SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
อาจารย์ อาทิตย์ ศิลาอาสน์
( แผนกช่างไฟฟ้ากาลัง )
( แผนกช่างไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ )

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา...งานไฟฟ้าเบื้องต้น รหัสวิชา 2100-1003
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554

วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
ลักษณะของสายไฟฟ้า



1. วัสดุตัวนาไฟฟ้า วัสดุที่ใช้เป็นตัวนาไฟฟ้าได้แก่ โลหะเงิน โลหะทองแดง
โลหะอลูมิเนียม โลหะเงินเยอรมัน โลหะตะกั่ว และโลหะผสมต่าง ๆ สายไฟฟ้าที่ใช้งาน
ภายในอาคารบ้านเรือนจะใช้โลหะทองแดง และระบบไฟฟ้าแรงสูงจะใช้โลหะอะลูมิเนียม
โลหะทองแดงที่ใช้ในงานไฟฟ้าจะต้องมีความบริสุทธิ์มาก หากมีสิ่งเจือปนเล็กน้อยก็จะทา
ให้ ค่าความต้านทานเพิ่มขึ้นมาก โลหะทองแดงจะต้องมีความบริสทธิ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 98
ุ
ทองแดงที่ใช้เป็นตัวนาไฟฟ้าได้แก่
ก. สายทองแดงแข็งปานกลาง เป็นสายทองแดงที่ทาจากการรีดเส้นลวด เมื่อได้ ขนาด
ตามที่ต้องการแล้วจะไม่นาไปอบให้อ่อน สายทองแดงชนิดนีจะแข็งและทนต่อแรงดึงได้สูง
้
สูงกว่าสายทองแดงชนิดอบให้ออนใช้ในงานเดินสายไฟฟ้ากลางแจ้ง และสามารถขึงให้ตึง
่
มาก ๆ ได้ เช่น สายโทรศัพท์ สายโทรเลข สายทองแดงชนิดรีดแข็งนี้มีความต้านทานสูงกว่า
สายทองแดงอ่อนราว 2.7%
ข. สายทองแดงอ่อนหรือชนิดอบให้อ่อน คือ สายทองแดงที่รดได้ขนาดแล้วนาไปอบ
ี
ด้วยความร้อนให้อ่อน ซึ่งเมื่อนาไปหรือโค้งงอ จะสามารถทาได้ง่าย ทนแดรงดึงได้เพียง
60% ของสายทองแดงชนิดแข็ง
2. วัสดุฉนวนไฟฟ้า ฉนวนคือวัสดุที่มคุณสมบัติในการกีดกั้นหรือขัดขวางการ
ี
ไหล ของกระแสไฟฟ้าหรือวัสดุที่กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลผ่านได้ได้แก่ ยาง ไฟเบอร์
พลาสติก ฯลฯ ฉนวนจะต้องสามารถป้องกันตัวนาไฟฟ้าจากความร้อนหรือของเหลวที่
สามารถกัดกร่อน ตัวนาไฟฟ้า และสามารถกันน้าได้ดี ฉนวนที่ใช้หุ้มตัวนาไฟฟ้าต้องมี
ความต้านทานสูง ต้อง ไม่ถูกกรดหรือด่างกัดกร่อนได้ตั้งแต่อุณหภูมิ 0 ถึง 200 องศาฟา
เรนไฮต์ และต้องไม่ดูด ความชื้นในอากาศ ฉนวนที่ใช้หุ้มตัวนาไฟฟ้ามีอยู่หลายชนิด ได้แก่
แร่ใยหิน ยางทนความร้อน พลาสติก PVC ฉนวนที่นิยมใช้งานได้แก่ ก. ฉนวนยาง
ฉนวนยางที่ใช้หุ้มตัวนาไฟฟ้าและสายเคเบิลทาจากยางพารา 20 ถึง 40% ผสมกับแร่
ธาตุอีกหลายชนิด เช่น ผงซัลเฟตของแมกนีเซียม สังกะสีออกไซด์ ฯลฯ และมีกามะถันปน
อยู่ด้วยเล็กน้อย ใช้ทาสายไฟฟ้าแรงสูง ข. พลาสติก PVC เป็นฉนวนที่มคุณสมบัติบิดงอ
ี
ได้ แต่ไม่ดีเท่ากับยาง ไม่มี ปฏิกิริยากับออกซิเจนและน้ามันต่าง ๆ ไม่มีปฏิกิริยากับกรดและ
ด่าง ทนอุณหภูมิได้สูง จึง เป็นทีนิยมใช้งานกันมากในปัจจุบน
่
ั


สายอลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย (AAC - All
Aluminum Conductor)

เป็นตัวนาอลูมิเนียมล้วนตีเกลียวเป็นชั้นๆ รับแรงดึงได้ต่า จึงไม่
สามารถขึงสายให้มีระยะห่างมากๆ ได้ ปกติความยาวช่วงเสา ต้องไม่
เกิน 50 เมตร ยกเว้นสายที่มีขนาด 95 sq.mm ขึ้นไปสามารถ
มีระยะช่วงเสามากถึง 100 เมตร มีลักษณะและข้อมูลทางเทคนิค
(บางกอกเคเบิล) ดังรูป
สายอลูมิเนียมแกนเหล็ก (ACSR - Aluminum
Conductor Steel Reinforced)

เป็นสายอลูมิเนียมตีเกลียวและมีสายเหล็กอยู่ตรงกลางเพื่อให้สามารถรับ
แรงดึงได้สูงขึ้น ทาให้ขยายระยะห่างช่วงเสาได้มากขึ้น แต่จะไม่ใช้สายชนิดนี้
บริเวณชายทะเล เพราะจะเกิดการกัดกร่อนจากไอเกลือ มีลักษณะและข้อมูลทาง
เทคนิค (บางกอกเคเบิล) ดังรูป
สาย Partial Insulated Cable (PIC)



โครงสร้างประกอบด้วยตัวนาอลูมิเนียมตีเกลียวอัดแน่น หุ้มด้วยฉนวน
XLPE (Cross-linked Polyethylene) หรือ PE
(Polyethylene) แล้วแต่ความเหมาะสม 1 ชั้น ปัจจุบันนิยมใช้ฉนวน
XLPE ถึงแม้มีฉนวนหุ้ม ก็ไม่สามารถแตะต้องสายได้ เพราะฉนวนบางมาก
ซึ่งจะช่วยลดการเกิดลัดวงจร ของสายเปลือยเท่านั้น ใช้เดินในอากาศผ่านลูกถ้วย
แทนสายเปลือย
สาย Space Aerial Cable (SAC)



