SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
1
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
หน่วยบูรณาการร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และนักเรียนแกนนํา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
ข้อมูลพื้นฐาน
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์เป็นโรงเรียนดีประจําตําบลทุ่งยาว โรงเรียนต้นแบบสถานศึกษาพอเพียง ที่มี
นักเรียน จํานวน 660 คน ในปีการศึกษา 2555 เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จัดสอนตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2 จาก สมศ.มาตรฐานที่
4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมี
วิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จําเป็นทางหลักสูตร ผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพพอใช้
ส่วนมาตรฐาน 1-3 และ 6-8 อยู่ในระดับคุณภาพดี และดีมาก อย่างไรก็ตามจากการรายงานผลการทดสอบวัด
คุณภาพขั้นพื้นฐานผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (O-Net) โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ในปีการศึกษา
2553-2554 เปรียบเทียบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา พบว่า โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์มีคะแนนเฉลี่ยสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เท่ากับ 28.66 ในปีการศึกษา 2553 และเท่ากับ 30.75 ในปี
การศึกษา 2554 ซึ่งต่ํากว่าเกณฑ์คือร้อยละ 50 ยังไม่บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา และจากการศึกษาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 พบว่าผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ใน
ภาพรวม เท่ากับ 2.25 ร้อยละของนักเรียนที่ได้ผลการเรียน 3-4 เท่ากับ 33.98 และมีร้อยละของจํานวนนักเรียนที่
ได้รับผลการเรียน 0, ร, มส เท่ากับ 5.57 ส่วนรายวิชาวิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในภาพรวมมีผลการ
เรียนเฉลี่ย (GPA) เท่ากับ 2.37 ร้อยละของนักเรียนที่ได้ผลการเรียน 3-4 เท่ากับ 30.01 และมีร้อยละของจํานวน
นักเรียนที่ได้รับผลการเรียน 0 เท่ากับ 2.86 (โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์, 2555, หน้า 103) นักเรียนมีปัญหาในด้าน
การเรียนรู้ซึ่งเป็นผลที่ตามมาก็คือ นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มีความรู้ความเข้าใจในสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ไม่เหมาะสมกับระดับชั้นตามรายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) และการรายงาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
จากการสํารวจสภาพปัญหาในโรงเรียนของผู้เรียน พบปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียนหลายปัญหาด้วยกัน อาทิ
ปัญหาขยะในโรงเรียน ปัญหาการใช้ห้องเรียน ปัญหาการใช้อาคารหอประชุม ปัญหาห้องน้ําห้องส้วมของโรงเรียน
ปัญหาการใช้โรงอาหารในโรงเรียน ปัญหาการใช้อัศจรรย์ของโรงเรียน ปัญหาการใช้ร้านค้าสวัสดิการของโรงเรียน
ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับขยะบริเวณที่ไปสํารวจเป็นส่วนใหญ่ และการไม่มีวินัยในการไปใช้
สถานที่เหล่านั้นทํากิจกรรมจึงเป็นสาเหตุที่ทําให้เกิดปัญหาตามมา และจากประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนรู้
ของผู้สอน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มักประสบปัญหาด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการจัดการเรียนรู้ เช่น ผู้เรียน
2
ไม่สนใจเรียน นักเรียนเบื่อเรียน ขาดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ และคิดว่าการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นเรื่อง
ยาก ผลการเรียนรู้ของนักเรียนไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง นักเรียนมีบทบาทในการเรียนรู้น้อย ครูผู้สอนเน้นเนื้อหา
สาระมากกว่ากระบวนการค้นคว้าหาความรู้ จําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาและแก้ไขปรับปรุงรูปแบบกระบวนการ
เรียนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะกระบวนการคิด การคิดแก้ปัญหา การค้นหาคําตอบด้วยตนเอง
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามธรรมชาติวิชาเน้นการเสาะหาความรู้ โดยที่ผู้เรียนค้นพบความรู้ สํารวจ
ตรวจสอบสิ่งที่ต้องการรู้ และตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง ซึ่ง การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็น
ฐาน เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เริ่มต้นจากปัญหาที่เกิดขึ้นโดยสร้างความรู้จากกระบวนการทํางานกลุ่ม เพื่อ
แก้ปัญหาหรือสถานการณ์เกี่ยวกับชีวิตประจําวัน และมีความสําคัญต่อผู้เรียน ตัวปัญหาจะเป็นจุดเริ่มต้นของ
กระบวนการเรียนรู้ และเป็นตัวกระตุ้นการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลและการสืบค้น หาข้อมูลเพื่อ
เข้าใจกลไกของตัวปัญหา รวมทั้งวิธีแก้ปัญหา การเรียนรู้แบบนี้มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนในด้านทักษะและกระบวนการ
เรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้โดยการการชี้นําตนเองซึ่งผู้เรียนจะได้ฝึกฝนการสร้างองค์ความรู้โดยผ่าน
กระบวนการคิดด้วยการแก้ปัญหาอย่างมีความหมายต่อผู้เรียน (สกศ., 2550, หน้า 1) โดยมีเป้าหมายเพื่อกระตุ้น
ให้ผู้เรียนได้มีความสนใจในปัญหาที่เกิดขึ้น และยังสามารถปรับประยุกต์สิ่งที่เรียนรู้ไปสู่การสร้างประสบการณ์ของ
ตนเอง มีความรู้ความเข้าใจในปัญหาที่ศึกษาและให้เป็นไปในทางที่สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม
การเรียนการจัดการเรียนรู้ที่จะมีประสิทธิภาพ รูปแบบการจัดการเรียนการจัดการเรียนรู้เป็นตัวกลางที่ทําหน้าที่
ถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนวคิด ทักษะ และเจตคติ ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน และเน้นการเรียน
การจัดการเรียนรู้ในเรื่องใกล้ตัวที่เกี่ยวกับชีวิตประจําวันของผู้เรียน และให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตาม
มาตรฐานการเรียนรู้
หลักการของการออกแบบการจัดการเรียนรู้
1. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
2. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากกระบวนการทํางานกลุ่มจากการ
เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาตามวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์จากปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันของผู้เรียน
จุดมุ่งหมายของการออกแบบการจัดการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และ
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
2. มีทักษะการทํางานกลุ่มในการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
3. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนหน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และมีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ในการปฏิบัติการเรียนรู้หน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
ศึกษา
1. วิเค
วิเค
2. กําห
ในก
3. กําห
4. กําห
การ
5. กําห
6. กําห
แหล
7. กําห
และ
ความสามา
ผลสัม
ร่วมสร้าง
โดยใช้ปั
ข้อมูลพื้นฐาน
INPUT
ราะห์ผู้เรียนแล
ราะห์หลักสูตร
หนดเป้าหมาย
การจัดการเรียน
หนดเนื้อหาวิชา
หนดจุดประสงค
รเรียนรู้
หนดกิจกรรมกา
หนดสื่อและ
ล่งเรียนรู้
หนดกระบวนกา
ะประเมินผล
ารถในการคิด
มฤทธิ์ทางการเรีย
กําหนดหลักก
งสรรค์ ท.ศ. ร
ปัญหาเป็นฐา
ส
ละ
นรู้
า
ค์
ารเรียนรู้
ารวัด
น
ดี
กิจก
การ
ปร
รูปแบบการ
รักษ์สิ่งแวดล้
าน ชั้นมัธยมศึ
สภาพปัญหาแล
8. ดําเนิน
หน่วยบูรณ
8.1 ก
8.2 ท
8.3 ด
8.4 ส
8.5
8.6 น
10. ปร
โรง
กรรมร่วมสร้า
กําหน
ระเมินรูปแบบ
รจัดการเรียน
ล้อมอย่างยั่งยื
ศึกษาปีที่ 3 แ
ศึกษาข้อมูลพื้
ละความต้องกา
PROCE
การจัดกิจกรรม
ณาการโดยใช้ปั
กําหนดปัญหา
ทําความเข้าใจ
ดําเนินการศึกษ
สังเคราะห์ความ
สรุปและประเมิ
นําเสนอและปร
FEEDBA
รับปรุง แก้ไข พ
งเรียนต้นแบบสถา
คุณภาพ
มีสุข
งสรรค์ ท.ศ.รั
นดรูปแบบการ
บการจัดการเ ี
นรู้ หน่วยบูรณ
น ตามหลักป
และนักเรียนแ
พื้นฐาน
รจําเป็นของสถ
ESS
มการเรียนรู้
ปัญหาเป็นฐาน
กับปัญหา
ษาค้นคว้า
มรู้
มินค่าของคําตอ
ระเมินผลงาน
ACK
พัฒนาทุกขั้นตอ
านศึกษาพอเพียง
พผู้เรียน
ข
รักษ์สิ่งแวดล้
รจัดการเรียน
เรียนรู้ แบบ C
ณาการ
ปรัชญาของเศ
แกนนํา ท.ศ.รั
ถานศึกษา
อบ
อน
อมอย่างยั่งยืน
นรู้
CIPP Model
ศรษฐกิจพอเพี
รักษ์สิ่งแวดล้อ
9. ประเมินผ
และวิเคราะห
- ทดส
- ประ
กิจก
- ประ
กลุ่ม
วิทย
- ประ
- ทําแ
พฤติก
เก่ง
น
กําหนดจ
l
สภาพปั
3
พียง
อม
OUTPUT
ผลสัมฤทธิ์ทางก
ห์ผลการเรียน
สอบก่อนเรียน
เมินชิ้นงานตาม
รรม
เมินทักษะการท
มตามวิธีการทาง
ยาศาสตร์
เมินคุณลักษณ
แบบทดสอบหลั
กรรมการเรียน กา
จุดม่งหมาย
ญหาในโรงเรียน
3
การเรียน
มใบ
ทํางาน
ง
ะ
ังเรียน
ารมีวินัย
4
คําอธิบายรูปแบบการจัดการเรียนรู้
1. วิเคราะห์ผู้เรียน และวิเคราะห์หลักสูตร
การวิเคราะห์ผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนผ่านมาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2555 การวิเคราะห์ผู้เรียนด้านพฤติกรรมการเรียน การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อจัดทําหน่วยบูรณาการ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2. กําหนดเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้
2.1 กําหนดเป้าหมายด้านพุทธิพิสัย คือ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
2.2 กําหนดเป้าหมายด้านทักษะพิสัย คือ มีทักษะการทํางานกลุ่มโดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการ
แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
2.3 กําหนดเป้าหมายด้านจิตพิสัย คือ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
เป็นฐาน และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนรู้
3. กําหนดเนื้อหาวิชา
3.1 ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
3.2 การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
4. กําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 จุดประสงค์ทั่วไป
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
