SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
หน่วยบูรณาการ
สาร
มาต
ทรัพ
จัดก
ตัวชี
แล
เศรษ
อย่า
ร่วมสร้างสรรค์
ระที่ ๒ ชีวิต
ตรฐาน ว ๒
พยากรธรรม
การทรัพยาก
ชี้วัด
ม.๓/๑ ิ
ะเสนอแนวท
ม.๓/๒
ม.๓/๓
ม.๓/๔วิ
ษฐกิจพอเพี
ม.๓/๕
ม.๓/๖
างยั่งยืน
ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล
กับสิ่งแวดล้
.๒ เข้าใจ
มชาติในระดั
กรธรรมชาติ
วิเคราะห์สภ
ทางในการแ
อธิบายแนว
อภิปรายการ
วิเคราะห์และ
ยง
อภิปรายปัญ
อภิปรายแล
ล้อมอย่างยั่งยืน ต
ล้อม
จความสําคั
ดับท้องถิ่น ป
ติ และสิ่งแว
ภาพปัญหาสิ่
แก้ไขปัญหา
ทางการรักษ
รใช้ทรัพยาก
ะอธิบายการ
ญหาสิ่งแวดล้
ะมีส่วนร่วมใ
ตามหลักปรัชญาข
ัญของทรัพ
ประเทศ แล
วดล้อมในท้
งแวดล้อม
ษาสมดุลของ
กรธรรมชาติ
รใช้ทรัพยาก
ล้อมและเสน
ในการดูแลแ
ของเศรษฐกิจพอเ
ยากรธรรมช
ะโลกนําควา
ท้องถิ่นอย่าง
ทรัพยากรธ
งระบบนิเวศ
อย่างยั่งยืน
รธรรมชาติ
นอแนะแนวท
และอนุรักษ์สิ
เพียง
ชาติ การใช้
ามรู้ไปใช้ใน
ยั่งยืน
รรมชาติในท้
ศ
ตามปรัชญา
ทางการแก้ปั
สิ่งแวดล้อมใ
หน้า ๑
้
นในการ
ท้องถิ่น
า
ญหา
ในท้องถิ่น
หน่วยบูรณาการ
๑.ปัญหาสิ่ง
ทรัพยากร
ท้อ
ร่วมสร้างสรรค์
งแวดล้อมแล
รธรรมชาติใน
องถิ่น
ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล
รั
ละ
น
ล้อมอย่างยั่งยืน ต
หน่วย
ร่วมสร้า
ักษ์สิ่งแวด
ตามหลัก
เศรษฐกิ
๓.กิจกรรม
ท.ศ.รักษ์สิ
อย่าง
ตามหลักปรัชญาข
บูรณาการ
างสรรค์ ท.
ล้อมอย่าง
กปรัชญาข
กิจพอเพีย
มสร้างสรรค์
สิ่งแวดล้อม
งยั่งยืน
ของเศรษฐกิจพอเ
ร
ศ.
ยั่งยืน
อง
ง
ทรัพ
เพียง
๒.การใ
ัพยากรธรรมช
ยั่งยืน
หน้า ๒
ใช้
ชาติอย่าง
หน่วยบูรณาการ
ร่วมสร้างส
กลุ่มสาระก
๖ระดับชั้นม
คะแนน
สาระที่ ๒ ชี
ลําดับ/ชื่อ
แผน
แผนที่ ๑
เรียนรู้
บทเรียน
ร่วมสร้างสรรค์
โค
รรค์ ท.ศ.รัก
ารเรียนรู้วิท
มัธยมศึกษา
ชีวิตกับสิ่งแว
อ มาตรฐ
๑. ทําค
นักเรีย
เวลาเรี
ปฏิบัติ
การกา
รูปแบบ
เรียนรู้
๒. ทดส
พื้นฐาน
เกี่ยวกั
เคลื่อน
ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล
ครงสร้างรา
กษ์สิ่งแวดล้อ
ทยาศาสตร์
ปีที่ ๓ เวล
วดล้อม ม
ฐานการเรีย
ตัวชี้วัด
ความเข้าใจกั
นเรื่อง คะแ
รียน ระเบีย
และกติกาใ
รเรียนโดยใช
บการจัดการ
สอบความรู้
น เนื้อหา
ับแรง และก
นที่
ล้อมอย่างยั่งยืน ต
ยวิชา หน่ว
อมอย่างยั่งยื
รหัสวิชา ว
ลาเรียน ๑๐
มาตรฐาน ว
นรู้/
กับ
นน
บ
ใน
ช้
ร
การ
การแ
ตามP
ประก
ก่อนเ
ตามหลักปรัชญาข
ยบูรณาการ
ยืน ตามหลัก
๒๓๑๐๒
คาบ
๒.๒
สาระ
การเรียน
แจ้งเป้าหมา
PowerPoint
กอบการบรรยา
เรียน
ของเศรษฐกิจพอเ
รการเรียนรู้
ักปรัชญาขอ
ชื่อรา
ค
ะ
นรู้
ยการเรียน
ายทดสอบ
เพียง
องเศรษฐกิจ
ายวิชาวิทยา
คะแนนเก็บ
ระยะ
เวลา
๑
คาบ
หน้า ๓
จพอเพียง
าศาสตร์
๑๕
น้ําหนัก
คะแนน
-
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๔
ลําดับ/ชื่อ
แผน
มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระ
การเรียนรู้
ระยะ
เวลา
น้ําหนัก
คะแนน
แผนที่ ๒
สํารวจปัญหา
มาตรฐาน ว ๒.๒
ม.๓/๑-๓/๖
การสํารวจสภาพแวดล้อมที่
เป็นปัญหา และปัญหาที่พบ
บ่อยในโรงเรียน
๑
คาบ
๑
แผนที่ ๓
เลือก
เครื่องมือ
มาตรฐาน ว ๒.๒
ม.๓/๑-๓/๖
การเลือกเครื่องมือที่จะทํา
ความเข้าใจกับปัญหา
ออกแบบเครื่องมือที่
เลือกใช้เก็บข้อมูล แต่ละ
กลุ่มระดมความคิด คิดข้อ
คําถามที่จะใช้เก็บข้อมูล
๑
คาบ
๑
แผนที่ ๔
เก็บข้อมูล
มาตรฐาน ว ๒.๒
ม.๓/๑-๓/๖
การศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูล ๑
แผนที่ ๕
นําเสนอ
มาตรฐาน ว ๒.๒
ม.๓/๑-๓/๖
การนําเสนอและ
ประเมินผลงาน
๑
แผนที่ ๖
กิจกรรม
สร้างสรรค์
มาตรฐาน ว ๒.๒
ม.๓/๑-๓/๖
กิจกรรมต่อยอดแก้ปัญหา
สิ่งแวดล้อมที่
เกิดขึ้นในโรงเรียน หรือใน
ชุมชน ท้องถิ่นของนักเรียน
การเขียนโครงการ ดําเนิน
กิจกรรมตามโครงการ
ประชาสัมพันธ์
แผนที่ ๗
ทบทวน
เรียนรู้ผ่าน
สื่อสังคม
มาตรฐาน ว ๒.๒
ม.๓/๑-๓/๖
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติใน
ท้องถิ่น และการใช้
ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
๒
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๕
ลําดับ/ชื่อ
แผน
มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระ
การเรียนรู้
ระยะ
เวลา
น้ําหนัก
คะแนน
แผนที่ ๘
วิเคราะห์
บทเรียน
มาตรฐาน ว ๒.๒
ม.๓/๑-๓/๖
การวิเคราะห์การเรียนรู้
บทเรียนตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจ
๑ ๑
แผนที่ ๙
ประเมินผล
มาตรฐาน ว ๒.๒
ม.๓/๑-๓/๖
การทําแบบฝึกหัดทบทวน
บทเรียน และทดสอบหลัง
เรียน
๑
กิจกรรมสร้างสรรค์ (งานกลุ่ม) ๕
รวม ๑๐ ๑๐
สอบปลายภาค (ข้อสอบ ๔๐ ข้อ) ๑ ๕
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๖
คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว ๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ สังเกต อธิบาย เปรียบเทียบ ทดลอง จําแนก สํารวจตรวจสอบ
สืบค้น วิเคราะห์ อภิปราย แปลความหมาย เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก
ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อื่นๆ และผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก
องค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ ตําแหน่งของกลุ่มดาวและนําความรู้ไป
ใช้ประโยชน์ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศที่ใช้สํารวจอวกาศ วัตถุท้องฟ้า สภาวะ
อากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร และการสื่อสาร ความหลากหลายทางชีวภาพใน
ท้องถิ่นที่ทําให้สิ่งมีชีวิตดํารงอยู่ได้อย่างสมดุล ผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อ
มนุษย์ สัตว์ พืช และสิ่งแวดล้อม ผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศต่างๆ ในท้องถิ่นและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบ
นิเวศ ความสัมพันธ์ของการถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปโซ่อาหารและสายใยอาหาร
วัฏจักรน้ํา วัฏจักรคาร์บอน และความสําคัญที่มีต่อระบบนิเวศ ปัจจัยที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศ สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางการรักษา
สมดุลของระบบนิเวศ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา การ
มีส่วนร่วมในการดูแล และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ลักษณะโครโมโซมที่มี
หน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส ความสําคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ และ
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของ
ยีนและโครโมโซมและนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจ
ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนําความรู้ไป
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๗
ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่