โครงสร้างประกอบด้วยตัวนาอลูมิเนียมตีเกลียวหุมด้วยฉนวน XLPE เช่นเดียวกับ
้
สาย PIC แต่จะมีเปลือก (Sheath) ที่ทาจาก XLPE หุมฉนวนอีกชั้นหนึ่ง แต่ไม่มี
้
ชีลด์จึงไม่สามารถกั้นสนามไฟฟ้าที่ออกจากตัวนาได้ และถึงแม้จะมีเปลือกหุ้ม ก็ไม่ควร
สัมผัสสายโดยตรง เพราะมีความเข้มสนามไฟฟ้าสูง ในการใช้งาน จาเป็นต้องติดตั้งบน
ฉนวนไฟฟ้าอีกทีหนึ่ง และต้องใช้ฉนวนที่เรียกว่า spacer ที่เหมาะสมกับแรงดันเป็นตัว
รองรับ และเพื่อจากัดระยะห่างระหว่างสาย แม้ว่าจะสามารถวางไว้ใกล้กันได้มากกว่าสาย
PIC แต่ต้องไม่เกินค่าจากัดค่าหนึ่งและต้องใช้ Messenger Wire เป็นตัวรับ
น้าหนักและช่วยดึงสายไว้ Messenger Wireจะต่อลงดินทาหน้าที่เป็นสาย
Overhead Ground Wire ด้วย
สาย Preassembly Aerial
Cable

•

สายชนิดนี้จดเป็นสาย fully insulated มี
ั
โครงสร้างคล้ายสาย XLPE และสามารถวางใกล้กันได้
• จึงใช้สายชนิดนี้ในบริเวณที่มี ระยะห่างจากตัวอาคาร
• จากัด หรือผ่านบริเวณที่มีคนอาศัยอยู่
สาย Cross-linked Polyethylene (XLPE)

สายชนิดนี้จัดเป็นสาย fully insulated มีโครงสร้างดังรูป
สายไฟฟ้าแรงดันต่า - สายชนิด วีเอเอฟ (VAF)



สายไฟตาม มอก.11-2531 ที่ตามท้องตลาดเรียกว่าสายชนิด วีเอเอฟ (VAF)
เป็นสายชนิด ทนแรงดัน 300 V มีทั้งชนิดที่เป็นสายเดี่ยว สายคู่ และที่มีสายดินอยู่ด้วย
ถ้าเป็นสายเดี่ยว จะเป็นสายกลม และถ้าเป็นชนิด 2 แกน หรือ 3 แกน จะเป็นสายแบน
ตัวนานอกจาก จะมีฉนวนหุ้ม แล้วยังมีเปลือกหุมอีกชันหนึ่ง สายคู่จะนิยมรัดด้วยเข็มขัดรัด
้
้
สาย (Clip) ใช้ในบ้านอยู่อาศัยทั่วไป สายชนิดนี้ห้ามใช้ในวงจร 3 phase ที่มี
แรงดัน 380 V เช่นกัน ( ในระบบ 3 phase แต่แยกไปใช้งานเป็นแบบ 1
phase แรงดัน 220 V. จะใช้ได้ )
สายไฟฟ้าแรงดันต่า - สายชนิด ทีเอชดับเบิลยู (THW)



สายไฟฟ้าตาม มอก.11-2531 ที่ในท้องตลาดนิยมเรียกว่า ทีเอชดับเบิลยู
(THW) เป็นสาย ไฟฟ้าชนิดทนแรงดัน 750 V เป็นสายเดี่ยว นิยมใช้กนอย่าง
ั
กว้างขวาง โดยเฉพาะใน โรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากใช้ในวงจรไฟฟ้า 3
phase ได้ ปกติจะเดินร้อยในท่อร้อยสาย ชื่อ THW เป็นชื่อตามมาตรฐาน
อเมริกัน ซึ่งเป็นสายชนิดทนแรงดัน 600 V อุณหภูมิใช้งานที่ 75 องศา
เซลเซียส แต่ในประเทศไทยนิยม เรียกสายที่ผลิตตาม มอก. 11 -2531 ว่า สาย
THW เนื่องจากมีโครงสร้างคล้ายกัน และรู้กันทั่วไปในท้องตลาด
สายไฟฟ้าแรงดันต่า - สายชนิด เอ็นวายวาย (NYY)

สายไฟฟ้าตาม มอก.11-2531 ตามท้องตลาดนิยมเรียกว่าสายชนิด เอ็นวายวาย
(NYY) มีทั้งชนิดแกนเดียว และหลายแกน สายหลายแกน ก็จะเป็นสายชนิดกลม
เช่นกัน สายชนิดนี้ทนแรงดันที่ 750 V. นิยมใช้อย่างกว้างขวางเช่นกัน เนื่องจากว่ามี
ความทนต่อสภาพแวดล้อม เพราะมีเปลือกหุ้มอีกชั้นหนึ่ง บางทีเรียกว่าเป็นสายฉนวน 3
ชั้น ความจริงแล้ว สายชนิดนี้มีฉนวนชั้นเดียว อีกสองชั้นที่เหลือเป็นเปลือก เปลือกชั้นใน
ทาหน้าที่เป็นแบบ (Form) ให้สายแต่ละแกนที่ตีเกลียวเข้าด้วยกัน มีลักษณะกลม แล้ว
จึงมีเปลือกนอกหุ้ม อีกชั้นหนึ่ง ทาหน้าที่ป้องกันความเสียหายทางกายภาพ
สายไฟฟ้าแรงดันต่า - สายชนิด วีซีที (VCT)



สายไฟฟ้าตาม มอก.11 - 2531 ตามท้องตลาดเรียกว่า สาย วีซีที (VCT) เป็นสาย
กลมมี ทั้งชนิดหนึ่งแกน 2 แกน 3 แกนและ 4 แกนทนแรงดันที่ 750 V. มีฉนวนและ
เปลือกเช่นกัน มีข้อพิเศษกว่าก็คือ ตัวนาจะประกอบไปด้วย ทองแดงฝอยเส้นเล็ก ๆ ทาให้มี
ข้อดีคือ อ่อนตัวและ ทนต่อสภาพการสั่นสะเทือนได้ดี เหมาะที่จะใช้เป็น สายเดินเข้า
เครื่องจักร ที่มีการสั่นสะเทือนขณะใช้งาน สายชนิดนี้ ใช้งานได้ทั่วไปเหมือนสายชนิด
NYY สาย VCT มีหลายแบบตามรูปทรงโดยแบ่งได้ทั้งแบบ VCT - GRD ซึ่งมี 2
แกน 3 แกนและ 4 แกน และมีสายดินเดินร่วมไปด้วยอีกเส้นหนึง เพื่อให้เหมาะสาหรับใช้
่
เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องต่อลงดิน
• ตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า 2545 ได้กาหนดสีของสายไฟหุ้มฉนวน
•
•
•
•
•