4.2 จุดประสงค์เฉพาะ
1) สํารวจ สืบค้น และวิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
พร้อมทั้งเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา
2) วิเคราะห์และอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3) อธิบายความสําคัญของการมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
5. กําหนดกิจกรรมการเรียนรู้
5.1 แจ้งเป้าหมายการเรียน ตามPowerPointประกอบการบรรยายทดสอบก่อนเรียน (คาบที่ 1)
5.2 ทํากิจกรรมกลุ่มสํารวจสภาพแวดล้อมที่เป็นปัญหา และปัญหาที่พบบ่อยในโรงเรียนตาม
ใบกิจกรรมที่ 1 บันทึกข้อค้นพบ กลุ่มระบุปัญหาที่เลือก (คาบที่ 2)
5.3 ทํากิจกรรมกลุ่ม ตามใบกิจกรรมที่ 2 เลือกเครื่องมือที่จะทําความเข้าใจกับปัญหา
ออกแบบเครื่องมือที่เลือกใช้เก็บข้อมูล แต่ละกลุ่มระดมความคิด คิดข้อคําถามที่จะใช้เก็บข้อมูล (คาบที่ 3)
5
5.4 ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูล นอกเวลาเรียนกับ
นักเรียนในโรงเรียน จํานวน 240 คน ทุกระดับชั้น ระดับละ 40 คน สุ่มนักเรียนมาในแต่ละห้องเรียน
นําข้อมูลที่เก็บข้อมูลได้ของแต่ละกลุ่มมาสรุปผล หาค่าเฉลี่ยของแต่ละข้อคําถาม (คาบที่ 4)
5.5 ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ 4 สังเคราะห์ความรู้ และใบกิจกรรมที่ 5 สรุปและ
ประเมินค่าของคําตอบ (คาบที่ 5)
5.6 ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ 6 นําเสนอและประเมินผลงานหน้าชั้น (คาบที่ 5 และ
ทําต่อนอกเวลาเรียน)
5.7 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายตาม Power Point กิจกรรมต่อยอดแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่
เกิดขึ้นในโรงเรียน หรือในชุมชน ท้องถิ่นของนักเรียน เขียนโครงการ ดําเนินกิจกรรมตามโครงการ
ประชาสัมพันธ์ ตามใบกิจกรรมที่ 7 (คาบที่ 6 และทําต่อนอกเวลาเรียน)
5.8 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายการเรียนรู้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติใน
ท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ตาม Power Point (คาบที่ 7-8 และทบทวนนอกเวลาเรียน)
5.9 ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 8 วิเคราะห์การเรียนรู้บทเรียนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
ของพอเพียงรายบุคคล (คาบที่ 9 และทําต่อนอกเวลาเรียน)
5.10 ทําแบบฝึกหัดทบทวนบทเรียนตามใบกิจกรรมที่ 9 และตอบคําถามท้ายบทตามใบ
กิจกรรมที่ 10 (ทําเป็นการบ้านนอกเวลาเรียน)
5.11 ทําแบบทดสอบหลังเรียน (คาบที่ 10)
6. กําหนดสื่อและแหล่งเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้ ได้แก่ สื่อ Power point ประกอบการเรียนหน่วยบูรณาการ
เอกสารประกอบ Power point ประกอบการเรียนหน่วยบูรณาการ ใบกิจกรรมที่ 1-10 เว็บไซต์ครูพรพนา
6.2 แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ บริเวณโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
7. กําหนดกระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินผลก่อนเรียน การประเมินผลระหว่างเรียน การประเมินผลหลังเรียน
ทดสอบก่อนเรียน - ประเมินชิ้นงานตามใบกิจกรรม
- ประเมินทักษะการทํางานกลุ่ม
- ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ประเมินเจตคติต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้
ทดสอบหลังเรียน
6
8. ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ดังนี้
8.1 กําหนดปัญหา
8.2 ทําความเข้าใจกับปัญหา
8.3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
8.4 สังเคราะห์ความรู้
8.5 สรุปและประเมินค่าของคําตอบ
8.6 นําเสนอและประเมินผลงาน
9. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและวิเคราะห์ผลการเรียน ได่แก่ วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน ปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน และหลังเรียน
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังเรียนกับเกณฑ์
10. ปรับปรุง แก้ไข พัฒนาทุกขั้นตอน
สรุปข้อมูลในขั้นตอนทั้ง 9 ขั้นตอนที่ดําเนินการ ถ้าขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งบกพร่อง ปรับปรุง
แก้ไข และพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ
แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
วัดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
อย่างยั่งยืน (ทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์)
- แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
- ตรวจชิ้นงานจากใบกิจกรรมที่ 1-
10
- คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
- คะแนนผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
วัดทักษะการทํางานกลุ่ม - แบบประเมินทักษะ
การทํางานกลุ่มแบบ Rubricให้
คะแนนแบบแยกองค์ประกอบระดับ
คุณภาพ 3 ระดับคือ 3, 2, 1
- ผ่านเกณฑ์
ระดับคุณภาพ 3
วัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อ
การเรียนการจัดการเรียนรู้ โดย
ใช้ปัญหาเป็นฐานและวัด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน
การเรียนรู้
- แบบวัดเจตคติจิตต่อการจัดการ
เรียนการจัดการเรียนรู้
- แบบประเมินผลงาน แบบ Rubric
ให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ
ระดับคุณภาพ 3 ระดับคือ 3,2,1
- ผ่านเกณฑ์
ระดับคุณภาพ 3
7
การประเมินการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ CIPP Model
1. ด้านบริบท
1.1 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทําให้ผู้เรียนเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์
สิ่งแวดล้อมฯได้ดีขึ้น
1.2 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทําให้นักเรียนชอบเรียน หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์
สิ่งแวดล้อมมากขึ้น
1.3 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทําให้นักเรียนได้ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาจริง มีการบูรณาการ
สาระการเรียนรู้หลากหลาย
1.4 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทําให้นักเรียนพัฒนาทักษะการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1.5 เนื้อหาที่เรียนไม่ยากเกินไปสําหรับนักเรียน
1.6 เนื้อหามีความสอดคล้องกับเวลา
1.7 เนื้อหามีความทันสมัย สอดคล้องกับชีวิตประจําวันของนักเรียน
1.8 เวลาเรียนทั้งหมดมีความเหมาะสมกับเนื้อหา
2. ด้านปัจจัยนําเข้า
2.1 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เหมาะสมกับเนื้อหา
2.2 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เพียงพอกับจํานวนนักเรียน
2.3 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้ทันสมัย น่าสนใจ
2.4 นักเรียนมีความสะดวกในการนําสื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้มาใช้
2.5 ห้องปฏิบัติการมีบรรยากาศน่าเรียนรู้
2.6 ห้องปฏิบัติการมีสื่อเทคโนโลยีการเรียนการจัดการเรียนรู้พร้อม
2.7 ขนาดห้องปฏิบัติการมีความเหมาะสมกับจํานวนนักเรียน
2.8 ครูมีความเป็นกัลยาณมิตรกับผู้เรียน
2.9 ครูมีเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ที่เข้าใจง่าย
2.10 ครูมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม
2.11 ครูมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่สอน
2.12 นักเรียนมีความรู้พื้นฐานต่อการเรียน
2.13 นักเรียนมีความพร้อมต่อการเรียน
8
3. ด้านกระบวนการ
3.1 กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา
3.2 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม
3.3 กิจกรรมการเรียนรู้มีหลากหลาย น่าสนใจ
3.4 กิจกรรมการเรียนรู้เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือทําจริง
3.5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการคิดและกระบวนการแก้ปัญหา
3.6 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการสื่อสารและการนําเสนอหน้าชั้นเรียน
3.7 กระบวนการดําเนินกิจกรรมการเรียนรู้เป็นลําดับขั้นตอน
3.8 นักเรียนทราบถึงวิธีการวัดผล เครื่องมือ และเกณฑ์การประเมินผลก่อนที่จะเรียน
3.9 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
3.10 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน
3.11 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
3.12 มีเกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจน
3.13 มีเครื่องมือวัดผลที่หลากหลาย เช่น ใบกิจกรรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบ เป็นต้น
3.14 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนเพื่อปรับปรุงพัฒนา
4. ด้านผลผลิต
4.1 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลังจากการเรียนได้ดีขึ้น
4.2 นักเรียนมีทักษะตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ตามที่ครูสอน
4.3 นักเรียนชอบเรียน หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม
4.4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงขึ้น
4.5 นักเรียนนําความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเรียนวิทยาศาสตร์ระดับที่สูงขึ้น
9
ภาพประกอบการจัดกิจกรรม ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
บรรยากาศการจัดการเรียนรู้นักเรียนระดับชั้น ม.3 และนักเรียนแกนนํา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
10
11
12
ภาพประกอบการจัดกิจกรรม ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
วิทยากรสร้างความตระหนักและให้ความรู้ ศึกษาระบบนิเวศป่าชายเลน
และร่วมรักษาสิ่งแวดล้อมบริเวณแหลมหยงสตาร์ อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
13
ภาพประกอบการจัดกิจกรรม ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
ร่วมปลูกป่าชายเลน และร่วมรักษาสิ่งแวดล้อมของชุมชนทุ่งยาว
จัดดกิจกรรมเสีย
ผลงานนั
ยงตามสาย
ักเรียน (คําข
ประชาสัมพั
ขวัญรณรงค
ันธ์หน้าแถว
ค์แก้ปัญหาข
กิจกรรม ร่ว
ขยะในโรงเรี
วมสร้างสรรค์
รียน)
ค์ ท.ศ.รักษ์สิ่
14
งแวดล้อม
4
15
ผลงานนักเรียน (Mind Map การศึกษาหน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน)
การถอดบทเรียนวิเคราะห์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
16
Power Point และใบกิจกรรม ประกอบการจัดการเรียนรู้
 