เหมาะสม
รหัสตัวชี้วัด ว ๑.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม. ๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖
ว ๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม. ๓/๔
ว ๒.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม. ๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖
ว ๗.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓
ว ๗.๒ ม.๓/๑
ว ๘.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙
รวม ๒๔ ตัวชี้วัด
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๘
หน่วยบูรณาการการเรียนรู้
ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รายวิชาวิทยาศาสตร์ ว ๒๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนําความรู้ไปใช้ในในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ม.๓/๑ วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา
ม.๓/๒ อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
ม.๓/๓ อภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
ม.๓/๔ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ตามปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
ม.๓/๕ อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
ม.๓/๖ อภิปรายและมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใน
ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๙
สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เกิดจากการกระทํา
ของธรรมชาติและ มนุษย์ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ควรมี
แนวทางในการดูแลรักษาและป้องกัน ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้องมีการควบคุมจํานวน
ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้สลายสารอินทรีย์ ให้มีปริมาณ สัดส่วน และการกระจายที่เหมาะสม
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม เป็นการ
รักษาสมดุลของระบบนิเวศ การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้ซ้ํา นํา
กลับมาใช้ใหม่ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม ซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ เป็น
วิธีการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของ
ทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลและ
การเตรียมตัวให้พร้อมที่จะรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ปัญหาสิ่งแวดล้อม อาจเกิดจากมลพิษทางน้ํา มลพิษทางเสียง มลพิษทาง
อากาศ มลพิษทางดิน แนวทางการแก้ปัญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึกษาแหล่งที่มาของ
ปัญหา เสาะหากระบวนการในการแก้ปัญหา และทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติเพื่อ
แก้ปัญหานั้น การดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นให้ยั่งยืน ควรได้รับความร่วมมือ
จากทุกฝ่ายและต้องเป็นความรับผิดชอบของทุกคน
สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เกิดจากการกระทํา
ของธรรมชาติและ มนุษย์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ควรมีแนวทางในการดูแล
รักษาและป้องกัน
ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้องมีการควบคุมจํานวนผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้สลาย
สารอินทรีย์ ให้มีปริมาณ สัดส่วน และการกระจายที่เหมาะสม
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๐
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม เป็นการ
รักษาสมดุลของระบบนิเวศ
การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้ซ้ํา นํากลับมาใช้ใหม่ ลด
การใช้ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม ซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ เป็นวิธีการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติอย่างยั่งยืน
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของ
ทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลและ
การเตรียมตัวให้พร้อมที่จะรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ปัญหาสิ่งแวดล้อม อาจเกิดจากมลพิษทางน้ํา มลพิษทางเสียง มลพิษทาง
อากาศ มลพิษทางดิน
แนวทางการแก้ปัญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึกษาแหล่งที่มาของปัญหา เสาะหา
กระบวนการในการแก้ปัญหา และทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหานั้น
การดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นให้ยั่งยืน ควรได้รับความร่วมมือจากทุก
ฝ่ายและต้องเป็นความรับผิดชอบของทุกคน
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น -
สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
ใช้คอมพิวเตอร์นําเสนอ Power Point สมาชิกในกลุ่ม ใช้อินเตอร์เน็ตสื่อสาร
ผ่านสังคมเครือข่ายการเรียนรู้ www.edmono.coom สื่อสารกันภายในกลุ่ม ม.๓ กับ
เพื่อนร่วมระดับชั้นเดียวกัน และครูผู้สอน นําเสนอผลการทํากิจกรรม และสรุปผล หน้าชั้น
เรียน ร่วมอภิปรายซักถามในชั้นเรียน
๒. ความสามารถในการคิด
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ มีวิจารณญาณ และคิดเป็นระบบ
ตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๑
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
แก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญขณะปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง สํารวจ
ตรวจสอบ การปฏิบัติงานกลุ่ม ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล
คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง
ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการ
ตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
นํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยู่ร่วมกันขณะทํากิจกรรม ด้วยการสร้างเสริม
ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
มีทักษะกระบวนการในการคอมพิวเตอร์ในการสื่อสาร ด้วยโปรแกรม Power
Point Word และ www.edmono.coom สังคมเครือข่ายการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต นําเสนอทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้
การสื่อสาร การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่พลเมืองดีของชาติ
มีความสามัคคี ปรองดอง ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของนักเรียน และให้ความร่วมมือ
ในการทํากิจกรรม
๒. ซื่อสัตย์สุจริตกับข้อมูลที่วัดได้จากการทํากิจกรรมการทดลอง สํารวจ
ตรวจสอบ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง ไม่ถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผู้อื่นมาเป็นของ