ระบบแรงต่าไว้ดังนี้คือ
ตัวนานิวทรัล ให้ใช้สีเทาอ่อนหรือสีขาว
สายเส้นไฟ ต้องมีสีต่างไปจากสายนิวทรัลและตัวนาสาหรับต่อลงดิน
สายไฟฟ้าในระบบ 3 เฟส ให้ใช้สายที่มีสีฉนวนหรือทาเครื่องหมายเป็นสีดา แดง
น้าเงิน สาหรับเฟส 1 2 3 ตามลาดับ
สายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้าให้ใช้สเี ขียว หรือเขียวแถบเหลือง หรือเป็นสายเปลือย
ข้อยกเว้นที่ 1 สายไฟฟ้าที่มีขนาดโตกว่า 16 ตร.มม ให้ทาครื่องหมายแทนการ
กาหนดสีที่ปลายสาย
ข้อยกเว้นที่ 2 สายออกจากเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า (มิเตอร์ไฟฟ้า) ถึงบริภัณฑ์
ประธาน (แผงคัทเอ้าท์หรือแผง
การวัดขนาดของสายไฟฟ้า
การวัดขนาดตัวนาของสายไฟฟ้าแบบอเมริกัน ในระบบอเมริกันได้
สร้างเครื่องมือวัดขนาดของสายไฟและกาหนดมาตรฐาน AWG
หรือ American Wire
• Gauge โดยกาหนดเป็นหมายเลขขนาดของสายไฟ ตั้งแต่
ขนาดเล็กสุดเป็นเบอร์ 50
• AWG และขนาดใหญ่สุดคือØ AWG เป็นต้น เพื่อ
สะดวกในเชิงพาณิชย์และในการกาหนดของสายไฟ โดยมีตาราง
เปรียบเทียบพื้นที่หน้าตัดของสายไฟมาตราฐาน AWG ในหน่วย
เซอร์คูลาร์มิล ลักษณะของเครื่องมือวัดขนาดสายไฟฟ้าแบบ AWG
• นั้นแสดงดังรูป
•

รูปแสดงเครื่องมือวัดของสายไฟฟ้าแบบ AWG
รูปแสดงไมโครมิเตอร์

สาหรับตัวนาไฟฟ้าที่เป็นแท่งสี่เหลี่ยม เช่นบัสบาร์ ในการวัดขนาดจะ
ใช้ไมโครมิเตอร์ ( Micrometer ) ดังแสดงดังรูปต่อไปนี้ เป็น
เครื่องมือวัดขนาดของตัวนาโดยกาหนดให้ 1 มิล ( Mils ) เท่ากับ 1 /
1000 นิ้ว ( Inch ) เช่นกัน
การต่อสายไฟฟ้า
การปอกสายไฟฟ้า

การปอกสายไฟฟ้าให้เหมาะสมกับการใช้งาน และทา
ให้สายไม่หักงอง่ายทาได้โดยใช้มีดปอกฉนวนไฟฟ้าออกในลักษณะ
เดียวกับการเหล่าดินสอ โดยให้ฉนวนเป็นมุมประมาณ 30 องศา
ดังแสดงในรูป การที่ไม่ปอกสายตรงๆเพราะจะทาให้สายไฟฟ้าเป็น
รอยและหักง่าย


รูปการใช้มีดปอกสายไฟฟ้า
การต่อสายไฟฟ้า

1 ) การต่อสายไฟฟ้าด้วยหมวกต่อสาย( Wire Nuts ) หมวก
ต่อสายหรือวายนัท ลักษณะภายนอกเป็นพลาสติกแข็งเป็นฉนวนไฟฟ้าอย่างดี ภายใน
จะมีสปริงโลหะลักษณะเป็นเกลียวขดอยู่เพื่อใช้ในการขันล็อคและบีบสายให้แน่น การต่อ
สายไฟฟ้าด้วยหมวกต่อสายทาได้โดยนาสายไฟที่จะต่อกัน 2 เส้นมาตีเกลียว ให้ตัวนามี
ความยาวไม่เกินกว่าความลึกของหมวกต่อสายขันให้แน่น แล้วนาหมวกต่อสายมาครอบ
และขันให้แน่นโดยหมุนไปทางขาว เกลียวภายในจะดึงสายไฟที่ตีเกลียวให้เข้าไปภายใน
และล็อคอย่างแน่นหนา ดังแสดงดังรูป
•

2 ) การต่อแยกสายด้วยโบลท์ คือการต่อสายแยกออกจากสาย
หลักเรียกว่า Splicing นิยมใช้หัวต่อสายชนิดโบลท์เรียกว่า Bolt
- Type การต่อแยกสายโบลท์ ทาได้โดยการปอกสายเมนประมาณ 2
นิ้วให้เห็นหัวนาสายไฟฟ้า และนาสายที่จะต่อแยกมาวางให้แนบสนิทกันและ
ใช้โบลท์ล็อคสายทั้งสองเส้น จากนั้นใช้ประแจปากตายหรือประแจเลื่อน (
Wrench ) ขันนอตให้แน่นแล้วใช้เทปพันสายไฟ ( Tape )พัน
เป็นฉนวนทับอีกขั้นหนึ่ง ดังรูป
( a ) สายไฟฟ้า

( b ) สวิตช์ไฟฟ้า ( c ) การต่อสายเข้าสวิตช์ไฟฟ้า

3 ) การต่อสายเข้าอุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไปที่ต้องต่อสายไฟฟ้าเข้า
กับตัวอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น สวิตช์ ( Switchs ) และเต้ารับ ( Plugs )
เมื่อปอกสายไฟฟ้าด้วยวิธีที่ถูกต้องแล้ว ให้ใช้คีมปากแหลมตัดบริเวณปลายของ
ตัวนาโค้งพอดีกับขนาดของสกรูที่ตัวสวิตช์หรือเต้ารับ ดังรูป ( a ) ลักษณะ
ของสวิตช์ไฟฟ้าที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม แสดงดังรูป ( b ) เมื่อจะต่อสาย
ที่ปลายดัดโค้งแล้วในรูป (a )เข้ากับอุปกรณ์ไฟฟ้าในรูป ( b ) ทาได้โดยนา
ปลายสายม้วนไว้ใต้แป้นของสกรู และใช้ไขควงให้สกรูยึดกับสายไฟให้แน่น
ที่สุด โดยให้ทิศทางของการไขของไขควงไปทิศทางเดียวกันกับปลายของ
สายไฟฟ้าที่โค้งงอไว้ ดังรูป ( c )
4 ) เทคนิคการต่อสายไฟฟ้าแบบต่างๆ


