ นเครื่อ งแม่ ข่ าย ์ (Server) เพือควบคุมระบบเครือขายในองคกร ่ ่ ์
  • 26. 3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร ์ (Microcomputer) หรือ ที่เ รีย กว่ า เครื่อ งคอมพิว เตอร ส่ วน ์ บุ ค คล (Personal Computer :PC) เป็ นเครื่อ ง คอมพิวเตอรทีเหมาะสาหรับการใช้งาน 1 คน ์ ่ ตอ 1 เครือง หรือ ใช้เชื่อมตอกับเครืองใน ่ ่ ่ ่ เครือขาย ไมโครคอมพิวเตอรมีลกษณะการ ่ ์ ั ใช้ งานง่ าย เคลื่ อ นย้ ายสะดวก ราคาถู ก ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง ไ ม โ ค ร ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์ เ ช่ น
  • 27. 3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer) เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ ก ที่ สุดเมื่ อเที ยบกับคอมพิวเตอร์ ประเภทอื่นๆ อี กทั้งยังสามารถพกพาไปในที่ ต่างๆได้ง่าย ประโยชน์ การใช้ค อมพิ ว เตอร์ ป ระเภทนี้ อาจน าไปใช้ใ นการจัด การข้อ มู ล ประจาวัน การสร้างปฏิทินนั ดหมาย การดูหนั งฟั งเพลง รวมถึ งการ รั บ ส่ ง อี เ ม ล์ บ าง รุ่ น อ าจ มี ค ว า ม ส าม า รถ เ ที ยบ เ คี ยง ไ ด้ กั บ ไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ปาล์ม, พ๊อกเก็ตพีซี เป็ นต้น
  • 28. 4. คอมพิวเตอร์ยุคใหม่       เดสก์ท็อป (Desktop) โน๊ ตบุ๊ค (Notebook) เดสก์โน๊ ต (Desknote) แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) พีดีเอ (PDA-Personal Digital Assistants) สมาร์ทโฟน (Smart Phone)
  • 29. 4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ เดสก์ท็อป (Desktop) เป็ นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะที่ใช้ในสานักงานหรือตามบ้าน ทั ่วไป นิ ย มใช้ส าหรับ การประมวลผล ตัว เครื่ อ งและจอภาพ สามารถจัด วางเพื่ อทางานบนโต๊ะได้อย่างสบาย ปั จจุ บันมี การ ผลิตที่เน้นความสวยงามและราคาถูก
  • 30. 4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ โน๊ตบุค (Notebook) ๊ คอมพิวเตอร์โน๊ตบุคมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับพีซี ๊ แต่จะมีขนาดเล็กและบางลง มีน้ าหนักเบาสามารถพกพา ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น และข้อแตกต่างอีกประการหนึ่งคือ โน๊ตบุคจะมีแบตเตอรี่ไว้สาหรับการทางานด้วย ที่สาคัญ ๊ ราคาถูกลงกว่าเมื่อก่อนมาก แต่ยงถือว่ามีราคาแพงกว่า ั พีซีธรรมดา
  • 31. 4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ เดสก์โน๊ต (Desknote) เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาอีกแบบหนึ่ งคล้ายๆกับ โน๊ตบุ๊ค ต่างกันตรงที่เดสก์โน๊ตไม่มีแบตเตอรี่ที่คอยจ่ายไฟ ๊ ให้จึ ง ต้อ งเสี ย บปลักตลอดเวลาที่ ใ ช้ อี ก ทั้ ง ราคาถู ก กว่ า โน๊ตบุ๊ค เหมาะกับผูที่มีสานักงานหลายๆที่ และเดินทางไป ้ มาบ่อยๆ
  • 32. 4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผูใช้สามารถปอนข้อมูลเข้าไปได้ ้ ้ โดยการเขี ยนบนจอภาพเหมื อ นกับ การเขี ยนข้อความลงไปใน สมุดโน๊ต และเครื่องสามารถที่จะแปลงข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นเก็บ ไว้ไ ด้ และบางเครื่ อ งยัง สามารถพลิ กหน้า จอได้ 2 แบบ คื อ เหมื อนกับ การใช้ง านแบบโน๊ต บุ๊ค หรื อเหมื อนกับ กระดานรอง เขียนก็ได้
  • 33. 4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ พีดีเอ (PDA-Personal Digital Assistants) สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่มคือ (Palm) พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC) ปาล์ม