ตน ไม่ลอกการบ้าน ปฏิบัติตามคํามั่นสัญญา ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หา
ประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๒
๓. มีวินัยในตนเอง เคารพกติกาการใช้ห้องเรียน กติกากลุ่ม รับผิดชอบงานที่ได้รับ
มอบหมาย ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียนและ
สังคมตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจําวันและรับผิดชอบในการทํางาน
๔. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ สนใจเข้า
ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ
เทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนและเลือกใช้สื่อได้อย่าง
เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้
แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่างๆและนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน
๕. อยู่อย่างพอเพียง ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง
ประหยัด คุ้มค่าและเก็บรักษาดูแลอย่างดี รวมทั้งการใช้เวลาอย่างเหมาะสม ใช้ทรัพยากร
ของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่าและเก็บรักษาดูแลอย่างดี ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วย
ความรอบคอบ มีเหตุผลไม่เอาเปรียบผู้อื่นและไม่ทําให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมื่อ
ผู้อื่นกระทําผิดพลาด วางแผนการเรียน การทํางานและการใช้ชีวิตประจําวันบนพื้นฐานของ
ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
๖. มุ่งมั่นในการทํางาน เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตั้งใจและ
รับผิดชอบในการทํางานให้สําเร็จ ปรับปรุงและพัฒนาการทํางานด้วยตนเอง ทุ่มเททํางาน
อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทํางาน พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคใน
ทํางานให้สําเร็จ
ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
๗. รักความเป็นไทย เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
๘. มีจิตสาธารณะ ช่วยเหลือพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูทํางานด้วยความเต็มใจ อาสา
ทํางานให้ผู้อื่นด้วยกําลังกาย กําลังใจและสติปัญญาโดยไม่หวังผลตอบแทน แบ่งปันสิ่งของ
ทรัพย์สินและอื่นๆและช่วยแก้ปัญหาหรือสร้างความสุขให้กับผู้อื่น ดูแลรักษาสาธารณะ
สมบัติและสิ่งแวดล้อมด้วยความเต็มใจ เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๓
ชุมชนและสังคม เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาหรือร่วมสร้างสิ่งที่ดีงามของส่วนรวม ตาม
สถานการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยความกระตือรือร้น
ชิ้นงาน/ภาระงาน
๑.๑ รายงานสรุปผลการทํากิจกรรม
๑.๒ แบบฝึกหัดทบทวน
๑.๓ แผนที่ความคิดสรุปองค์ความรู้
๑.๔ คําขวัญรณรงค์การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
๑.๔ ผลการร่วมอภิปรายกลุ่ม และการปฏิบัติกิจกรรม
๑.๕ ทดสอบหลังเรียน
การวัดผลและประเมินผลแต่ละหน่วยย่อย
๑. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมอภิปราย การปฏิบัติกิจกรรม และการ
นําเสนองานกลุ่ม
๒. ตรวจชิ้นงาน แบบฝึกหัดทบทวน รายงานสรุปผลการทํากิจกรรม แผนที่ความคิด
สรุปองค์ความรู้
๓. ทดสอบหลังเรียน
กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละหน่วยย่อย
๑.ร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
๒.สํารวจ ตรวจสอบ ปฏิบัติกิจกรรมการทดลองตามใบกิจกรรมที่ ๑-๑๐
กิจกรรมที่ ๑ กําหนดปัญหา
กิจกรรมที่ ๒ ทําความเข้าใจกับปัญหา
กิจกรรมที่ ๓ ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
กิจกรรมที่ ๔ สังเคราะห์ความรู้
กิจกรรมที่ ๕ สรุปและประเมินค่าของคําตอบ
กิจกรรมที่ ๖ นําเสนอและประเมินผลงาน
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๔
กิจกรรมที่ ๗ กิจกรรมสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ๘ วิเคราะห์การเรียนรู้บทเรียน
กิจกรรมที่ ๙ แบบฝึกหัดทบทวนบทเรียน
กิจกรรมที่ ๑๐ คําถามท้ายบท
๓.กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละคาบ
๓.๑ แจ้งเป้าหมายการเรียน ตามPowerPointประกอบการบรรยายทดสอบก่อนเรียน (คาบที่ ๑)
๓.๒ ทํากิจกรรมกลุ่มสํารวจสภาพแวดล้อมที่เป็นปัญหา และปัญหาที่พบบ่อยในโรงเรียน
ตามใบกิจกรรมที่ ๑ บันทึกข้อค้นพบ กลุ่มระบุปัญหาที่เลือก (คาบที่ ๒)
๓.๓ ทํากิจกรรมกลุ่ม ตามใบกิจกรรมที่ ๒ เลือกเครื่องมือที่จะทําความเข้าใจกับปัญหา
ออกแบบเครื่องมือที่เลือกใช้เก็บข้อมูล แต่ละกลุ่มระดมความคิด คิดข้อคําถามที่จะใช้เก็บข้อมูล
(คาบที่ ๓)
๓.๔ ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๓ ดําเนินการศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูล นอกเวลา
เรียนกับนักเรียนในโรงเรียน จํานวน ๒๔๐ คน ทุกระดับชั้น ระดับละ ๔๐ คน สุ่มนักเรียนมาในแต่ละ
ห้องเรียน นําข้อมูลที่เก็บข้อมูลได้ของแต่ละกลุ่มมาสรุปผล หาค่าเฉลี่ยของแต่ละข้อคําถาม (คาบที่ ๔)
๓.๕ ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๔ สังเคราะห์ความรู้ และใบกิจกรรมที่ ๕ สรุป
และประเมินค่าของคําตอบ (คาบที่ ๕)
๓.๖ ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๖ นําเสนอและประเมินผลงานหน้าชั้น (คาบที่ ๕
และทําต่อนอกเวลาเรียน)
๓.๗ ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายตาม Power Point กิจกรรมต่อยอดแก้ปัญหา
สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในโรงเรียน หรือในชุมชน ท้องถิ่นของนักเรียน เขียนโครงการ ดําเนินกิจกรรมตาม
โครงการ ประชาสัมพันธ์ ตามใบกิจกรรมที่ ๗ (คาบที่ ๖ และทําต่อนอกเวลาเรียน)
๓.๘ ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายการเรียนรู้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติใน
ท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ตาม Power Point (คาบที่ ๗-๘ และทบทวนนอกเวลาเรียน)
๓.๙ ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ ๘ วิเคราะห์การเรียนรู้บทเรียนตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจของพอเพียงรายบุคคล (คาบที่ ๙ และทําต่อนอกเวลาเรียน)
๓.๑๐ ทําแบบฝึกหัดทบทวนบทเรียนตามใบกิจกรรมที่ ๙ และตอบคําถามท้ายบทตามใบ
กิจกรรมที่ ๑๐ (ทําเป็นการบ้านนอกเวลาเรียน)
๓.๑๑ ทําแบบทดสอบหลังเรียน (คาบที่ ๑๐)
หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๕
๔.นําเสนอผลการทํากิจกรรมหน้าชั้นเรียน
๕.สรุปองค์ความรู้เป็นแผนที่ความคิด
๖.ตกแต่งชิ้นงานกลุ่ม
๗.ทําแบบฝึกหัดทบทวน
๘.ทดสอบหลังเรียน
เวลาเรียน/จํานวนชั่วโมง
กิจกรรมในห้องเรียน ๑๐ คาบ
กิจกรรมเสริมนอกบทเรียนตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน

More Related Content

What's hot

1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบkrupornpana55
 
1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์krupornpana55
 
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงหลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงkrupornpana55
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการkrupornpana55
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101atthaniyamai2519
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงKroo Naja Sanphet
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2Apichaya Savetvijit
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงdp130233
 

What's hot (20)

1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ
 
1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
 
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงหลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 

Viewers also liked

ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองkrupornpana55
 
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุดkrupornpana55
 
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.krupornpana55
 
19ปัญหาขยะในโรงเนรียน
19ปัญหาขยะในโรงเนรียน19ปัญหาขยะในโรงเนรียน
19ปัญหาขยะในโรงเนรียนkrupornpana55
 
33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
ประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษาประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษาkrupornpana55
 
ปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาวปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาวkrupornpana55
 
สื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนสื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนkrupornpana55
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชนkrupornpana55
 
9เดินรณรงค์
9เดินรณรงค์9เดินรณรงค์
9เดินรณรงค์krupornpana55
 
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลกkrupornpana55
 
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถวkrupornpana55
 
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียนkrupornpana55
 
10ทำพานไหว้ครู
10ทำพานไหว้ครู10ทำพานไหว้ครู
10ทำพานไหว้ครูkrupornpana55
 

Viewers also liked (20)

ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
 
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด
6คณะกรรมการนักเรียนพัฒนาวันหยุด
 