4.1 การต่อสายแบบต่อตรง คือการต่อสาย 2 เส้นเข้าด้วยกันเมื่อ
ผู้ใช้งานต้องการให้สายไฟฟ้ามีขนาดยาวขึ้น ในกรณีที่ต่อสายแกน
เดียว 2 เส้นแบบต่อตรงทาได้ตามลาดับขั้นที่แสดงในรูปต่อไปนี้

รูปแสดงการต่อสายแกนเดียว 2 เส้น แบบต่อตรง
สาหรับสายไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่มีตัวนามากกว่า 1 แกน เมื่อจะ
ทาการต่อสายแบบต่อตรงสามารถทาได้ดงรูปต่อไปนี้
ั

รูปแสดงการต่อสายตัวนาหลายแกนแบบต่อตรง
 4.2 การต่อสายแบบต่อแยก

ในกรณีที่ต้องการต่อ
สายไฟฟ้าแยกจากสายหลัก (สายเมน ) เพื่อนาไปใช้งาน
ในกรณีทสายนันเป็นสายขนาดเล็กมีแกนเดียว สามารถ
ี่
้
ทาได้ตามลรูปบดังรูปต่อไปนี้
าดั แสดงการต่อสายแกนเดียว
รูปแสดงการต่อสายแกนเดียว
สาหรับการต่อแยกสายเมื่อสายนั้นเป็นสายขนาดใหญ่
มีตัวนาหลายแกนสามารถต่อได้อย่างแน่นหนาแข็งแรง
เช่นกัน โดยทาตามลาดับดังรูปต่อไปนี้



รูปแสดงการต่อแยกสายกับสายหลายแกน
การหุ้มฉนวนสายไฟฟ้า
1.เทปพันสายไฟฟ้า ทาด้วยวัสดุสังเคราะห์จาพวก PVC .
Rubber , Glass
 มีความยืดหยุ่นดี มีหลายสี เช่น สีดา สีขาว สีเทา เป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดี
ใช้ในการพันหุ้มสายไฟฟ้า เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในขณะที่
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการติดตั้งไฟฟ้าหรืองานซ่อมบารุงไฟฟ้า การพัน
เทปทับสายไฟฟ้าแสดงขั้นตอนอย่างละเอียดดังรูปต่อไปนี้

ลักษณะของเทปพันสายไฟฟ้าชนิดต่างๆ
การใช้เรซินหุ้มสายไฟฟ้า


.การใช้เรซินหุ้มสายไฟฟ้า

ในการต่อสายไฟฟ้าที่เป็นสายฟ้าแรงสูง

( High Voltage)ต้องใช้ฉนวนไฟฟ้าชนิดพิเศษ คือ เรซิน (Resin ) ซึ่งเป็น
สารเคมีที่มีคุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้าทนแรงดันไฟฟ้าได้สูงกว่าเทปพันสายไฟฟ้า ผสมให้
เป็นของเหลวและเทให้เรซินนีห่อหุ้มบริเวณจุดต่อสายไฟฟ้าแรงสูงให้ทั่วบริเวณ เมื่อเรซิ
้
นแห้งแล้วจะเป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดียิ่ง นอกจากเรซินแล้วบริษัทผู้ผลิตบางแห่งยังนาซิลิโคน (
Silicone ) มาใช้เป็นฉนวนไฟฟ้าอีกด้วยดังต่อไปนี้
การใช้และการตรวจสอบสายไฟฟ้า
* สายไฟฟ้าเก่าหรือหมดอายุใช้งาน สังเกตได้จากฉนวนจะแตกหรือแห้งกรอบ บวม
*ฉนวนสายไฟชารุด อาจเกิดจากหนูหรือแมลงกัดแทะหรือวางของหนักทับ เดิน
สายไฟใกล้แหล่งความร้อน ถูกของมีคมบาด
* จุดต่อสายไฟต้องให้แน่น หน้าสัมผัสให้ดี พันฉนวนให้เรียบร้อย
* ขนาดของสายไฟฟ้า ใช้ขนาดของสายให้เหมาะสมกับปริมาณกระแสที่ไหลใน
สาย หรือให้เหมาะสมกับเครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจรนั้น
* สายไฟฟ้าต้องไม่เดินอยู่ใกล้แหล่งความร้อน สารเคมี หรือถูกของหนักทับ เพราะ
ทาให้ฉนวนชารุดได้ง่าย และเกิดกระแสไฟฟ้าลัดวงจรขึ้นได้
* สายไฟฟ้าต้องไม่พาดบนโครงเหล็ก รั้วเหล็ก ราวเหล็ก หรือส่วนที่เป็นโลหะต้อง
เดินสายไฟฟ้าโดยใช้พุกประกับ หรือร้อยท่อให้เรียบร้อย เพื่อป้องกัน
กระแสไฟฟ้ารั่วลงบนโครงโลหะ ซึ่งจะเกิดอันตรายขึนได้
้
The end
PowerPoint…

More Related Content

What's hot

เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆRujira Meechin
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)Chatwan Wangyai
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557Panomporn Chinchana
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
โครงงาน สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ไฟฟ้าจากแผ่นซีดี
โครงงาน สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์  ไฟฟ้าจากแผ่นซีดีโครงงาน สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์  ไฟฟ้าจากแผ่นซีดี
โครงงาน สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ไฟฟ้าจากแผ่นซีดีThanapat Kamparn
 
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่aapiaa
 
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Rossarin Nhoo-ied
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5Worrachet Boonyong
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้าการวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้าPiyanuch Plaon
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)teerachon
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์krupornpana55
 

What's hot (20)

เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
โครงงาน สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ไฟฟ้าจากแผ่นซีดี
โครงงาน สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์  ไฟฟ้าจากแผ่นซีดีโครงงาน สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์  ไฟฟ้าจากแผ่นซีดี
โครงงาน สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ไฟฟ้าจากแผ่นซีดี
 
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
 
5
55
5
 
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
 
1 6
1 61 6
1 6
 
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้าการวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
 

Viewers also liked

งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้าPhachakorn Khrueapuk
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐานguest8d93e59
 
พิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้าพิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้าsangkhawong
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานjibjoy_butsaya
 