  • 34. 4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ ปาล์ม (Palm) เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาที่เปิ ดตลาดมาก่อน แต่เดิม นั้ น เน้น เพื่ อ การใช้ง านส าหรับ เป็ นเครื่ อ งบัน ทึ ก ช่ ว ยจ าต่า งๆ (organizer) เช่น การนัดหมาย ปฏิทิน สมุดโทรศัพท์ แต่ปัจจุบัน ได้พัฒ นาให้มี ขี ด ความสามารถต่า งๆ เพิ่ ม มากขึ้ น โดยจะใช้ ระบบปฏิบตการที่เป็ นของตัวเองเรียกว่า Palm OS ั ิ
  • 35. 4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC) เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อานวยความสะดวกในการใช้งาน ได้ดีเช่นเดียวกับเครื่องปาล์ม แต่จะแตกต่างจากเครื่องปาล์มใน เรื่องของระบบปฏิบัติการที่ใช้จะอิงกับค่ายไมโครซอฟท์เป็ นหลัก ผูใช้งานพ็อกเก็ตพีซีที่ชินกับระบบปฏิบัติการของไมโครซอฟท์มา ้ ก่อน สามารถใช้งานได้ง่ายมาก แต่จะกินกาลังของเครื่องมากกว่า เครื่องปาล์ม
  • 36. 4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ สมาร์ทโฟน (Smart Phone) เป็ นกลุ่มของโทรศัพท์มือถือที่พฒนาขีดความสามารถให้มี ั การทางานได้ใกล้เคี ยงกับพีดีเอเป็ นอย่างมาก โดยสมาร์ทโฟน สามารถที่จะใช้เป็ นเครื่องโทรศัพท์ได้ในตัว รวมถึงความสามารถ อื่ น ๆ เช่ น กล้อ งถ่ า ยรู ป การใช้ง านอิ น เตอร์เ น็ ต เป็ นต้น ซึ่ ง คุ ณ สมบั ติ ต่ า งๆเหล่ า นี้ ขึ้ นอยู่ กั บ ระบบปฏิ บั ติ ก ารที่ ใ ช้ด ้ว ย เช่นเดียวกัน
  • 37. 5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต ศาสตร์ทางด้านปั ญ ญาประดิ ษฐ์ (Artificial Intelligence) ได้เข้ามามี บทบาทในการสร้างปั ญญาเทียมเลียนแบบการคิดหรือสมองของมนุ ษย์ ซึ่งใน งานหลายๆด้านก็มีการประยุกต์เอาคอมพิวเตอร์เข้าไปใช้เพื่อคิดและตัดสินใจ แก้ปัญหาต่างๆ ได้เป็ นอย่างดี เช่น  ระบบผูเชี่ยวชาญ (expert system) ้  ระบบหุนยนต์ (robotics) ่  ภาธรรมชาติ (natural language)
  • 38. 5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต ระบบผูเชี่ยวชาญ (expert system) ้  เป็ นศาสตร์แ ขนงหนึ่ ง ของปั ญญาประดิ ษ ฐ์ที่ น าเอาคอมพิ ว เตอร์ม า ประยุกต์ใช้งาน เพื่อเก็ บรวบรวมความรูต่างๆ ที่ จาเป็ นต้องใช้สาหรับ ้ งานใดงานหนึ่ งให้อยูตลอดไปในหน่ วยงานโดยไม่ขนกับบุคคล ่ ึ้  ช่วยเพิ่มประสิทธิ ภาพในการตรวจสอบ วินิจฉัย ตัดสิ นใจต่ างๆ ได้อย่าง แม่นยา เช่น ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญในวงการแพทย์เพื่อวินิจฉัยโรค
  • 39. 5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต ระบบหุ่นยนต์ (robotics)  นาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้ทางานร่วมกับเครื่องจักร และอุปกรณ์บงคับบางชนิ ด เกิดเป็ น “หุนยนต์” (robot) ั ่  สามารถทางานทดแทนแรงงานคนได้เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กับลักษณะงานที่มีความเสี่ยงต่ออันตรายมากๆ  อาจพบเห็นการออกแบบหุ่นยนต์โดยอาศัยการทางานของโปรแกรม คอมพิ วเตอร์เพื่ อเลี ยนแบบพฤติ กรรมของสิ่ งมี ชีวิต และสามารถ นามาใช้งานได้จริง เช่น หุนยนต์สุนัข เป็ นต้น ่
  • 40. 5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต ภาษาธรรมชาติ (natural language)  การเข้าใจภาษาธรรมชาติของมนุ ษย์เป็ นการนาเอาความสามารถ ของของคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสื่อสารกับมนุ ษย์ให้สะดวกขึ้ น  ตัวอย่างที่พบเห็นมากที่สุด เช่น การใช้ระบบรับรูและจาเสียงพูดของ ้ มนุ ษย์หรือที่เรียกว่า speech recognition ที่คอมพิวเตอร์สามารถ แยกแยะเสียงได้  ทาให้ลดระยะเวลาในการทางานของผูใช้ลงได้มากทีเดียว ้