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
 
3สารบัญ
3สารบัญ3สารบัญ
3สารบัญ
 
19ปัญหาขยะในโรงเนรียน
19ปัญหาขยะในโรงเนรียน19ปัญหาขยะในโรงเนรียน
19ปัญหาขยะในโรงเนรียน
 
33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
33อบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
29หลัก 3 rs
29หลัก 3 rs29หลัก 3 rs
29หลัก 3 rs
 
ประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษาประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษา
 
1ปก
1ปก1ปก
1ปก
 
ปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาวปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาว
 
สื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนสื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียน
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
 
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน
25รักษืสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน
 
9เดินรณรงค์
9เดินรณรงค์9เดินรณรงค์
9เดินรณรงค์
 
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
 
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
 
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว
23รณรงค์ประหยัดพลังงานหน้าแถว
 
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน
2กรรมการชุดใหม่เสนอนโยบายโรงเรียน
 
10ทำพานไหว้ครู
10ทำพานไหว้ครู10ทำพานไหว้ครู
10ทำพานไหว้ครู
 

Similar to แผนหน่วยบูรณาการ

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้นวิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้นไอ ยู
 
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์oracha2010
 
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์oracha2010
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56krupornpana55
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์srkschool
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาparinya poungchan
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานWareerut Hunter
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนปรัชญา จันตา
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญาkrusuparat01
 
คำอธิบายรายวิชาม.2
คำอธิบายรายวิชาม.2 คำอธิบายรายวิชาม.2
คำอธิบายรายวิชาม.2 kroojaja
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย Passakorn Tuaprakhon
 

Similar to แผนหน่วยบูรณาการ (20)

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
วิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้นวิทย์ มอต้น
วิทย์ มอต้น
 
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
 
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์Copy of การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
Copy of การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญา
 
คำอธิบายรายวิชาม.2
คำอธิบายรายวิชาม.2 คำอธิบายรายวิชาม.2
คำอธิบายรายวิชาม.2
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
รายวิชาสังคมศึกษา 6
รายวิชาสังคมศึกษา 6  รายวิชาสังคมศึกษา 6
รายวิชาสังคมศึกษา 6
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
ป2 2 (1)
ป2 2 (1)ป2 2 (1)
ป2 2 (1)
 