การหาเลขฐาน
การหาเลขฐานการหาเลขฐาน
การหาเลขฐานnoii pinyo
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiencytatong it
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5พอใจ พลายงาม
 
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเดโช พระกาย
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 

Viewers also liked (20)

งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
สอนเลขฐาน
สอนเลขฐานสอนเลขฐาน
สอนเลขฐาน
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
Selfpeck4หน่วยที่ 4
Selfpeck4หน่วยที่ 4Selfpeck4หน่วยที่ 4
Selfpeck4หน่วยที่ 4
 
Selfpeck3หน่วยที่3
Selfpeck3หน่วยที่3Selfpeck3หน่วยที่3
Selfpeck3หน่วยที่3
 
Selfpeck2หน่วยที่ 2
Selfpeck2หน่วยที่ 2Selfpeck2หน่วยที่ 2
Selfpeck2หน่วยที่ 2
 
Selfpeck1
Selfpeck1Selfpeck1
Selfpeck1
 
พิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้าพิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้า
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
Manual forinstall
Manual forinstallManual forinstall
Manual forinstall
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
การหาเลขฐาน
การหาเลขฐานการหาเลขฐาน
การหาเลขฐาน
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiency
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 

Similar to สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์

สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402แพทตี้ ฉัตรบริรักษ์
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407Aommy Arpajai
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407Paksupa Pleehajinda
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401Blank Jirayusw
 
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403Papangkorn Chamviteelert
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406Arutchapaun Trongsiriwat
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401Mink Chonnikan
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305wanitda
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305wanitda
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406Gunn Chaemkasem
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406Gunn Chaemkasem
 

Similar to สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์ (20)

สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
 
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
สายคู่บิดเกลียว
สายคู่บิดเกลียวสายคู่บิดเกลียว
สายคู่บิดเกลียว
 