โรรงเรียนทุ่งยาว
สํานักงานเข
สํานักงานค
เผยแพร่รู
วผดุงศิษย์ อํา
ตพื้นที่การศึก
คณะกรรมกา
รูปแบบการ
และจัดนิ
าเภอปะเหลีย
กษามัธยมศึก
ารการศึกษาขั้
รจัดการเรียน
นิทรรศการผ
ยน จังหวัดตรั
กษา เขต 13
ขั้นพื้นฐาน
นรู้ต่อสาธาร
ลการดําเนิน
รัง
รณะ ผู้เกี่ยว
นงาน
วข้อง
177
18
ผลการวัดเจตคติของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้
ตาราง ผลการวัดเจตคติของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้
ข้อ รายการแสดงความคิดเห็น ( ) S.D. แปลผล
1 ข้าพเจ้าชอบเรียนวิทยาศาสตร์ หน่วยบูรณาการฯ 4.03 0.72 เห็นด้วย
2 ข้าพเจ้ารู้สึกสนุกสนานกับการเรียน หน่วยบูรณาการฯ 4.10 0.71 เห็นด้วย
3 ข้าพเจ้าสามารถเรียนรู้ เรื่อง หน่วยบูรณาการฯ ด้วยความมั่นใจ 3.73 0.78 เห็นด้วย
4 ข้าพเจ้าเบื่อหน่ายกับการเรียน หน่วยบูรณาการฯ 4.10 1.27 ไม่เห็นด้วย
5 ข้าพเจ้ารู้สึกกังวลเมื่อต้องเรียน หน่วยบูรณาการฯ 4.00 1.23 ไม่เห็นด้วย
6 ข้าพเจ้าคิดว่าการเรียนหน่วยบูรณาการฯ ทําให้สามารถ
นําไปใช้ในชีวิตประจําวันได้ 4.17 1.05 เห็นด้วย
7 ข้าพเจ้ารู้สึกภูมิใจเมื่อได้มีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่ม หรือ
นําเสนองานกลุ่มหน้าชั้นเรียน 4.33 0.92 เห็นด้วย
8 ข้าพเจ้ารู้สึกหวาดกลัวเมื่อต้องออกไปนําเสนอหน้าชั้น 4.30 0.99 ไม่เห็นด้วย
9 ข้าพเจ้ารู้สึกไม่พอใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ของครูในการ
จัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการฯ 4.30 1.21 ไม่เห็นด้วย
10 ข้าพเจ้าเร่งรีบมาเรียนห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ด้วยความ
กระตือรือร้น 4.03 0.72 เห็นด้วย
เฉลี่ยรวม 4.06 0.60 เห็นด้วย
X
19
ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้
ตาราง ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้
ข้อ รายการประเมิน ( ) S.D. แปลผล
1 ด้านบริบท
1.1 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทําให้นักเรียนเรียน
หน่วยบูรณาการฯ ได้ดีขึ้น
4.27 0.64 มาก
1.2 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทําให้นักเรียนชอบเรียน
หน่วยบูรณาการฯ มากขึ้น
4.20 0.66 มาก
1.3 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทําให้นักเรียนได้รับ
ประสบการณ์จริง
4.30 0.70 มาก
1.4 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทําให้นักเรียนพัฒนาทักษะ
กระบวนการตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
4.23 0.68 มาก
1.5 เนื้อหาที่เรียนไม่ยากเกินไปสําหรับนักเรียน 4.07 0.74 มาก
1.6 เนื้อหามีความสอดคล้องกับเวลา 3.63 1.03 มาก
1.7 เนื้อหามีความทันสมัย สอดคล้องกับชีวิตประจําวัน
ของนักเรียน
4.17 1.02 มาก
1.8 เวลาเรียนทั้งหมดมีความเหมาะสมกับเนื้อหา 4.03 1.03 มาก
ค่าเฉลี่ยรายด้าน 4.11 0.55 มาก
2 ด้านปัจจัยนําเข้า
2.1 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เหมาะสมกับเนื้อหา
4.50 0.68 มากที่สุด
2.2 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เพียงพอกับจํานวน
นักเรียน
4.27 0.78 มาก
2.3 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้ทันสมัย น่าสนใจ 4.33 0.66 มาก
2.4 นักเรียนมีความสะดวกในการนําสื่อการเรียนการ
จัดการเรียนรู้มาใช้
4.40 0.62 มาก
2.5 ห้องปฏิบัติการมีบรรยากาศน่าเรียนรู้ 4.13 0.90 มาก
2.6 ห้องปฏิบัติการมีสื่อเทคโนโลยีการเรียนการจัดการ
เรียนรู้พร้อม
4.13 0.86 มาก
X
20
ข้อ รายการประเมิน ( ) S.D. แปลผล
2.7 ขนาดห้องเรียนมีความเหมาะสมกับจํานวนนักเรียน 4.07 1.11 มาก
2.8 ครูมีความเป็นกัลยาณมิตรกับผู้เรียน 4.43 0.68 มาก
2.9 ครูมีเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ที่เข้าใจง่าย 4.33 0.92 มาก
2.10 ครูมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม 4.47 0.73 มาก
2.11 ครูมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่สอน 4.53 0.63 มากทีสุด
2.12 นักเรียนมีความรู้พื้นฐานต่อการเรียน หน่วยบูรณา
การฯ
3.90 0.80 มาก
2.13 นักเรียนมีความพร้อมต่อการเรียน หน่วยบูรณาการฯ 4.23 0.63 มาก
ค่าเฉลี่ยรายด้าน 4.29 0.58 มาก
3 ด้านกระบวนการ
3.1 กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา
4.40 0.56 มาก
3.2 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม 4.40 0.72 มาก
3.3 กิจกรรมการเรียนรู้มีหลากหลาย น่าสนใจ 4.33 0.66 มาก
3.4 กิจกรรมการเรียนรู้เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง 4.57 0.62 มากที่สุด
3.5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการคิดและ
กระบวนการแก้ปัญหา
4.47 0.63 มาก
3.6 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการสื่อสารและ
การนําเสนอหน้าชั้นเรียน
4.53 0.63 มากที่สุด
3.7 กระบวนการดําเนินกิจกรรมการเรียนรู้เป็นลําดับขั้นตอน 4.30 0.75 มาก
3.8 นักเรียนทราบถึงวิธีการวัดผล เครื่องมือ และเกณฑ์
การประเมินผลก่อนที่จะเรียน
4.03 0.85 มาก
3.9 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 4.20 0.76 มาก
3.10 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน 4.07 0.73 มาก
3.11 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ 4.27 0.74 มาก
3.12 มีเกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจน 4.33 0.71 มาก
X
21
ข้อ รายการประเมิน ( ) S.D. แปลผล
3.13 มีเครื่องมือวัดผลที่หลากหลาย เช่น ใบงาน ใบ
กิจกรรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบ เป็นต้น
4.23 0.73 มาก
3.14 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนเพื่อปรับปรุง
พัฒนา
4.10 0.66 มาก
ค่าเฉลี่ยรายด้าน 4.30 0.47 มาก
4 ด้านผลผลิต
4.1 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลังจากการเรียน
หน่วยบูรณาการฯ ได้ดีขึ้น
4.07 0.79 มาก
4.2 นักเรียนมีทักษะตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ตามที่ครู
สอน
4.13 0.73 มาก
4.3 นักเรียนชอบเรียน หน่วยบูรณาการฯ 4.10 0.89 มาก
4.4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงขึ้น 4.20 0.84 มาก
4.5 นักเรียนนําความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการจัดกิจกรรม
สร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4.33 0.71 มาก
ค่าเฉลี่ยรายด้าน 4.27 0.48 มาก
ค่าเฉลี่ยรวม 4.24 0.50 มาก
X
22
ประวัติย่อผู้ศึกษา
ชื่อ นางพรพนา สมัยรัฐ
เกิดวันที่ 17 เมษายน 2511
สถานที่อยู่ปัจจุบัน
128/1 หมู่ที่ 7 บ้านควนหยงสตาร์ ตําบลท่าข้าม อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง 92120
สถานที่ทํางานปัจจุบัน
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ตําบลทุ่งยาว อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง 92180
ประวัติการศึกษา
วท.บ. วิทยาศาสตร์ทั่วไป (ศึกษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ประวัติการทํางาน
พ.ศ. 2534-2536 อาจารย์ 1 โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง
พ.ศ. 2536-2541 อาจารย์ 2 โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ อําเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
พ.ศ. 2541-2554 ครู คศ.2 โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน ครู คศ.3 โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
เกียรติประวัติ
1. โล่ครูวิทยาศาสตร์ดีเด่น 3 ปีซ้อนระดับเขตการศึกษา 2 กรมสามัญศึกษา ปี 2539
2. ครูแกนนํา สพท.ตรังเขต 1 ประจําปี 2545
3. ครูแกนนํากรมสามัญศึกษา ประจําปี 2545
4. ชนะเลิศการประเมินมาตรฐานครูวิทยาศาสตร์ ตามเกณฑ์มาตรฐานของ สสวท. ประจําปี 2548
5. โล่ครูวิทยาศาสตร์ดีเด่น สพท.ตรัง เขต 1 ประจําปี 2549
6. ครูผู้มีความเสียสละ ของสโมสรโรตารีตรัง ประจําปี 2553
7. เกียรติบัตรและเข็มเชิดชูเกียรติครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ของคุรุสภา ประจําปี 2554
8. เกียรติบัตรการนําเสนอผลงานแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ในการแสดงผลงาน
ทางวิชาการ “Lab School Symposium 2011” ระดับประเทศ ประจําปี 2554
9. เกียรติบัตรเหรียญเงินการนําเสนอผลงาน/นวัตกรรมครู งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
ภาคใต้ ครั้งที่ 61 จังหวัดชุมพร ประจําปี 2554
10. ครูสอนดี สํานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณภาพเยาวชน ปี 2555
11. ได้รับการคัดสรรผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ของคุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษาตรังเขต1ปี 2556

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบkrupornpana55
 
1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2krupornpana55
 
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์krupornpana55
 
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการkrupornpana55
 
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.krupornpana55
 
ปกน่วยการเรียนรู้
ปกน่วยการเรียนรู้ปกน่วยการเรียนรู้
ปกน่วยการเรียนรู้krupornpana55
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์krupornpana55
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1krupornpana55
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาวปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาวkrupornpana55
 
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...laoon
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ
 
1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
 
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ไฟล์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
 
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
 
ปกน่วยการเรียนรู้
ปกน่วยการเรียนรู้ปกน่วยการเรียนรู้
ปกน่วยการเรียนรู้
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศโรงเรียนในฝัน 2013 ครูพรพนา,ทุ่งยาวผดุงศิษย์
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาวปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาว
 
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
1ปก
1ปก1ปก
1ปก
 

Viewers also liked

สื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนสื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนkrupornpana55
 
18ปลูกป่าชายเลน
18ปลูกป่าชายเลน18ปลูกป่าชายเลน
18ปลูกป่าชายเลนkrupornpana55
 
ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์
ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์
ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์krupornpana55
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56krupornpana55
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
16ประชุมสร้างความตระหนักนักเรียน
16ประชุมสร้างความตระหนักนักเรียน16ประชุมสร้างความตระหนักนักเรียน
16ประชุมสร้างความตระหนักนักเรียนkrupornpana55
 
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงหลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงkrupornpana55
 
21พัฒนาวัดคาบจิตสาธารณะ
21พัฒนาวัดคาบจิตสาธารณะ21พัฒนาวัดคาบจิตสาธารณะ
21พัฒนาวัดคาบจิตสาธารณะkrupornpana55
 
เผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบเผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบkrupornpana55
 
20พัฒนาโรงจอดรถนักเรียน
20พัฒนาโรงจอดรถนักเรียน20พัฒนาโรงจอดรถนักเรียน
20พัฒนาโรงจอดรถนักเรียนkrupornpana55
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
ประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษาประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษาkrupornpana55
 
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองkrupornpana55
 
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระkrupornpana55
 
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลกkrupornpana55
 

Viewers also liked (18)

สื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนสื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียน
 
18ปลูกป่าชายเลน
18ปลูกป่าชายเลน18ปลูกป่าชายเลน
18ปลูกป่าชายเลน
 
ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์
ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์
ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการ
 
16ประชุมสร้างความตระหนักนักเรียน
16ประชุมสร้างความตระหนักนักเรียน16ประชุมสร้างความตระหนักนักเรียน
16ประชุมสร้างความตระหนักนักเรียน
 
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงหลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
 
21พัฒนาวัดคาบจิตสาธารณะ
21พัฒนาวัดคาบจิตสาธารณะ21พัฒนาวัดคาบจิตสาธารณะ
21พัฒนาวัดคาบจิตสาธารณะ
 
เผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบเผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบ
 
20พัฒนาโรงจอดรถนักเรียน
20พัฒนาโรงจอดรถนักเรียน20พัฒนาโรงจอดรถนักเรียน
20พัฒนาโรงจอดรถนักเรียน
 
29หลัก 3 rs
29หลัก 3 rs29หลัก 3 rs
29หลัก 3 rs
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
 
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
5กิจกรรมนักเรียนแนนำ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม
 
ประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษาประวัติย่อผู้ศึกษา
ประวัติย่อผู้ศึกษา
 
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
 
3สารบัญ
3สารบัญ3สารบัญ
3สารบัญ
 
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ
11นำเสนอโครงงานกลุ่มสาระ
 
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
14ประชาสัมพันธ์หน้าแถว วันสิ่งแวดล้อมโลก
 

Similar to 2เอกสารประกอบการนำเสนอ

คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกsukanyalanla
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียarisara
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,Itnanut Nunkaew
 

Similar to 2เอกสารประกอบการนำเสนอ (20)

คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

2เอกสารประกอบการนำเสนอ

  • 1. 1 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และนักเรียนแกนนํา ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม ข้อมูลพื้นฐาน โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์เป็นโรงเรียนดีประจําตําบลทุ่งยาว โรงเรียนต้นแบบสถานศึกษาพอเพียง ที่มี นักเรียน จํานวน 660 คน ในปีการศึกษา 2555 เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จัดสอนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2 จาก สมศ.มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมี วิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จําเป็นทางหลักสูตร ผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพพอใช้ ส่วนมาตรฐาน 1-3 และ 6-8 อยู่ในระดับคุณภาพดี และดีมาก อย่างไรก็ตามจากการรายงานผลการทดสอบวัด คุณภาพขั้นพื้นฐานผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (O-Net) โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ในปีการศึกษา 2553-2554 เปรียบเทียบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา พบว่า โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์มีคะแนนเฉลี่ยสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เท่ากับ 28.66 ในปีการศึกษา 2553 และเท่ากับ 30.75 ในปี การศึกษา 2554 ซึ่งต่ํากว่าเกณฑ์คือร้อยละ 50 ยังไม่บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา และจากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 พบว่าผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ใน ภาพรวม เท่ากับ 2.25 ร้อยละของนักเรียนที่ได้ผลการเรียน 3-4 เท่ากับ 33.98 และมีร้อยละของจํานวนนักเรียนที่ ได้รับผลการเรียน 0, ร, มส เท่ากับ 5.57 ส่วนรายวิชาวิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในภาพรวมมีผลการ เรียนเฉลี่ย (GPA) เท่ากับ 2.37 ร้อยละของนักเรียนที่ได้ผลการเรียน 3-4 เท่ากับ 30.01 และมีร้อยละของจํานวน นักเรียนที่ได้รับผลการเรียน 0 เท่ากับ 2.86 (โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์, 2555, หน้า 103) นักเรียนมีปัญหาในด้าน การเรียนรู้ซึ่งเป็นผลที่ตามมาก็คือ นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มีความรู้ความเข้าใจในสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ไม่เหมาะสมกับระดับชั้นตามรายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) และการรายงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน จากการสํารวจสภาพปัญหาในโรงเรียนของผู้เรียน พบปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียนหลายปัญหาด้วยกัน อาทิ ปัญหาขยะในโรงเรียน ปัญหาการใช้ห้องเรียน ปัญหาการใช้อาคารหอประชุม ปัญหาห้องน้ําห้องส้วมของโรงเรียน ปัญหาการใช้โรงอาหารในโรงเรียน ปัญหาการใช้อัศจรรย์ของโรงเรียน ปัญหาการใช้ร้านค้าสวัสดิการของโรงเรียน ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับขยะบริเวณที่ไปสํารวจเป็นส่วนใหญ่ และการไม่มีวินัยในการไปใช้ สถานที่เหล่านั้นทํากิจกรรมจึงเป็นสาเหตุที่ทําให้เกิดปัญหาตามมา และจากประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนรู้ ของผู้สอน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มักประสบปัญหาด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการจัดการเรียนรู้ เช่น ผู้เรียน
  • 2. 2 ไม่สนใจเรียน นักเรียนเบื่อเรียน ขาดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ และคิดว่าการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นเรื่อง ยาก ผลการเรียนรู้ของนักเรียนไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง นักเรียนมีบทบาทในการเรียนรู้น้อย ครูผู้สอนเน้นเนื้อหา สาระมากกว่ากระบวนการค้นคว้าหาความรู้ จําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาและแก้ไขปรับปรุงรูปแบบกระบวนการ เรียนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะกระบวนการคิด การคิดแก้ปัญหา การค้นหาคําตอบด้วยตนเอง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามธรรมชาติวิชาเน้นการเสาะหาความรู้ โดยที่ผู้เรียนค้นพบความรู้ สํารวจ ตรวจสอบสิ่งที่ต้องการรู้ และตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง ซึ่ง การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็น ฐาน เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เริ่มต้นจากปัญหาที่เกิดขึ้นโดยสร้างความรู้จากกระบวนการทํางานกลุ่ม เพื่อ แก้ปัญหาหรือสถานการณ์เกี่ยวกับชีวิตประจําวัน และมีความสําคัญต่อผู้เรียน ตัวปัญหาจะเป็นจุดเริ่มต้นของ กระบวนการเรียนรู้ และเป็นตัวกระตุ้นการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลและการสืบค้น หาข้อมูลเพื่อ เข้าใจกลไกของตัวปัญหา รวมทั้งวิธีแก้ปัญหา การเรียนรู้แบบนี้มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนในด้านทักษะและกระบวนการ เรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้โดยการการชี้นําตนเองซึ่งผู้เรียนจะได้ฝึกฝนการสร้างองค์ความรู้โดยผ่าน กระบวนการคิดด้วยการแก้ปัญหาอย่างมีความหมายต่อผู้เรียน (สกศ., 2550, หน้า 1) โดยมีเป้าหมายเพื่อกระตุ้น ให้ผู้เรียนได้มีความสนใจในปัญหาที่เกิดขึ้น และยังสามารถปรับประยุกต์สิ่งที่เรียนรู้ไปสู่การสร้างประสบการณ์ของ ตนเอง มีความรู้ความเข้าใจในปัญหาที่ศึกษาและให้เป็นไปในทางที่สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม การเรียนการจัดการเรียนรู้ที่จะมีประสิทธิภาพ รูปแบบการจัดการเรียนการจัดการเรียนรู้เป็นตัวกลางที่ทําหน้าที่ ถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนวคิด ทักษะ และเจตคติ ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน และเน้นการเรียน การจัดการเรียนรู้ในเรื่องใกล้ตัวที่เกี่ยวกับชีวิตประจําวันของผู้เรียน และให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู้ หลักการของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 2. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากกระบวนการทํางานกลุ่มจากการ เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาตามวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์จากปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันของผู้เรียน จุดมุ่งหมายของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 2. มีทักษะการทํางานกลุ่มในการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน 3. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนหน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ในการปฏิบัติการเรียนรู้หน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
  • 3. ศึกษา 1. วิเค วิเค 2. กําห ในก 3. กําห 4. กําห การ 5. กําห 6. กําห แหล 7. กําห และ ความสามา ผลสัม ร่วมสร้าง โดยใช้ปั ข้อมูลพื้นฐาน INPUT ราะห์ผู้เรียนแล ราะห์หลักสูตร หนดเป้าหมาย การจัดการเรียน หนดเนื้อหาวิชา หนดจุดประสงค รเรียนรู้ หนดกิจกรรมกา หนดสื่อและ ล่งเรียนรู้ หนดกระบวนกา ะประเมินผล ารถในการคิด มฤทธิ์ทางการเรีย กําหนดหลักก งสรรค์ ท.ศ. ร ปัญหาเป็นฐา ส ละ นรู้ า ค์ ารเรียนรู้ ารวัด น ดี กิจก การ ปร รูปแบบการ รักษ์สิ่งแวดล้ าน ชั้นมัธยมศึ สภาพปัญหาแล 8. ดําเนิน หน่วยบูรณ 8.1 ก 8.2 ท 8.3 ด 8.4 ส 8.5 8.6 น 10. ปร โรง กรรมร่วมสร้า กําหน ระเมินรูปแบบ รจัดการเรียน ล้อมอย่างยั่งยื ศึกษาปีที่ 3 แ ศึกษาข้อมูลพื้ ละความต้องกา PROCE การจัดกิจกรรม ณาการโดยใช้ปั กําหนดปัญหา ทําความเข้าใจ ดําเนินการศึกษ สังเคราะห์ความ สรุปและประเมิ นําเสนอและปร FEEDBA รับปรุง แก้ไข พ งเรียนต้นแบบสถา คุณภาพ มีสุข งสรรค์ ท.ศ.รั นดรูปแบบการ บการจัดการเ ี นรู้ หน่วยบูรณ น ตามหลักป และนักเรียนแ พื้นฐาน รจําเป็นของสถ ESS มการเรียนรู้ ปัญหาเป็นฐาน กับปัญหา ษาค้นคว้า มรู้ มินค่าของคําตอ ระเมินผลงาน ACK พัฒนาทุกขั้นตอ านศึกษาพอเพียง พผู้เรียน ข รักษ์สิ่งแวดล้ รจัดการเรียน เรียนรู้ แบบ C ณาการ ปรัชญาของเศ แกนนํา ท.ศ.รั ถานศึกษา อบ อน อมอย่างยั่งยืน นรู้ CIPP Model ศรษฐกิจพอเพี รักษ์สิ่งแวดล้อ 9. ประเมินผ และวิเคราะห - ทดส - ประ กิจก - ประ กลุ่ม วิทย - ประ - ทําแ พฤติก เก่ง น กําหนดจ l สภาพปั 3 พียง อม OUTPUT ผลสัมฤทธิ์ทางก ห์ผลการเรียน สอบก่อนเรียน เมินชิ้นงานตาม รรม เมินทักษะการท มตามวิธีการทาง ยาศาสตร์ เมินคุณลักษณ แบบทดสอบหลั กรรมการเรียน กา จุดม่งหมาย ญหาในโรงเรียน 3 การเรียน มใบ ทํางาน ง ะ ังเรียน ารมีวินัย
  • 4. 4 คําอธิบายรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์ผู้เรียน และวิเคราะห์หลักสูตร การวิเคราะห์ผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนผ่านมาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 การวิเคราะห์ผู้เรียนด้านพฤติกรรมการเรียน การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อจัดทําหน่วยบูรณาการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. กําหนดเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ 2.1 กําหนดเป้าหมายด้านพุทธิพิสัย คือ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 2.2 กําหนดเป้าหมายด้านทักษะพิสัย คือ มีทักษะการทํางานกลุ่มโดยใช้ปัญหาเป็นฐานในการ แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน 2.3 กําหนดเป้าหมายด้านจิตพิสัย คือ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐาน และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนรู้ 3. กําหนดเนื้อหาวิชา 3.1 ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น 3.2 การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 4. กําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1 จุดประสงค์ทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 4.2 จุดประสงค์เฉพาะ 1) สํารวจ สืบค้น และวิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น พร้อมทั้งเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา 2) วิเคราะห์และอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) อธิบายความสําคัญของการมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 5. กําหนดกิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 แจ้งเป้าหมายการเรียน ตามPowerPointประกอบการบรรยายทดสอบก่อนเรียน (คาบที่ 1) 5.2 ทํากิจกรรมกลุ่มสํารวจสภาพแวดล้อมที่เป็นปัญหา และปัญหาที่พบบ่อยในโรงเรียนตาม ใบกิจกรรมที่ 1 บันทึกข้อค้นพบ กลุ่มระบุปัญหาที่เลือก (คาบที่ 2) 5.3 ทํากิจกรรมกลุ่ม ตามใบกิจกรรมที่ 2 เลือกเครื่องมือที่จะทําความเข้าใจกับปัญหา ออกแบบเครื่องมือที่เลือกใช้เก็บข้อมูล แต่ละกลุ่มระดมความคิด คิดข้อคําถามที่จะใช้เก็บข้อมูล (คาบที่ 3)
  • 5. 5 5.4 ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูล นอกเวลาเรียนกับ นักเรียนในโรงเรียน จํานวน 240 คน ทุกระดับชั้น ระดับละ 40 คน สุ่มนักเรียนมาในแต่ละห้องเรียน นําข้อมูลที่เก็บข้อมูลได้ของแต่ละกลุ่มมาสรุปผล หาค่าเฉลี่ยของแต่ละข้อคําถาม (คาบที่ 4) 5.5 ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ 4 สังเคราะห์ความรู้ และใบกิจกรรมที่ 5 สรุปและ ประเมินค่าของคําตอบ (คาบที่ 5) 5.6 ทํากิจกรรมกลุ่มตามใบกิจกรรมที่ 6 นําเสนอและประเมินผลงานหน้าชั้น (คาบที่ 5 และ ทําต่อนอกเวลาเรียน) 5.7 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายตาม Power Point กิจกรรมต่อยอดแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ เกิดขึ้นในโรงเรียน หรือในชุมชน ท้องถิ่นของนักเรียน เขียนโครงการ ดําเนินกิจกรรมตามโครงการ ประชาสัมพันธ์ ตามใบกิจกรรมที่ 7 (คาบที่ 6 และทําต่อนอกเวลาเรียน) 5.8 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายการเรียนรู้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติใน ท้องถิ่น และการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ตาม Power Point (คาบที่ 7-8 และทบทวนนอกเวลาเรียน) 5.9 ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 8 วิเคราะห์การเรียนรู้บทเรียนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ ของพอเพียงรายบุคคล (คาบที่ 9 และทําต่อนอกเวลาเรียน) 5.10 ทําแบบฝึกหัดทบทวนบทเรียนตามใบกิจกรรมที่ 9 และตอบคําถามท้ายบทตามใบ กิจกรรมที่ 10 (ทําเป็นการบ้านนอกเวลาเรียน) 5.11 ทําแบบทดสอบหลังเรียน (คาบที่ 10) 6. กําหนดสื่อและแหล่งเรียนรู้ 6.1 สื่อการเรียนรู้ ได้แก่ สื่อ Power point ประกอบการเรียนหน่วยบูรณาการ เอกสารประกอบ Power point ประกอบการเรียนหน่วยบูรณาการ ใบกิจกรรมที่ 1-10 เว็บไซต์ครูพรพนา 6.2 แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ บริเวณโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 7. กําหนดกระบวนการวัดและประเมินผล การประเมินผลก่อนเรียน การประเมินผลระหว่างเรียน การประเมินผลหลังเรียน ทดสอบก่อนเรียน - ประเมินชิ้นงานตามใบกิจกรรม - ประเมินทักษะการทํางานกลุ่ม - ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมินเจตคติต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้ ทดสอบหลังเรียน
  • 6. 6 8. ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ดังนี้ 8.1 กําหนดปัญหา 8.2 ทําความเข้าใจกับปัญหา 8.3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า 8.4 สังเคราะห์ความรู้ 8.5 สรุปและประเมินค่าของคําตอบ 8.6 นําเสนอและประเมินผลงาน 9. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและวิเคราะห์ผลการเรียน ได่แก่ วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน ปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน และหลังเรียน เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังเรียนกับเกณฑ์ 10. ปรับปรุง แก้ไข พัฒนาทุกขั้นตอน สรุปข้อมูลในขั้นตอนทั้ง 9 ขั้นตอนที่ดําเนินการ ถ้าขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งบกพร่อง ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ วัดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น อย่างยั่งยืน (ทดสอบ ผลสัมฤทธิ์) - แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - ตรวจชิ้นงานจากใบกิจกรรมที่ 1- 10 - คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน - คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 วัดทักษะการทํางานกลุ่ม - แบบประเมินทักษะ การทํางานกลุ่มแบบ Rubricให้ คะแนนแบบแยกองค์ประกอบระดับ คุณภาพ 3 ระดับคือ 3, 2, 1 - ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ 3 วัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อ การเรียนการจัดการเรียนรู้ โดย ใช้ปัญหาเป็นฐานและวัด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน การเรียนรู้ - แบบวัดเจตคติจิตต่อการจัดการ เรียนการจัดการเรียนรู้ - แบบประเมินผลงาน แบบ Rubric ให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ ระดับคุณภาพ 3 ระดับคือ 3,2,1 - ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ 3
  • 7. 7 การประเมินการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ CIPP Model 1. ด้านบริบท 1.1 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทําให้ผู้เรียนเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์ สิ่งแวดล้อมฯได้ดีขึ้น 1.2 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทําให้นักเรียนชอบเรียน หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์ สิ่งแวดล้อมมากขึ้น 1.3 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทําให้นักเรียนได้ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาจริง มีการบูรณาการ สาระการเรียนรู้หลากหลาย 1.4 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทําให้นักเรียนพัฒนาทักษะการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 1.5 เนื้อหาที่เรียนไม่ยากเกินไปสําหรับนักเรียน 1.6 เนื้อหามีความสอดคล้องกับเวลา 1.7 เนื้อหามีความทันสมัย สอดคล้องกับชีวิตประจําวันของนักเรียน 1.8 เวลาเรียนทั้งหมดมีความเหมาะสมกับเนื้อหา 2. ด้านปัจจัยนําเข้า 2.1 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เหมาะสมกับเนื้อหา 2.2 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เพียงพอกับจํานวนนักเรียน 2.3 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้ทันสมัย น่าสนใจ 2.4 นักเรียนมีความสะดวกในการนําสื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้มาใช้ 2.5 ห้องปฏิบัติการมีบรรยากาศน่าเรียนรู้ 2.6 ห้องปฏิบัติการมีสื่อเทคโนโลยีการเรียนการจัดการเรียนรู้พร้อม 2.7 ขนาดห้องปฏิบัติการมีความเหมาะสมกับจํานวนนักเรียน 2.8 ครูมีความเป็นกัลยาณมิตรกับผู้เรียน 2.9 ครูมีเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ที่เข้าใจง่าย 2.10 ครูมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม 2.11 ครูมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่สอน 2.12 นักเรียนมีความรู้พื้นฐานต่อการเรียน 2.13 นักเรียนมีความพร้อมต่อการเรียน
  • 8. 8 3. ด้านกระบวนการ 3.1 กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา 3.2 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม 3.3 กิจกรรมการเรียนรู้มีหลากหลาย น่าสนใจ 3.4 กิจกรรมการเรียนรู้เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือทําจริง 3.5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการคิดและกระบวนการแก้ปัญหา 3.6 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการสื่อสารและการนําเสนอหน้าชั้นเรียน 3.7 กระบวนการดําเนินกิจกรรมการเรียนรู้เป็นลําดับขั้นตอน 3.8 นักเรียนทราบถึงวิธีการวัดผล เครื่องมือ และเกณฑ์การประเมินผลก่อนที่จะเรียน 3.9 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 3.10 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน 3.11 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ 3.12 มีเกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจน 3.13 มีเครื่องมือวัดผลที่หลากหลาย เช่น ใบกิจกรรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบ เป็นต้น 3.14 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนเพื่อปรับปรุงพัฒนา 4. ด้านผลผลิต 4.1 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลังจากการเรียนได้ดีขึ้น 4.2 นักเรียนมีทักษะตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ตามที่ครูสอน 4.3 นักเรียนชอบเรียน หน่วยบูรณาการ ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ. รักษ์สิ่งแวดล้อม 4.4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงขึ้น 4.5 นักเรียนนําความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเรียนวิทยาศาสตร์ระดับที่สูงขึ้น
  • 10. 10
  • 11. 11
  • 12. 12 ภาพประกอบการจัดกิจกรรม ร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อม วิทยากรสร้างความตระหนักและให้ความรู้ ศึกษาระบบนิเวศป่าชายเลน และร่วมรักษาสิ่งแวดล้อมบริเวณแหลมหยงสตาร์ อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
  • 15. 15 ผลงานนักเรียน (Mind Map การศึกษาหน่วยบูรณาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน) การถอดบทเรียนวิเคราะห์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
  • 16. 16 Power Point และใบกิจกรรม ประกอบการจัดการเรียนรู้
  • 18. 18 ผลการวัดเจตคติของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ ตาราง ผลการวัดเจตคติของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการจัดการเรียนรู้ ข้อ รายการแสดงความคิดเห็น ( ) S.D. แปลผล 1 ข้าพเจ้าชอบเรียนวิทยาศาสตร์ หน่วยบูรณาการฯ 4.03 0.72 เห็นด้วย 2 ข้าพเจ้ารู้สึกสนุกสนานกับการเรียน หน่วยบูรณาการฯ 4.10 0.71 เห็นด้วย 3 ข้าพเจ้าสามารถเรียนรู้ เรื่อง หน่วยบูรณาการฯ ด้วยความมั่นใจ 3.73 0.78 เห็นด้วย 4 ข้าพเจ้าเบื่อหน่ายกับการเรียน หน่วยบูรณาการฯ 4.10 1.27 ไม่เห็นด้วย 5 ข้าพเจ้ารู้สึกกังวลเมื่อต้องเรียน หน่วยบูรณาการฯ 4.00 1.23 ไม่เห็นด้วย 6 ข้าพเจ้าคิดว่าการเรียนหน่วยบูรณาการฯ ทําให้สามารถ นําไปใช้ในชีวิตประจําวันได้ 4.17 1.05 เห็นด้วย 7 ข้าพเจ้ารู้สึกภูมิใจเมื่อได้มีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่ม หรือ นําเสนองานกลุ่มหน้าชั้นเรียน 4.33 0.92 เห็นด้วย 8 ข้าพเจ้ารู้สึกหวาดกลัวเมื่อต้องออกไปนําเสนอหน้าชั้น 4.30 0.99 ไม่เห็นด้วย 9 ข้าพเจ้ารู้สึกไม่พอใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ของครูในการ จัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการฯ 4.30 1.21 ไม่เห็นด้วย 10 ข้าพเจ้าเร่งรีบมาเรียนห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ด้วยความ กระตือรือร้น 4.03 0.72 เห็นด้วย เฉลี่ยรวม 4.06 0.60 เห็นด้วย X
  • 19. 19 ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ตาราง ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ข้อ รายการประเมิน ( ) S.D. แปลผล 1 ด้านบริบท 1.1 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทําให้นักเรียนเรียน หน่วยบูรณาการฯ ได้ดีขึ้น 4.27 0.64 มาก 1.2 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ช่วยทําให้นักเรียนชอบเรียน หน่วยบูรณาการฯ มากขึ้น 4.20 0.66 มาก 1.3 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทําให้นักเรียนได้รับ ประสบการณ์จริง 4.30 0.70 มาก 1.4 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทําให้นักเรียนพัฒนาทักษะ กระบวนการตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 4.23 0.68 มาก 1.5 เนื้อหาที่เรียนไม่ยากเกินไปสําหรับนักเรียน 4.07 0.74 มาก 1.6 เนื้อหามีความสอดคล้องกับเวลา 3.63 1.03 มาก 1.7 เนื้อหามีความทันสมัย สอดคล้องกับชีวิตประจําวัน ของนักเรียน 4.17 1.02 มาก 1.8 เวลาเรียนทั้งหมดมีความเหมาะสมกับเนื้อหา 4.03 1.03 มาก ค่าเฉลี่ยรายด้าน 4.11 0.55 มาก 2 ด้านปัจจัยนําเข้า 2.1 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เหมาะสมกับเนื้อหา 4.50 0.68 มากที่สุด 2.2 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้เพียงพอกับจํานวน นักเรียน 4.27 0.78 มาก 2.3 สื่อการเรียนการจัดการเรียนรู้ทันสมัย น่าสนใจ 4.33 0.66 มาก 2.4 นักเรียนมีความสะดวกในการนําสื่อการเรียนการ จัดการเรียนรู้มาใช้ 4.40 0.62 มาก 2.5 ห้องปฏิบัติการมีบรรยากาศน่าเรียนรู้ 4.13 0.90 มาก 2.6 ห้องปฏิบัติการมีสื่อเทคโนโลยีการเรียนการจัดการ เรียนรู้พร้อม 4.13 0.86 มาก X
  • 20. 20 ข้อ รายการประเมิน ( ) S.D. แปลผล 2.7 ขนาดห้องเรียนมีความเหมาะสมกับจํานวนนักเรียน 4.07 1.11 มาก 2.8 ครูมีความเป็นกัลยาณมิตรกับผู้เรียน 4.43 0.68 มาก 2.9 ครูมีเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ที่เข้าใจง่าย 4.33 0.92 มาก 2.10 ครูมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม 4.47 0.73 มาก 2.11 ครูมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่สอน 4.53 0.63 มากทีสุด 2.12 นักเรียนมีความรู้พื้นฐานต่อการเรียน หน่วยบูรณา การฯ 3.90 0.80 มาก 2.13 นักเรียนมีความพร้อมต่อการเรียน หน่วยบูรณาการฯ 4.23 0.63 มาก ค่าเฉลี่ยรายด้าน 4.29 0.58 มาก 3 ด้านกระบวนการ 3.1 กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา 4.40 0.56 มาก 3.2 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม 4.40 0.72 มาก 3.3 กิจกรรมการเรียนรู้มีหลากหลาย น่าสนใจ 4.33 0.66 มาก 3.4 กิจกรรมการเรียนรู้เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง 4.57 0.62 มากที่สุด 3.5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการคิดและ กระบวนการแก้ปัญหา 4.47 0.63 มาก 3.6 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการสื่อสารและ การนําเสนอหน้าชั้นเรียน 4.53 0.63 มากที่สุด 3.7 กระบวนการดําเนินกิจกรรมการเรียนรู้เป็นลําดับขั้นตอน 4.30 0.75 มาก 3.8 นักเรียนทราบถึงวิธีการวัดผล เครื่องมือ และเกณฑ์ การประเมินผลก่อนที่จะเรียน 4.03 0.85 มาก 3.9 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 4.20 0.76 มาก 3.10 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน 4.07 0.73 มาก 3.11 มีการวัดผลที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ 4.27 0.74 มาก 3.12 มีเกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจน 4.33 0.71 มาก X
  • 21. 21 ข้อ รายการประเมิน ( ) S.D. แปลผล 3.13 มีเครื่องมือวัดผลที่หลากหลาย เช่น ใบงาน ใบ กิจกรรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบ เป็นต้น 4.23 0.73 มาก 3.14 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนเพื่อปรับปรุง พัฒนา 4.10 0.66 มาก ค่าเฉลี่ยรายด้าน 4.30 0.47 มาก 4 ด้านผลผลิต 4.1 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลังจากการเรียน หน่วยบูรณาการฯ ได้ดีขึ้น 4.07 0.79 มาก 4.2 นักเรียนมีทักษะตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ตามที่ครู สอน 4.13 0.73 มาก 4.3 นักเรียนชอบเรียน หน่วยบูรณาการฯ 4.10 0.89 มาก 4.4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงขึ้น 4.20 0.84 มาก 4.5 นักเรียนนําความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการจัดกิจกรรม สร้างสรรค์ ท.ศ.รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 4.33 0.71 มาก ค่าเฉลี่ยรายด้าน 4.27 0.48 มาก ค่าเฉลี่ยรวม 4.24 0.50 มาก X
  • 22. 22 ประวัติย่อผู้ศึกษา ชื่อ นางพรพนา สมัยรัฐ เกิดวันที่ 17 เมษายน 2511 สถานที่อยู่ปัจจุบัน 128/1 หมู่ที่ 7 บ้านควนหยงสตาร์ ตําบลท่าข้าม อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง 92120 สถานที่ทํางานปัจจุบัน โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ตําบลทุ่งยาว อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง 92180 ประวัติการศึกษา วท.บ. วิทยาศาสตร์ทั่วไป (ศึกษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2534-2536 อาจารย์ 1 โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง พ.ศ. 2536-2541 อาจารย์ 2 โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ อําเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล พ.ศ. 2541-2554 ครู คศ.2 โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน ครู คศ.3 โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง เกียรติประวัติ 1. โล่ครูวิทยาศาสตร์ดีเด่น 3 ปีซ้อนระดับเขตการศึกษา 2 กรมสามัญศึกษา ปี 2539 2. ครูแกนนํา สพท.ตรังเขต 1 ประจําปี 2545 3. ครูแกนนํากรมสามัญศึกษา ประจําปี 2545 4. ชนะเลิศการประเมินมาตรฐานครูวิทยาศาสตร์ ตามเกณฑ์มาตรฐานของ สสวท. ประจําปี 2548 5. โล่ครูวิทยาศาสตร์ดีเด่น สพท.ตรัง เขต 1 ประจําปี 2549 6. ครูผู้มีความเสียสละ ของสโมสรโรตารีตรัง ประจําปี 2553 7. เกียรติบัตรและเข็มเชิดชูเกียรติครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของคุรุสภา ประจําปี 2554 8. เกียรติบัตรการนําเสนอผลงานแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ในการแสดงผลงาน ทางวิชาการ “Lab School Symposium 2011” ระดับประเทศ ประจําปี 2554 9. เกียรติบัตรเหรียญเงินการนําเสนอผลงาน/นวัตกรรมครู งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคใต้ ครั้งที่ 61 จังหวัดชุมพร ประจําปี 2554 10. ครูสอนดี สํานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณภาพเยาวชน ปี 2555 11. ได้รับการคัดสรรผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ของคุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษาตรังเขต1ปี 2556