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

แผนหน่วยบูรณาการ

  • 1. หน่วยบูรณาการ สาร มาต ทรัพ จัดก ตัวชี แล เศรษ อย่า ร่วมสร้างสรรค์ ระที่ ๒ ชีวิต ตรฐาน ว ๒ พยากรธรรม การทรัพยาก ชี้วัด ม.๓/๑ ิ ะเสนอแนวท ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔วิ ษฐกิจพอเพี ม.๓/๕ ม.๓/๖ างยั่งยืน ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล กับสิ่งแวดล้ .๒ เข้าใจ มชาติในระดั กรธรรมชาติ วิเคราะห์สภ ทางในการแ อธิบายแนว อภิปรายการ วิเคราะห์และ ยง อภิปรายปัญ อภิปรายแล ล้อมอย่างยั่งยืน ต ล้อม จความสําคั ดับท้องถิ่น ป ติ และสิ่งแว ภาพปัญหาสิ่ แก้ไขปัญหา ทางการรักษ รใช้ทรัพยาก ะอธิบายการ ญหาสิ่งแวดล้ ะมีส่วนร่วมใ ตามหลักปรัชญาข ัญของทรัพ ประเทศ แล วดล้อมในท้ งแวดล้อม ษาสมดุลของ กรธรรมชาติ รใช้ทรัพยาก ล้อมและเสน ในการดูแลแ ของเศรษฐกิจพอเ ยากรธรรมช ะโลกนําควา ท้องถิ่นอย่าง ทรัพยากรธ งระบบนิเวศ อย่างยั่งยืน รธรรมชาติ นอแนะแนวท และอนุรักษ์สิ เพียง ชาติ การใช้ ามรู้ไปใช้ใน ยั่งยืน รรมชาติในท้ ศ ตามปรัชญา ทางการแก้ปั สิ่งแวดล้อมใ หน้า ๑ ้ นในการ ท้องถิ่น า ญหา ในท้องถิ่น
  • 2. หน่วยบูรณาการ ๑.ปัญหาสิ่ง ทรัพยากร ท้อ ร่วมสร้างสรรค์ งแวดล้อมแล รธรรมชาติใน องถิ่น ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล รั ละ น ล้อมอย่างยั่งยืน ต หน่วย ร่วมสร้า ักษ์สิ่งแวด ตามหลัก เศรษฐกิ ๓.กิจกรรม ท.ศ.รักษ์สิ อย่าง ตามหลักปรัชญาข บูรณาการ างสรรค์ ท. ล้อมอย่าง กปรัชญาข กิจพอเพีย มสร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อม งยั่งยืน ของเศรษฐกิจพอเ ร ศ. ยั่งยืน อง ง ทรัพ เพียง ๒.การใ ัพยากรธรรมช ยั่งยืน หน้า ๒ ใช้ ชาติอย่าง
  • 3. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างส กลุ่มสาระก ๖ระดับชั้นม คะแนน สาระที่ ๒ ชี ลําดับ/ชื่อ แผน แผนที่ ๑ เรียนรู้ บทเรียน ร่วมสร้างสรรค์ โค รรค์ ท.ศ.รัก ารเรียนรู้วิท มัธยมศึกษา ชีวิตกับสิ่งแว อ มาตรฐ ๑. ทําค นักเรีย เวลาเรี ปฏิบัติ การกา รูปแบบ เรียนรู้ ๒. ทดส พื้นฐาน เกี่ยวกั เคลื่อน ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล ครงสร้างรา กษ์สิ่งแวดล้อ ทยาศาสตร์ ปีที่ ๓ เวล วดล้อม ม ฐานการเรีย ตัวชี้วัด ความเข้าใจกั นเรื่อง คะแ รียน ระเบีย และกติกาใ รเรียนโดยใช บการจัดการ สอบความรู้ น เนื้อหา ับแรง และก นที่ ล้อมอย่างยั่งยืน ต ยวิชา หน่ว อมอย่างยั่งยื รหัสวิชา ว ลาเรียน ๑๐ มาตรฐาน ว นรู้/ กับ นน บ ใน ช้ ร การ การแ ตามP ประก ก่อนเ ตามหลักปรัชญาข ยบูรณาการ ยืน ตามหลัก ๒๓๑๐๒ คาบ ๒.๒ สาระ การเรียน แจ้งเป้าหมา PowerPoint กอบการบรรยา เรียน ของเศรษฐกิจพอเ รการเรียนรู้ ักปรัชญาขอ ชื่อรา ค ะ นรู้ ยการเรียน ายทดสอบ เพียง องเศรษฐกิจ ายวิชาวิทยา คะแนนเก็บ ระยะ เวลา ๑ คาบ หน้า ๓ จพอเพียง าศาสตร์ ๑๕ น้ําหนัก คะแนน -
  • 4. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๔ ลําดับ/ชื่อ แผน มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระ การเรียนรู้ ระยะ เวลา น้ําหนัก คะแนน แผนที่ ๒ สํารวจปัญหา มาตรฐาน ว ๒.๒ ม.๓/๑-๓/๖ การสํารวจสภาพแวดล้อมที่ เป็นปัญหา และปัญหาที่พบ บ่อยในโรงเรียน ๑ คาบ ๑ แผนที่ ๓ เลือก เครื่องมือ มาตรฐาน ว ๒.๒ ม.๓/๑-๓/๖ การเลือกเครื่องมือที่จะทํา ความเข้าใจกับปัญหา ออกแบบเครื่องมือที่ เลือกใช้เก็บข้อมูล แต่ละ กลุ่มระดมความคิด คิดข้อ คําถามที่จะใช้เก็บข้อมูล ๑ คาบ ๑ แผนที่ ๔ เก็บข้อมูล มาตรฐาน ว ๒.๒ ม.๓/๑-๓/๖ การศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูล ๑ แผนที่ ๕ นําเสนอ มาตรฐาน ว ๒.๒ ม.๓/๑-๓/๖ การนําเสนอและ ประเมินผลงาน ๑ แผนที่ ๖ กิจกรรม สร้างสรรค์ มาตรฐาน ว ๒.๒ ม.๓/๑-๓/๖ กิจกรรมต่อยอดแก้ปัญหา สิ่งแวดล้อมที่ เกิดขึ้นในโรงเรียน หรือใน ชุมชน ท้องถิ่นของนักเรียน การเขียนโครงการ ดําเนิน กิจกรรมตามโครงการ ประชาสัมพันธ์ แผนที่ ๗ ทบทวน เรียนรู้ผ่าน สื่อสังคม มาตรฐาน ว ๒.๒ ม.๓/๑-๓/๖ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติใน ท้องถิ่น และการใช้ ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ๒
  • 5. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๕ ลําดับ/ชื่อ แผน มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระ การเรียนรู้ ระยะ เวลา น้ําหนัก คะแนน แผนที่ ๘ วิเคราะห์ บทเรียน มาตรฐาน ว ๒.๒ ม.๓/๑-๓/๖ การวิเคราะห์การเรียนรู้ บทเรียนตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจ ๑ ๑ แผนที่ ๙ ประเมินผล มาตรฐาน ว ๒.๒ ม.๓/๑-๓/๖ การทําแบบฝึกหัดทบทวน บทเรียน และทดสอบหลัง เรียน ๑ กิจกรรมสร้างสรรค์ (งานกลุ่ม) ๕ รวม ๑๐ ๑๐ สอบปลายภาค (ข้อสอบ ๔๐ ข้อ) ๑ ๕
  • 6. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๖ คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว ๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ สังเกต อธิบาย เปรียบเทียบ ทดลอง จําแนก สํารวจตรวจสอบ สืบค้น วิเคราะห์ อภิปราย แปลความหมาย เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อื่นๆ และผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก องค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ ตําแหน่งของกลุ่มดาวและนําความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศที่ใช้สํารวจอวกาศ วัตถุท้องฟ้า สภาวะ อากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร และการสื่อสาร ความหลากหลายทางชีวภาพใน ท้องถิ่นที่ทําให้สิ่งมีชีวิตดํารงอยู่ได้อย่างสมดุล ผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อ มนุษย์ สัตว์ พืช และสิ่งแวดล้อม ผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศต่างๆ ในท้องถิ่นและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบ นิเวศ ความสัมพันธ์ของการถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปโซ่อาหารและสายใยอาหาร วัฏจักรน้ํา วัฏจักรคาร์บอน และความสําคัญที่มีต่อระบบนิเวศ ปัจจัยที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศ สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางการรักษา สมดุลของระบบนิเวศ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา การ มีส่วนร่วมในการดูแล และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ลักษณะโครโมโซมที่มี หน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส ความสําคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ และ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของ ยีนและโครโมโซมและนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนําความรู้ไป