6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 

สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์

  • 1. อาจารย์ อาทิตย์ ศิลาอาสน์ ( แผนกช่างไฟฟ้ากาลัง ) ( แผนกช่างไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ) รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา...งานไฟฟ้าเบื้องต้น รหัสวิชา 2100-1003 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
  • 2. ลักษณะของสายไฟฟ้า  1. วัสดุตัวนาไฟฟ้า วัสดุที่ใช้เป็นตัวนาไฟฟ้าได้แก่ โลหะเงิน โลหะทองแดง โลหะอลูมิเนียม โลหะเงินเยอรมัน โลหะตะกั่ว และโลหะผสมต่าง ๆ สายไฟฟ้าที่ใช้งาน ภายในอาคารบ้านเรือนจะใช้โลหะทองแดง และระบบไฟฟ้าแรงสูงจะใช้โลหะอะลูมิเนียม โลหะทองแดงที่ใช้ในงานไฟฟ้าจะต้องมีความบริสุทธิ์มาก หากมีสิ่งเจือปนเล็กน้อยก็จะทา ให้ ค่าความต้านทานเพิ่มขึ้นมาก โลหะทองแดงจะต้องมีความบริสทธิ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 98 ุ ทองแดงที่ใช้เป็นตัวนาไฟฟ้าได้แก่ ก. สายทองแดงแข็งปานกลาง เป็นสายทองแดงที่ทาจากการรีดเส้นลวด เมื่อได้ ขนาด ตามที่ต้องการแล้วจะไม่นาไปอบให้อ่อน สายทองแดงชนิดนีจะแข็งและทนต่อแรงดึงได้สูง ้ สูงกว่าสายทองแดงชนิดอบให้ออนใช้ในงานเดินสายไฟฟ้ากลางแจ้ง และสามารถขึงให้ตึง ่ มาก ๆ ได้ เช่น สายโทรศัพท์ สายโทรเลข สายทองแดงชนิดรีดแข็งนี้มีความต้านทานสูงกว่า สายทองแดงอ่อนราว 2.7% ข. สายทองแดงอ่อนหรือชนิดอบให้อ่อน คือ สายทองแดงที่รดได้ขนาดแล้วนาไปอบ ี ด้วยความร้อนให้อ่อน ซึ่งเมื่อนาไปหรือโค้งงอ จะสามารถทาได้ง่าย ทนแดรงดึงได้เพียง 60% ของสายทองแดงชนิดแข็ง
  • 3.
  • 4. 2. วัสดุฉนวนไฟฟ้า ฉนวนคือวัสดุที่มคุณสมบัติในการกีดกั้นหรือขัดขวางการ ี ไหล ของกระแสไฟฟ้าหรือวัสดุที่กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลผ่านได้ได้แก่ ยาง ไฟเบอร์ พลาสติก ฯลฯ ฉนวนจะต้องสามารถป้องกันตัวนาไฟฟ้าจากความร้อนหรือของเหลวที่ สามารถกัดกร่อน ตัวนาไฟฟ้า และสามารถกันน้าได้ดี ฉนวนที่ใช้หุ้มตัวนาไฟฟ้าต้องมี ความต้านทานสูง ต้อง ไม่ถูกกรดหรือด่างกัดกร่อนได้ตั้งแต่อุณหภูมิ 0 ถึง 200 องศาฟา เรนไฮต์ และต้องไม่ดูด ความชื้นในอากาศ ฉนวนที่ใช้หุ้มตัวนาไฟฟ้ามีอยู่หลายชนิด ได้แก่ แร่ใยหิน ยางทนความร้อน พลาสติก PVC ฉนวนที่นิยมใช้งานได้แก่ ก. ฉนวนยาง ฉนวนยางที่ใช้หุ้มตัวนาไฟฟ้าและสายเคเบิลทาจากยางพารา 20 ถึง 40% ผสมกับแร่ ธาตุอีกหลายชนิด เช่น ผงซัลเฟตของแมกนีเซียม สังกะสีออกไซด์ ฯลฯ และมีกามะถันปน อยู่ด้วยเล็กน้อย ใช้ทาสายไฟฟ้าแรงสูง ข. พลาสติก PVC เป็นฉนวนที่มคุณสมบัติบิดงอ ี ได้ แต่ไม่ดีเท่ากับยาง ไม่มี ปฏิกิริยากับออกซิเจนและน้ามันต่าง ๆ ไม่มีปฏิกิริยากับกรดและ ด่าง ทนอุณหภูมิได้สูง จึง เป็นทีนิยมใช้งานกันมากในปัจจุบน ่ ั
  • 5.
  • 6.
  • 7.  สายอลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย (AAC - All Aluminum Conductor) เป็นตัวนาอลูมิเนียมล้วนตีเกลียวเป็นชั้นๆ รับแรงดึงได้ต่า จึงไม่ สามารถขึงสายให้มีระยะห่างมากๆ ได้ ปกติความยาวช่วงเสา ต้องไม่ เกิน 50 เมตร ยกเว้นสายที่มีขนาด 95 sq.mm ขึ้นไปสามารถ มีระยะช่วงเสามากถึง 100 เมตร มีลักษณะและข้อมูลทางเทคนิค (บางกอกเคเบิล) ดังรูป
  • 8. สายอลูมิเนียมแกนเหล็ก (ACSR - Aluminum Conductor Steel Reinforced) เป็นสายอลูมิเนียมตีเกลียวและมีสายเหล็กอยู่ตรงกลางเพื่อให้สามารถรับ แรงดึงได้สูงขึ้น ทาให้ขยายระยะห่างช่วงเสาได้มากขึ้น แต่จะไม่ใช้สายชนิดนี้ บริเวณชายทะเล เพราะจะเกิดการกัดกร่อนจากไอเกลือ มีลักษณะและข้อมูลทาง เทคนิค (บางกอกเคเบิล) ดังรูป
  • 9.
  • 10. สาย Partial Insulated Cable (PIC)  โครงสร้างประกอบด้วยตัวนาอลูมิเนียมตีเกลียวอัดแน่น หุ้มด้วยฉนวน XLPE (Cross-linked Polyethylene) หรือ PE (Polyethylene) แล้วแต่ความเหมาะสม 1 ชั้น ปัจจุบันนิยมใช้ฉนวน XLPE ถึงแม้มีฉนวนหุ้ม ก็ไม่สามารถแตะต้องสายได้ เพราะฉนวนบางมาก ซึ่งจะช่วยลดการเกิดลัดวงจร ของสายเปลือยเท่านั้น ใช้เดินในอากาศผ่านลูกถ้วย แทนสายเปลือย
  • 11. สาย Space Aerial Cable (SAC)  โครงสร้างประกอบด้วยตัวนาอลูมิเนียมตีเกลียวหุมด้วยฉนวน XLPE เช่นเดียวกับ ้ สาย PIC แต่จะมีเปลือก (Sheath) ที่ทาจาก XLPE หุมฉนวนอีกชั้นหนึ่ง แต่ไม่มี ้ ชีลด์จึงไม่สามารถกั้นสนามไฟฟ้าที่ออกจากตัวนาได้ และถึงแม้จะมีเปลือกหุ้ม ก็ไม่ควร สัมผัสสายโดยตรง เพราะมีความเข้มสนามไฟฟ้าสูง ในการใช้งาน จาเป็นต้องติดตั้งบน ฉนวนไฟฟ้าอีกทีหนึ่ง และต้องใช้ฉนวนที่เรียกว่า spacer ที่เหมาะสมกับแรงดันเป็นตัว รองรับ และเพื่อจากัดระยะห่างระหว่างสาย แม้ว่าจะสามารถวางไว้ใกล้กันได้มากกว่าสาย PIC แต่ต้องไม่เกินค่าจากัดค่าหนึ่งและต้องใช้ Messenger Wire เป็นตัวรับ น้าหนักและช่วยดึงสายไว้ Messenger Wireจะต่อลงดินทาหน้าที่เป็นสาย Overhead Ground Wire ด้วย
  • 12. สาย Preassembly Aerial Cable • สายชนิดนี้จดเป็นสาย fully insulated มี ั โครงสร้างคล้ายสาย XLPE และสามารถวางใกล้กันได้ • จึงใช้สายชนิดนี้ในบริเวณที่มี ระยะห่างจากตัวอาคาร • จากัด หรือผ่านบริเวณที่มีคนอาศัยอยู่
  • 13. สาย Cross-linked Polyethylene (XLPE) สายชนิดนี้จัดเป็นสาย fully insulated มีโครงสร้างดังรูป
  • 14. สายไฟฟ้าแรงดันต่า - สายชนิด วีเอเอฟ (VAF)  สายไฟตาม มอก.11-2531 ที่ตามท้องตลาดเรียกว่าสายชนิด วีเอเอฟ (VAF) เป็นสายชนิด ทนแรงดัน 300 V มีทั้งชนิดที่เป็นสายเดี่ยว สายคู่ และที่มีสายดินอยู่ด้วย ถ้าเป็นสายเดี่ยว จะเป็นสายกลม และถ้าเป็นชนิด 2 แกน หรือ 3 แกน จะเป็นสายแบน ตัวนานอกจาก จะมีฉนวนหุ้ม แล้วยังมีเปลือกหุมอีกชันหนึ่ง สายคู่จะนิยมรัดด้วยเข็มขัดรัด ้ ้ สาย (Clip) ใช้ในบ้านอยู่อาศัยทั่วไป สายชนิดนี้ห้ามใช้ในวงจร 3 phase ที่มี แรงดัน 380 V เช่นกัน ( ในระบบ 3 phase แต่แยกไปใช้งานเป็นแบบ 1 phase แรงดัน 220 V. จะใช้ได้ )
  • 15. สายไฟฟ้าแรงดันต่า - สายชนิด ทีเอชดับเบิลยู (THW)  สายไฟฟ้าตาม มอก.11-2531 ที่ในท้องตลาดนิยมเรียกว่า ทีเอชดับเบิลยู (THW) เป็นสาย ไฟฟ้าชนิดทนแรงดัน 750 V เป็นสายเดี่ยว นิยมใช้กนอย่าง ั กว้างขวาง โดยเฉพาะใน โรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากใช้ในวงจรไฟฟ้า 3 phase ได้ ปกติจะเดินร้อยในท่อร้อยสาย ชื่อ THW เป็นชื่อตามมาตรฐาน อเมริกัน ซึ่งเป็นสายชนิดทนแรงดัน 600 V อุณหภูมิใช้งานที่ 75 องศา เซลเซียส แต่ในประเทศไทยนิยม เรียกสายที่ผลิตตาม มอก. 11 -2531 ว่า สาย THW เนื่องจากมีโครงสร้างคล้ายกัน และรู้กันทั่วไปในท้องตลาด
  • 16. สายไฟฟ้าแรงดันต่า - สายชนิด เอ็นวายวาย (NYY) สายไฟฟ้าตาม มอก.11-2531 ตามท้องตลาดนิยมเรียกว่าสายชนิด เอ็นวายวาย (NYY) มีทั้งชนิดแกนเดียว และหลายแกน สายหลายแกน ก็จะเป็นสายชนิดกลม เช่นกัน สายชนิดนี้ทนแรงดันที่ 750 V. นิยมใช้อย่างกว้างขวางเช่นกัน เนื่องจากว่ามี ความทนต่อสภาพแวดล้อม เพราะมีเปลือกหุ้มอีกชั้นหนึ่ง บางทีเรียกว่าเป็นสายฉนวน 3 ชั้น ความจริงแล้ว สายชนิดนี้มีฉนวนชั้นเดียว อีกสองชั้นที่เหลือเป็นเปลือก เปลือกชั้นใน ทาหน้าที่เป็นแบบ (Form) ให้สายแต่ละแกนที่ตีเกลียวเข้าด้วยกัน มีลักษณะกลม แล้ว จึงมีเปลือกนอกหุ้ม อีกชั้นหนึ่ง ทาหน้าที่ป้องกันความเสียหายทางกายภาพ
  • 17. สายไฟฟ้าแรงดันต่า - สายชนิด วีซีที (VCT)  สายไฟฟ้าตาม มอก.11 - 2531 ตามท้องตลาดเรียกว่า สาย วีซีที (VCT) เป็นสาย กลมมี ทั้งชนิดหนึ่งแกน 2 แกน 3 แกนและ 4 แกนทนแรงดันที่ 750 V. มีฉนวนและ เปลือกเช่นกัน มีข้อพิเศษกว่าก็คือ ตัวนาจะประกอบไปด้วย ทองแดงฝอยเส้นเล็ก ๆ ทาให้มี ข้อดีคือ อ่อนตัวและ ทนต่อสภาพการสั่นสะเทือนได้ดี เหมาะที่จะใช้เป็น สายเดินเข้า เครื่องจักร ที่มีการสั่นสะเทือนขณะใช้งาน สายชนิดนี้ ใช้งานได้ทั่วไปเหมือนสายชนิด NYY สาย VCT มีหลายแบบตามรูปทรงโดยแบ่งได้ทั้งแบบ VCT - GRD ซึ่งมี 2 แกน 3 แกนและ 4 แกน และมีสายดินเดินร่วมไปด้วยอีกเส้นหนึง เพื่อให้เหมาะสาหรับใช้ ่ เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องต่อลงดิน
  • 18. • ตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า 2545 ได้กาหนดสีของสายไฟหุ้มฉนวน • • • • • ระบบแรงต่าไว้ดังนี้คือ ตัวนานิวทรัล ให้ใช้สีเทาอ่อนหรือสีขาว สายเส้นไฟ ต้องมีสีต่างไปจากสายนิวทรัลและตัวนาสาหรับต่อลงดิน สายไฟฟ้าในระบบ 3 เฟส ให้ใช้สายที่มีสีฉนวนหรือทาเครื่องหมายเป็นสีดา แดง น้าเงิน สาหรับเฟส 1 2 3 ตามลาดับ สายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้าให้ใช้สเี ขียว หรือเขียวแถบเหลือง หรือเป็นสายเปลือย ข้อยกเว้นที่ 1 สายไฟฟ้าที่มีขนาดโตกว่า 16 ตร.มม ให้ทาครื่องหมายแทนการ กาหนดสีที่ปลายสาย ข้อยกเว้นที่ 2 สายออกจากเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า (มิเตอร์ไฟฟ้า) ถึงบริภัณฑ์ ประธาน (แผงคัทเอ้าท์หรือแผง
  • 19. การวัดขนาดของสายไฟฟ้า การวัดขนาดตัวนาของสายไฟฟ้าแบบอเมริกัน ในระบบอเมริกันได้ สร้างเครื่องมือวัดขนาดของสายไฟและกาหนดมาตรฐาน AWG หรือ American Wire • Gauge โดยกาหนดเป็นหมายเลขขนาดของสายไฟ ตั้งแต่ ขนาดเล็กสุดเป็นเบอร์ 50 • AWG และขนาดใหญ่สุดคือØ AWG เป็นต้น เพื่อ สะดวกในเชิงพาณิชย์และในการกาหนดของสายไฟ โดยมีตาราง เปรียบเทียบพื้นที่หน้าตัดของสายไฟมาตราฐาน AWG ในหน่วย เซอร์คูลาร์มิล ลักษณะของเครื่องมือวัดขนาดสายไฟฟ้าแบบ AWG • นั้นแสดงดังรูป • รูปแสดงเครื่องมือวัดของสายไฟฟ้าแบบ AWG
  • 20. รูปแสดงไมโครมิเตอร์ สาหรับตัวนาไฟฟ้าที่เป็นแท่งสี่เหลี่ยม เช่นบัสบาร์ ในการวัดขนาดจะ ใช้ไมโครมิเตอร์ ( Micrometer ) ดังแสดงดังรูปต่อไปนี้ เป็น เครื่องมือวัดขนาดของตัวนาโดยกาหนดให้ 1 มิล ( Mils ) เท่ากับ 1 / 1000 นิ้ว ( Inch ) เช่นกัน
  • 21. การต่อสายไฟฟ้า การปอกสายไฟฟ้า  การปอกสายไฟฟ้าให้เหมาะสมกับการใช้งาน และทา ให้สายไม่หักงอง่ายทาได้โดยใช้มีดปอกฉนวนไฟฟ้าออกในลักษณะ เดียวกับการเหล่าดินสอ โดยให้ฉนวนเป็นมุมประมาณ 30 องศา ดังแสดงในรูป การที่ไม่ปอกสายตรงๆเพราะจะทาให้สายไฟฟ้าเป็น รอยและหักง่าย  รูปการใช้มีดปอกสายไฟฟ้า
  • 22. การต่อสายไฟฟ้า 1 ) การต่อสายไฟฟ้าด้วยหมวกต่อสาย( Wire Nuts ) หมวก ต่อสายหรือวายนัท ลักษณะภายนอกเป็นพลาสติกแข็งเป็นฉนวนไฟฟ้าอย่างดี ภายใน จะมีสปริงโลหะลักษณะเป็นเกลียวขดอยู่เพื่อใช้ในการขันล็อคและบีบสายให้แน่น การต่อ สายไฟฟ้าด้วยหมวกต่อสายทาได้โดยนาสายไฟที่จะต่อกัน 2 เส้นมาตีเกลียว ให้ตัวนามี ความยาวไม่เกินกว่าความลึกของหมวกต่อสายขันให้แน่น แล้วนาหมวกต่อสายมาครอบ และขันให้แน่นโดยหมุนไปทางขาว เกลียวภายในจะดึงสายไฟที่ตีเกลียวให้เข้าไปภายใน และล็อคอย่างแน่นหนา ดังแสดงดังรูป
  • 23. • 2 ) การต่อแยกสายด้วยโบลท์ คือการต่อสายแยกออกจากสาย หลักเรียกว่า Splicing นิยมใช้หัวต่อสายชนิดโบลท์เรียกว่า Bolt - Type การต่อแยกสายโบลท์ ทาได้โดยการปอกสายเมนประมาณ 2 นิ้วให้เห็นหัวนาสายไฟฟ้า และนาสายที่จะต่อแยกมาวางให้แนบสนิทกันและ ใช้โบลท์ล็อคสายทั้งสองเส้น จากนั้นใช้ประแจปากตายหรือประแจเลื่อน ( Wrench ) ขันนอตให้แน่นแล้วใช้เทปพันสายไฟ ( Tape )พัน เป็นฉนวนทับอีกขั้นหนึ่ง ดังรูป
  • 24. ( a ) สายไฟฟ้า ( b ) สวิตช์ไฟฟ้า ( c ) การต่อสายเข้าสวิตช์ไฟฟ้า 3 ) การต่อสายเข้าอุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไปที่ต้องต่อสายไฟฟ้าเข้า กับตัวอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น สวิตช์ ( Switchs ) และเต้ารับ ( Plugs ) เมื่อปอกสายไฟฟ้าด้วยวิธีที่ถูกต้องแล้ว ให้ใช้คีมปากแหลมตัดบริเวณปลายของ ตัวนาโค้งพอดีกับขนาดของสกรูที่ตัวสวิตช์หรือเต้ารับ ดังรูป ( a ) ลักษณะ ของสวิตช์ไฟฟ้าที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม แสดงดังรูป ( b ) เมื่อจะต่อสาย ที่ปลายดัดโค้งแล้วในรูป (a )เข้ากับอุปกรณ์ไฟฟ้าในรูป ( b ) ทาได้โดยนา ปลายสายม้วนไว้ใต้แป้นของสกรู และใช้ไขควงให้สกรูยึดกับสายไฟให้แน่น ที่สุด โดยให้ทิศทางของการไขของไขควงไปทิศทางเดียวกันกับปลายของ สายไฟฟ้าที่โค้งงอไว้ ดังรูป ( c )
  • 25. 4 ) เทคนิคการต่อสายไฟฟ้าแบบต่างๆ  4.1 การต่อสายแบบต่อตรง คือการต่อสาย 2 เส้นเข้าด้วยกันเมื่อ ผู้ใช้งานต้องการให้สายไฟฟ้ามีขนาดยาวขึ้น ในกรณีที่ต่อสายแกน เดียว 2 เส้นแบบต่อตรงทาได้ตามลาดับขั้นที่แสดงในรูปต่อไปนี้ รูปแสดงการต่อสายแกนเดียว 2 เส้น แบบต่อตรง
  • 26. สาหรับสายไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่มีตัวนามากกว่า 1 แกน เมื่อจะ ทาการต่อสายแบบต่อตรงสามารถทาได้ดงรูปต่อไปนี้ ั รูปแสดงการต่อสายตัวนาหลายแกนแบบต่อตรง
  • 27.  4.2 การต่อสายแบบต่อแยก ในกรณีที่ต้องการต่อ สายไฟฟ้าแยกจากสายหลัก (สายเมน ) เพื่อนาไปใช้งาน ในกรณีทสายนันเป็นสายขนาดเล็กมีแกนเดียว สามารถ ี่ ้ ทาได้ตามลรูปบดังรูปต่อไปนี้ าดั แสดงการต่อสายแกนเดียว รูปแสดงการต่อสายแกนเดียว
  • 29. การหุ้มฉนวนสายไฟฟ้า 1.เทปพันสายไฟฟ้า ทาด้วยวัสดุสังเคราะห์จาพวก PVC . Rubber , Glass  มีความยืดหยุ่นดี มีหลายสี เช่น สีดา สีขาว สีเทา เป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดี ใช้ในการพันหุ้มสายไฟฟ้า เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในขณะที่ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการติดตั้งไฟฟ้าหรืองานซ่อมบารุงไฟฟ้า การพัน เทปทับสายไฟฟ้าแสดงขั้นตอนอย่างละเอียดดังรูปต่อไปนี้ 
  • 31. การใช้เรซินหุ้มสายไฟฟ้า  .การใช้เรซินหุ้มสายไฟฟ้า ในการต่อสายไฟฟ้าที่เป็นสายฟ้าแรงสูง ( High Voltage)ต้องใช้ฉนวนไฟฟ้าชนิดพิเศษ คือ เรซิน (Resin ) ซึ่งเป็น สารเคมีที่มีคุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้าทนแรงดันไฟฟ้าได้สูงกว่าเทปพันสายไฟฟ้า ผสมให้ เป็นของเหลวและเทให้เรซินนีห่อหุ้มบริเวณจุดต่อสายไฟฟ้าแรงสูงให้ทั่วบริเวณ เมื่อเรซิ ้ นแห้งแล้วจะเป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดียิ่ง นอกจากเรซินแล้วบริษัทผู้ผลิตบางแห่งยังนาซิลิโคน ( Silicone ) มาใช้เป็นฉนวนไฟฟ้าอีกด้วยดังต่อไปนี้
  • 32.
  • 33. การใช้และการตรวจสอบสายไฟฟ้า * สายไฟฟ้าเก่าหรือหมดอายุใช้งาน สังเกตได้จากฉนวนจะแตกหรือแห้งกรอบ บวม *ฉนวนสายไฟชารุด อาจเกิดจากหนูหรือแมลงกัดแทะหรือวางของหนักทับ เดิน สายไฟใกล้แหล่งความร้อน ถูกของมีคมบาด * จุดต่อสายไฟต้องให้แน่น หน้าสัมผัสให้ดี พันฉนวนให้เรียบร้อย * ขนาดของสายไฟฟ้า ใช้ขนาดของสายให้เหมาะสมกับปริมาณกระแสที่ไหลใน สาย หรือให้เหมาะสมกับเครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจรนั้น * สายไฟฟ้าต้องไม่เดินอยู่ใกล้แหล่งความร้อน สารเคมี หรือถูกของหนักทับ เพราะ ทาให้ฉนวนชารุดได้ง่าย และเกิดกระแสไฟฟ้าลัดวงจรขึ้นได้ * สายไฟฟ้าต้องไม่พาดบนโครงเหล็ก รั้วเหล็ก ราวเหล็ก หรือส่วนที่เป็นโลหะต้อง เดินสายไฟฟ้าโดยใช้พุกประกับ หรือร้อยท่อให้เรียบร้อย เพื่อป้องกัน กระแสไฟฟ้ารั่วลงบนโครงโลหะ ซึ่งจะเกิดอันตรายขึนได้ ้