  • 7. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๗ ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ เหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว ๑.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม. ๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ว ๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม. ๓/๔ ว ๒.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม. ๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ว ๗.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ว ๗.๒ ม.๓/๑ ว ๘.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ รวม ๒๔ ตัวชี้วัด
  • 8. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๘ หน่วยบูรณาการการเรียนรู้ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รายวิชาวิทยาศาสตร์ ว ๒๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนําความรู้ไปใช้ในในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด ม.๓/๑ วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา ม.๓/๒ อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ม.๓/๓ อภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ม.๓/๔ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ม.๓/๕ อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา ม.๓/๖ อภิปรายและมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใน ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
  • 9. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๙ สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เกิดจากการกระทํา ของธรรมชาติและ มนุษย์ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ควรมี แนวทางในการดูแลรักษาและป้องกัน ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้องมีการควบคุมจํานวน ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้สลายสารอินทรีย์ ให้มีปริมาณ สัดส่วน และการกระจายที่เหมาะสม การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม เป็นการ รักษาสมดุลของระบบนิเวศ การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้ซ้ํา นํา กลับมาใช้ใหม่ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม ซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ เป็น วิธีการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของ ทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลและ การเตรียมตัวให้พร้อมที่จะรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ปัญหาสิ่งแวดล้อม อาจเกิดจากมลพิษทางน้ํา มลพิษทางเสียง มลพิษทาง อากาศ มลพิษทางดิน แนวทางการแก้ปัญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึกษาแหล่งที่มาของ ปัญหา เสาะหากระบวนการในการแก้ปัญหา และทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติเพื่อ แก้ปัญหานั้น การดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นให้ยั่งยืน ควรได้รับความร่วมมือ จากทุกฝ่ายและต้องเป็นความรับผิดชอบของทุกคน สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เกิดจากการกระทํา ของธรรมชาติและ มนุษย์ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ควรมีแนวทางในการดูแล รักษาและป้องกัน ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้องมีการควบคุมจํานวนผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้สลาย สารอินทรีย์ ให้มีปริมาณ สัดส่วน และการกระจายที่เหมาะสม
  • 10. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๐ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม เป็นการ รักษาสมดุลของระบบนิเวศ การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่าด้วยการใช้ซ้ํา นํากลับมาใช้ใหม่ ลด การใช้ผลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดิม ซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ เป็นวิธีการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของ ทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลและ การเตรียมตัวให้พร้อมที่จะรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ปัญหาสิ่งแวดล้อม อาจเกิดจากมลพิษทางน้ํา มลพิษทางเสียง มลพิษทาง อากาศ มลพิษทางดิน แนวทางการแก้ปัญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึกษาแหล่งที่มาของปัญหา เสาะหา กระบวนการในการแก้ปัญหา และทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหานั้น การดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นให้ยั่งยืน ควรได้รับความร่วมมือจากทุก ฝ่ายและต้องเป็นความรับผิดชอบของทุกคน สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ใช้คอมพิวเตอร์นําเสนอ Power Point สมาชิกในกลุ่ม ใช้อินเตอร์เน็ตสื่อสาร ผ่านสังคมเครือข่ายการเรียนรู้ www.edmono.coom สื่อสารกันภายในกลุ่ม ม.๓ กับ เพื่อนร่วมระดับชั้นเดียวกัน และครูผู้สอน นําเสนอผลการทํากิจกรรม และสรุปผล หน้าชั้น เรียน ร่วมอภิปรายซักถามในชั้นเรียน ๒. ความสามารถในการคิด คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ มีวิจารณญาณ และคิดเป็นระบบ ตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้
  • 11. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๑ ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา แก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญขณะปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง สํารวจ ตรวจสอบ การปฏิบัติงานกลุ่ม ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการ ตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต นํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยู่ร่วมกันขณะทํากิจกรรม ด้วยการสร้างเสริม ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มีทักษะกระบวนการในการคอมพิวเตอร์ในการสื่อสาร ด้วยโปรแกรม Power Point Word และ www.edmono.coom สังคมเครือข่ายการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทาง อินเตอร์เน็ต นําเสนอทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่พลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี ปรองดอง ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของนักเรียน และให้ความร่วมมือ ในการทํากิจกรรม ๒. ซื่อสัตย์สุจริตกับข้อมูลที่วัดได้จากการทํากิจกรรมการทดลอง สํารวจ ตรวจสอบ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง ไม่ถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผู้อื่นมาเป็นของ ตน ไม่ลอกการบ้าน ปฏิบัติตามคํามั่นสัญญา ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หา ประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง
  • 12. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๒ ๓. มีวินัยในตนเอง เคารพกติกาการใช้ห้องเรียน กติกากลุ่ม รับผิดชอบงานที่ได้รับ มอบหมาย ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียนและ สังคมตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจําวันและรับผิดชอบในการทํางาน ๔. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ สนใจเข้า ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนและเลือกใช้สื่อได้อย่าง เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่างๆและนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน ๕. อยู่อย่างพอเพียง ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัด คุ้มค่าและเก็บรักษาดูแลอย่างดี รวมทั้งการใช้เวลาอย่างเหมาะสม ใช้ทรัพยากร ของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่าและเก็บรักษาดูแลอย่างดี ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วย ความรอบคอบ มีเหตุผลไม่เอาเปรียบผู้อื่นและไม่ทําให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมื่อ ผู้อื่นกระทําผิดพลาด วางแผนการเรียน การทํางานและการใช้ชีวิตประจําวันบนพื้นฐานของ ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ๖. มุ่งมั่นในการทํางาน เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตั้งใจและ รับผิดชอบในการทํางานให้สําเร็จ ปรับปรุงและพัฒนาการทํางานด้วยตนเอง ทุ่มเททํางาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทํางาน พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคใน ทํางานให้สําเร็จ ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ ๗. รักความเป็นไทย เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ๘. มีจิตสาธารณะ ช่วยเหลือพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูทํางานด้วยความเต็มใจ อาสา ทํางานให้ผู้อื่นด้วยกําลังกาย กําลังใจและสติปัญญาโดยไม่หวังผลตอบแทน แบ่งปันสิ่งของ ทรัพย์สินและอื่นๆและช่วยแก้ปัญหาหรือสร้างความสุขให้กับผู้อื่น ดูแลรักษาสาธารณะ สมบัติและสิ่งแวดล้อมด้วยความเต็มใจ เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน
  • 13. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๓ ชุมชนและสังคม เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาหรือร่วมสร้างสิ่งที่ดีงามของส่วนรวม ตาม สถานการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยความกระตือรือร้น ชิ้นงาน/ภาระงาน ๑.๑ รายงานสรุปผลการทํากิจกรรม ๑.๒ แบบฝึกหัดทบทวน ๑.๓ แผนที่ความคิดสรุปองค์ความรู้ ๑.๔ คําขวัญรณรงค์การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ๑.๔ ผลการร่วมอภิปรายกลุ่ม และการปฏิบัติกิจกรรม ๑.๕ ทดสอบหลังเรียน การวัดผลและประเมินผลแต่ละหน่วยย่อย ๑. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมอภิปราย การปฏิบัติกิจกรรม และการ นําเสนองานกลุ่ม ๒. ตรวจชิ้นงาน แบบฝึกหัดทบทวน รายงานสรุปผลการทํากิจกรรม แผนที่ความคิด สรุปองค์ความรู้ ๓. ทดสอบหลังเรียน กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละหน่วยย่อย ๑.ร่วมอภิปรายในชั้นเรียน ๒.สํารวจ ตรวจสอบ ปฏิบัติกิจกรรมการทดลองตามใบกิจกรรมที่ ๑-๑๐ กิจกรรมที่ ๑ กําหนดปัญหา กิจกรรมที่ ๒ ทําความเข้าใจกับปัญหา กิจกรรมที่ ๓ ดําเนินการศึกษาค้นคว้า กิจกรรมที่ ๔ สังเคราะห์ความรู้ กิจกรรมที่ ๕ สรุปและประเมินค่าของคําตอบ กิจกรรมที่ ๖ นําเสนอและประเมินผลงาน
  • 14. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๔ กิจกรรมที่ ๗ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมที่ ๘ วิเคราะห์การเรียนรู้บทเรียน กิจกรรมที่ ๙ แบบฝึกหัดทบทวนบทเรียน กิจกรรมที่ ๑๐ คําถามท้ายบท ๓.กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละคาบ ๓.๑ แจ้งเป้าหมายการเรียน ตามPowerPointประกอบการบรรยายทดสอบก่อนเรียน (คาบที่ ๑) ๓.๒ ทํากิจกรรมกลุ่มสํารวจสภาพแวดล้อมที่เป็นปัญหา และปัญหาที่พบบ่อยในโรงเรียน ตามใบกิจกรรมที่ ๑ บันทึกข้อค้นพบ กลุ่มระบุปัญหาที่เลือก (คาบที่ ๒) ๓.๓ ทํากิจกรรมกลุ่ม ตามใบกิจกรรมที่ ๒ เลือกเครื่องมือที่จะทําความเข้าใจกับปัญหา ออกแบบเครื่องมือที่เลือกใช้เก็บข้อมูล แต่ละกลุ่มระดมความคิด คิดข้อคําถามที่จะใช้เก็บข้อมูล (คาบที่ ๓) ๓.๔ ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๓ ดําเนินการศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูล นอกเวลา เรียนกับนักเรียนในโรงเรียน จํานวน ๒๔๐ คน ทุกระดับชั้น ระดับละ ๔๐ คน สุ่มนักเรียนมาในแต่ละ ห้องเรียน นําข้อมูลที่เก็บข้อมูลได้ของแต่ละกลุ่มมาสรุปผล หาค่าเฉลี่ยของแต่ละข้อคําถาม (คาบที่ ๔) ๓.๕ ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๔ สังเคราะห์ความรู้ และใบกิจกรรมที่ ๕ สรุป และประเมินค่าของคําตอบ (คาบที่ ๕) ๓.๖ ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ ๖ นําเสนอและประเมินผลงานหน้าชั้น (คาบที่ ๕ และทําต่อนอกเวลาเรียน) ๓.๗ ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายตาม Power Point กิจกรรมต่อยอดแก้ปัญหา สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในโรงเรียน หรือในชุมชน ท้องถิ่นของนักเรียน เขียนโครงการ ดําเนินกิจกรรมตาม โครงการ ประชาสัมพันธ์ ตามใบกิจกรรมที่ ๗ (คาบที่ ๖ และทําต่อนอกเวลาเรียน) ๓.๘ ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายการเรียนรู้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติใน ท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ตาม Power Point (คาบที่ ๗-๘ และทบทวนนอกเวลาเรียน) ๓.๙ ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ ๘ วิเคราะห์การเรียนรู้บทเรียนตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจของพอเพียงรายบุคคล (คาบที่ ๙ และทําต่อนอกเวลาเรียน) ๓.๑๐ ทําแบบฝึกหัดทบทวนบทเรียนตามใบกิจกรรมที่ ๙ และตอบคําถามท้ายบทตามใบ กิจกรรมที่ ๑๐ (ทําเป็นการบ้านนอกเวลาเรียน) ๓.๑๑ ทําแบบทดสอบหลังเรียน (คาบที่ ๑๐)
  • 15. หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๕ ๔.นําเสนอผลการทํากิจกรรมหน้าชั้นเรียน ๕.สรุปองค์ความรู้เป็นแผนที่ความคิด ๖.ตกแต่งชิ้นงานกลุ่ม ๗.ทําแบบฝึกหัดทบทวน ๘.ทดสอบหลังเรียน เวลาเรียน/จํานวนชั่วโมง กิจกรรมในห้องเรียน ๑๐ คาบ กิจกรรมเสริมนอกบทเรียนตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน