SlideShare a Scribd company logo
1 of 129
สายไฟฟ
้ าและเคเบิ้ล
Electrical Wiring & Cable
• สายไฟฟ
้ าหุ้มฉนวน
- สายทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มอก.11-2
- สายอลูมิเนียมหุ้มฉนวนพีวีซี มอก.293-2541
- สายตามมาตรฐาน กฟน. หรือ กฟภ.
• สายไฟฟ
้ าเปลือย
- สายทองแดงรีดแข็งสาหรับสายไฟฟ้ าเหนือดิน มอก
- สายอลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย มอก
- สายอลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยแกนเหล็ก
มาตรฐานสายไฟฟ
้ า (ที่กาหนดใน วสท
สายไฟฟ
้ าสาหรับงานติดตั้ง
• ลักษณะงานเป็นแบบติดตั้งถาวร (Fixed Wiring
• นิยมใช้สายทองแดงตามมาตรฐาน มอก.11-2531
ประเภทและข้อกาหนด
งานสายไฟฟ
้ าที่ผลิตตาม มอก.11
(อุณหภูมิใช้งาน 70 oC)
ตาราง วสท. ที่ 5-16
ตาราง วสท. 5-16 (1)
• 300 และ 750 V
ตาราง วสท. 5-16 (2)
ตาราง วสท. 5-16 (3)
ตาราง วสท. 5-16 (4)
ชนิดสายไฟฟ
้ าตาม มอก.
ตารางที่ 1 สาย IV, HIV (300 V, 7
ตารางที่ 2 สาย VAF, VAF-S (300 V
2 แกน
3 แกน
ตารางที่ 2 สาย VAF, VAF-S (300 V
• นิยมใช ้งานกันในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ที่ใช ้ไฟ 1 เฟ
• มักติดตั้งด้วยการใช ้เข็มขัดรัดสาย (ตีกิ๊บ)
• ฉนวน PVC สีขาว ป้องกันความชื้นและการเสียหา
ตารางที่ 3 สาย VVR (300 V, 70oC)
ตารางที่ 4 สาย THW (750 V, 70oC)
ตารางที่ 4 สาย THW (750 V, 70oC)
• เหมาะสาหรับงานระบบ 3 เฟส 4 สาย (380/240 V
• ประเทศไทยนิยมใช ้มากในโรงงานอุตสาหกรรมและอา
• นิยมใช ้เป็นสายในวงจรย่อย, สายป้อน และ สายเมน
• เดินสายในท่อร ้อยสาย, รางเดินสาย และ รางเคเบิล
ตารางที่ 5 สาย VVF, VVF-S (750 V,
ตารางที่ 6 สาย NYY แกนเดียว (750
ตารางที่ 6 สาย NYY แกนเดียว (750 V
• สายหุ้มฉนวน 2 ชั้น ป้องกันความชื้นและแรงกระแท
• นอกจากมีชนิดแกนเดียวแล้ว ยังมีแบบ 2 ถึง 4 แกน
• นิยมใช ้เป็นสายป้อน และ สายเมน
• สามารถติดตั้งด้วยวิธีการเดินฝังดินโดยตรงได้
ตารางที่ 7 สาย NYY หลายแกน (750
ตารางที่ 8 สาย NYY – N (750 V, 70o
ตารางที่ 9 สาย VCT (750 V, 70oC)
• ใช ้เดินสายเข้ากับอุปกรณ์ในระยะสั้นๆ
• ใช ้เดินสายเข้าเครื่องจักร, อุปกรณ์ไฟฟ้ า หรือ สัญญา
ตารางที่ 10 สาย VSF, VFF, VTF (300
ตารางที่ 10 สาย VSF, VFF, VTF (300
ตารางที่ 10 สาย VSF, VFF, VTF (300
ตารางที่ 11 สาย B-GRD, VAF-G (300
ตารางที่ 12 สาย VVR - GRD (300 V
ตารางที่ 13 สาย VVF - GRD (750 V,
ตารางที่ 14 สาย NYY - GRD (750 V,
ตารางที่ 15 สาย VCT - GRD (750 V,
ตารางที่ 16 สาย VFF - GRD (300 V,
ตารางที่ 17 สาย VFF - F (300 V, 70
VFF-F จะมีหลายแกน
สายทองแดงหุ้มฉนวน XLPE
• ไม่อยู่ในมาตรฐาน มอก. แต่ผลิตตาม IEC 502 หร
• ตัวนาเป็นทองแดง และหุ้มด้วยฉนวนคลอสลิ้งค์โพลีเ
• ชื่อเรียกทางการค้า คือ “CV”
• ใช ้งานได้เหมือนสาย NYY มักนิยมใช ้เป็นสายป้อนห
• สามารถทนแรงดันได้สูง และ มีอุณหภูมิใช ้งานได้สูง
• นิยมใช ้ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น งานติดตั้งมอเตอ
ใช้ในงานแรงดันสูงได้
สายทองแดงหุ้มฉนวน XLPE
รายละเอียด และ ราคา สายไฟฟ
้ า
(Specification & Price List)
• ดูได้จากคู่มือการใช้งานสายไฟฟ้ า และ รายการราค
• สามารถขอได้จากบริษัทผู้จาหน่าย มีลักษณะคล้าย
• eg. บ.บางกอกเคเบิล www.bangkokcab
บ.ไทยยาซากิ www.thaiyazaki-elec
ตัวอย่าง
รายละเอียด
สายไฟฟ
้ า
- สาย THW หนึ่งแกน
- ข้อมูล บ.ไทย-ยาซากิ
ตัวอย่าง รายการราคา (สาย THW)
การพิจารณาการเลือกใช้สายไฟฟ
้ า
• พิกัดแรงดัน
• พิกัดกระแส
- วิธีการเดินสาย
- อุณหภูมิแวดล้อม
• แรงดันตก
• สายควบ
การพิจารณาเรื่อง พิกัดแรงดัน
• ใช ้สายไฟฟ้ ากับระบบแรงดันไม่เกินที่ระบุไว้ตามชนิด
• ห้ามนาสาย VAF ไปใช ้กับระบบ 3 เฟส 4 สาย 380
- มอก.11 – 2531 มีระดับ300 และ 750 V
การพิจารณาเรื่อง พิกัดกระแส
พิกัดกระแสจะขึ้นอยู่กับ :
- วิธีการเดินสายไฟ
- อุณหภูมิโดยรอบ
- จานวนไฟฟ้ าที่เดินอยู่ร่วมกัน
ตารางที่ 5-11
สายแกนเดียวหุ้มฉนวนเดินในอากาศ
ตารางที่ 5-12
การใช้ตัวคูณปรับค่ากระแส
ใช้ตัวคูณปรับค่า ก็ต่อเมื่อ :
• กรณีมีการเดินสายในช่องเดินสายไฟฟ้ าเดียวกัน
• กรณีอุณหภูมิโดยรอบแตกต่างจากอุณหภูมิใชง
ตัวคูณลดกระแส กรณีมีจานวนสายใน
ช่องเดินสายเกิน 3 เส้น
ตารางที่ 5-10
การนับจานวนสายไฟฟ
้ าในช่องเดินสา
• ไม่นับ ตัวนานิวทรัลของระบบ 3 เฟส ซึ่งได้ออกแบบให้
มีโหลดสมดุล แต่บางขณะมีกระแสโหลดไม่สมดุลไหลผ่าน
• ให้นับ ตัวนานิวทรัลของระบบ 3 เฟส ซึ่งโหลดส่วน
ใหญ่ (มากกว่า 50 %) ประกอบด้วย
- หลอดชนิดปล่อยประจุ (Electric Discharge)
เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์เป็นต้น
- อุปกรณ์เกี่ยวกับประมวลผลข้อมูล (Data
Processing) หรือ
- อุปกรณ์อื่น ที่มีลักษณะคล้ายกัน ที่ทาให้เกิด
กระแสฮาร ์มอนิคส์(Harmonic) ในตัวนานิวทรัล
ตารางที่
5-11, 5-12
ข้อ 3
ตัวคูณลดกระแส กรณีอุณหภูมิโดยรอบ
แตกต่างจาก 40oC หรือ 30oC
ตัวอย่างที่ 1
สายขนาด 25 ตร.มม. วิธีเดินสายแบบ ค. ในท่อ
โลหะ ถ้าติดตั้งในสถานที่ที่มีอุณหภูมิโดยรอบ
ประมาณ 48oC จะมีพิกัดกระแสเท่าไร
วิธีทา • เปิด ตาราง 5 -11 เพื่อหาพิกัดกระแส
• เนื่องจากอุณหภูมิ ไม่เท่ากับ 40oC ต้องใช
เปิดตารางที่ 5 -11 ค่าพิกัดกระแสของสาย 25
ตร.มม. เดินสายแบบ ค. ณ อุณหภูมิปกติ (ไม่
เกิน 40 oC) มีค่าเท่ากับ
77 A
ตารางที่ 5-11 ข้อ 3 ที่อุณหภูมิ 48oC เดินสายแบบ
0.82
ขนาด =
ค่าพิกัดกระแสของสายไฟจะเหลือ
77 x 0.82 =
63.14 A
ตัวอย่างที่ 2
สายขนาด 25 ตร.มม. วิธีเดินสายแบบ ค. ในท่อ
โลหะ ถ้ามีจานวนสายในท่อรวม 7 เส้น จะมีพิกัด
กระแสเท่าไร
วิธีทา
- เปิดตาราง 5-11 ค่าพิกัดกระแสของสาย 25
ตร.มม. (กรณีมีสายในท่อไม่เกิน 3 เส้น) ได้
77 A
- เปิดตาราง 5-10 สายในท่อมี 7 เส้น ใช้ตัวคูณ
0.72
- ค่าพิกัดกระแสของสายไฟจะเหลือเพียง
77 x 0.72 = 55.44 A
ตัวอย่างที่ 3
สายขนาด 25 ตร.มม. วิธีเดินสายแบบ ค. ในท่อ
โลหะ ถ้ามีจานวนสายในท่อรวม 7 เส้น และ
สถานที่ติดตั้งมีอุณหภูมิโดยรอบประมาณ 48 oC
จะมีพิกัดกระแสเท่าไร
วิธีทา
- เปิดตาราง 5-11 ค่าพิกัดกระแสของสาย 25
ตร.มม. (กรณีมีสายในท่อไม่เกิน 3 เส้น) ได้
77 A
- เปิดตาราง 5-10 สายในท่อมี 7 เส้น ใช้ตัวคูณ
0.72
- ค่าพิกัดกระแสของสายไฟจะเหลือเพียง
77 x 0.72 x 0.82 = 45.46 A
- เปิดตารางที่ 5-11 ข้อ 3 ที่อุณหภูมิ 48oC เดินสายแ
0.82
ขนาด =
ตัวอย่างที่ 4
จงหาค่าพิกัดกระแสของสายไฟฟ้ าที่ผลิตตาม
มอก.11-2531 ตารางที่ 4ขนาด 70 ตร.มม. เมื่อใช ้
วิธีการเดินสายในท่อโลหะหนาปานกลาง (IMC) มี
จานวนสายในท่อรวม 5 เส้น โดยเป็น
- สายเส้นมีไฟของระบบ 3 เฟส
จานวน 3 เส้น
- สายนิวทรัล จานวน 1
เส้น
- สายดิน จานวน 1 เส้น
วิธีทา
เนื่องจากไม่ทราบว่าสายนิวทรัลมีกระแสหรือไม่ จึงแยกค
1. กรณีที่เป็ นระบบ 3 เฟสแบบสมดุล (ไม่มี
กระแสในสายนิวทรัล)
• กรณีนี้ ถือว่ามีสายที่มีกระแสไหลภายในท่อเพียง
• สามารถหาค่าพิกัดกระแสจากตาราง 5-11
วิธีเดินสายแบบ ค. ขนาดสาย 70 ตร.มม.
ได้ค่าพิกัดกระแสของสาย = 148 A
2. กรณีที่เป็ นระบบ 3 เฟสแบบไม่สมดุล (มี
กระแสในสายนิวทรัล)
• กรณีนี้ ถือว่ามีสายที่มีกระแสไหลภายในท่อ 4 เส
• สามารถหาค่าพิกัดกระแสจากตาราง 5-11
วิธีเดินสายแบบ ค. ขนาดสาย 70 ตร.มม.
ค่าพิกัดกระแสของสาย
=
• สายจานวน 4 เส้น จากตาราง 5-10 ใช้ตัวคูณข
0.82
ได้ค่าพิกัดกระแสของสายลดลงเป็น
148 x 0.82 = 121.36 A
148 A
แรงดันตก
Voltage
Drop
ผลของการเกิดแรงดันตก
• โหลดได้รับแรงดันไฟฟ้ าไม่ถึงพิกัด
- หลอดไฟลดความสว่างลง
- หลอดประเภท discharge อาจจะไม่ติด
- มอเตอร ์มีประสิทธิภาพลดลง
• เกิดพลังงานสูญเสียในสายไฟมากขึ้น (I2R)
สาเหตุการเกิดแรงดันตก
• ขนาดของสายไฟเล็กเกินไป
• กระแสไหลในสายไฟฟ้ ามากเกินไป
• ระยะทางของโหลดอยู่ไกลจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ ามา
สัมพันธ์กัน
การพิจารณาค่าแรงดันตก
R XL
VL
VD=IZ = I(R+jXL)
I
VS
Z zl
 z – อิมพีแดนซ ์ต่อ ความยาว
l – ความยาว
VS
VL
I
q
IZ
IR
IXL
cos
IR q cos
L
IX q
ค่าผิดพลาด
VD (โดยประมาณ)
VD (ค่าแท้จริง)
Phaser Diagram
การพิจารณาค่าแรงดันตก
sinq
มาตรฐานเรื่องแรงดันตกในสาย
ว.ส.ท.
• ไม่ได้ระบุไว้ในมาตรฐาน (คาดว่าจะมีในอนาคต)
NEC 210 – 19 (a) FPN 4 และ 215-2 FPN 2
• แรงดันตกในวงจรย่อย (Branch Circuit) มีค่าไ
• แรงดันตกในสายป้อน (Feeder) มีค่าไม่เกิน 3
• แรงดันตกรวมในวงจร ทั้งสายป้อนและ
วงจรย่อย มีค่าไม่เกิน 5 %
การคานวณหาขนาดแรงดันตกในสาย
ค่าแรงดันตกในสาย
D
V I Z
 
 
cos sin
D L
V I R X
 
  
เมื่อ R = ค่าความต้านทานในสายตลอดความยาวท
XL = ค่ารีแอคแตนซ ์ในสายตลอดความยาวทาง
= ตัวประกอบกาลัง (power factor)
cos
ระบบ 1 เฟส 2 สาย
• กระแสไหลในสายเฟส และสายนิวทรัล
• คิดค่า R และ XL ทั้งใน สายเฟส และ สายนิวท
ค่าแรงดันตกในสายเป็น :
 
2 cos sin
D L
V I R X
 
   
เมื่อ
R = r.l = ค่าความต้านทานในสายตลอดความยาวทา
XL = xL.l = ค่ารีแอคแตนซ ์ในสายตลอดความยาวทาง
= ตัวประกอบกาลัง (power factor)
cos
ระบบ 1 เฟส 2 สาย
ระบบ 3 เฟส 4 สาย
• ระบบ 3 เฟสสมดุล กระแสในสายนิวทรัล เท่ากับ
• แรงดันระหว่างสาย = แรงดันเฟส
3
ค่าแรงดันตกในสาย (แรงดันระหว่างสาย) เป็น :
 
3 cos sin
D L
V I R X
 
   
เมื่อ
R = r.l = ค่าความต้านทานในสายตลอดความยาว
XL = xL.l = ค่ารีแอคแตนซ ์ในสายตลอดความยาวทา
= ตัวประกอบกาลัง (power factor)
cos
 
1.732 cos sin
D L
V I R X
 
   
ระบบ 3 เฟส 4 สาย
ค่าพารามิเตอร ์ต่างๆ ในการคานวณเร
กระแส ( I )
• คานวณจากขนาดโหลดที่ต่ออยู่
• ค่ากระแสพิกัดสูงสุดของสาย ตามตารางวิธีการเดิน
ตัวประกอบกาลัง
• หาค่าได้ยาก เนื่องจากโหลดบางชนิดมีค่าไม่
คงที่ เปลี่ยนแปลงตามการใช ้งาน เช่น โหลด
มอเตอร ์ไฟฟ้ า
• ประมาณค่าโดยทั่วไปที่ค่าตัวประกอบกาลัง 0.8 lag
ค่า R และ XL ของสายไฟฟ้ า
• สาย THW
• สายชนิดอื่น อาจ
ใช ้ค่านี้ประมาณได้
ค่า R และ XL ของบัสเวย์(BusWay)
ตัวอย่าง 5
สายป้อนขนาด 4 x 35 ตร.มม. เดินในท่อโลหะใน
อากาศระยะทาง 120 เมตร จะมีแรงดันตกคร่อมใน
สายไฟเท่าใด ถ้าสายป้อนชุดนี้จ่ายโหลดที่ 70
แอมแปร ์ระบบไฟฟ้ าแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 V
50 Hz
A
B
C
N
Load
70 A
กรณีคิดที่ค่า P.F. = 0.8 lagging
cos 0.8
 
จะได้ และ sin 0.6
 
เนื่องจากเป็นวงจร 3 เฟส จะมีค่าแรงดันตกเป็น
 
1.732 cos sin
D L
V I R X
 
   
- สายยาว 120 เมตร
- ค่าความต้านทานต่อความยาวมีค่าเป็น [Ohm/m
- ค่ารีแอกแตนซ ์ต่อความยาวมีค่าเป็น [Ohm/m
3
0.625 10

3
0.10831 10

จะได้ ค่า R และ XL เป็น
 
3
0.625 10 120
R 
  
 
3
0.10831 10 120
L
X 
  
0.075
 
0.013
 
จะมีค่าแรงดันตกเป็น
 
1.732 70 0.075 0.8 0.013 0.6
D
V      
8.22 V

สามารถคิดขนาดแรงดันตกเป็นเปอร ์เซ็นต์ ได้ :
8.22 100
380


2.16 %

กรณีคิดที่ค่า P.F. = 1.0 (unity p.f.)
cos 1.0
 
จะได้ และ sin 0.0
 
 
1.732 70 0.075 1.0 0.013 0.0
D
V      
9.09 V

สามารถคิดขนาดแรงดันตกเป็นเปอร ์เซ็นต์ ได้ :
9.09 100
380

 2.39 %

การหาระยะทางที่เดินสายได้ไกลที่สุด
โดยที่เกิดแรงดันตก ไม่เกินมาตรฐาน
ระบบ 1 เฟส 2 สาย
 
2 cos sin
D L
V I R X
 
   
จาก
จะได้  
2 cos sin
D L
V I l r x
 
    
 
2 cos sin
D
L
V
l
I r x
 

  
r = ค่าความต้านทานในสาย ต่อ ความยาวทางเดีย
xL = ค่ารีแอคแตนซ ์ในสาย ต่อ ความยาวทางเดียว
เมื่อ
ระบบ 3 เฟส 4 สาย
 
3 cos sin
D
L
V
l
I r x
 

  
r = ค่าความต้านทานในสาย ต่อ ความยาวทางเดีย
xL = ค่ารีแอคแตนซ ์ในสาย ต่อ ความยาวทางเดียว
เมื่อ
l = ระยะทางที่เดินสายได้ไกลสุด (เมตร)
ตัวอย่างที่ 6
จากสายขนาด 35 ตร.มม. จากตัวอย่างที่ 5 จะ
เดินได้ไกลที่สุดกี่เมตร จึงจะมีแรงดันตกใน
สายไฟฟ้ าไม่เกิน 2 % ตามมาตรฐาน
วิธีทา ระบบ 3 เฟส แรงดัน 380 V
แรงดันตก 2 % คิดเป็น
2
380
100
 
7.6 V

จาก  
3 cos sin
D
L
V
l
I r x
 

  
จะได้
   
3 3
7.6
3 70 0.625 10 0.8 0.1083 10 0.6
l  

 
      
 
111
 เมตร
สายป้อน 35 ตร.มม. รับกระแส 70 A จะเดินสาย
ได้ไกลสุดไม่เกิน 111 เมตร จึงทาให้เกิดแรงดัน
ตกในสายไม่เกิน 2 %
สามารถนาสมการแรงดันตกไปสร้างตา
• ระบบ 1 เฟส 2 สาย 220 V ที่ค่า P.F. 0.8 lagging
ที่แรงดันตกไม่เกิน 2 %
ที่แรงดันตกไม่เกิน 3 %
 
4.4
2 0.8 0.6
L
l
I r x

    
 
6.6
2 0.8 0.6
L
l
I r x

    
1 เฟส ที่ 2
1 เฟส ที่ 3
สามารถนาสมการแรงดันตกไปสร้างตา
• ระบบ 3 เฟส 4 สาย 380 V ที่ค่า P.F. 0.8 lagging
ที่แรงดันตกไม่เกิน 2 %
ที่แรงดันตกไม่เกิน 3 %
 
7.6
3 0.8 0.6
L
l
I r x

    
 
11.4
3 0.8 0.6
L
l
I r x

    
2 % ของ 380 V
3 เฟส ที่ 2
3 เฟส ที่ 2 % (
3 เฟส ที่ 3 %
3 เฟส ที่ 3 % (
ตัวอย่างที่ 7
ต้องการเดินสายไฟ ตาม มอก.11-2531 ตารางที่
4 ในท่อโลหะบาง (EMT) เมื่อโหลดมีขนาด 30 A
ระบบไฟฟ้ าเป็นแบบ 1 เฟส 2 สาย 220 V 50 Hz
ที่แรงดันตกไม่เกิน 2 % ระยะทาง 60 เมตร ควรจะ
เลือกใช้สายไฟขนาดเท่าไร
หาระยะทางได้จาก ตารางแรงดันตก 2 % ของระบบ 1
• พิจารณากระแสที่ 30 A
• พิจารณาระยะทางให้ มากกว่าหรือเท่ากับ 60 เมตร
เลือกใช้สายขนาด 16 ตร.มม.
กรณีไม่คิดเรื่องแรงดันตก
• ที่พิกัดกระแส 30 A วางในท่อโลหะ จากตารางที่ 5
ใช้สายไฟฟ้ าขนาด 6 ตร.มม. (31 A)
** ซึ่งเมื่อติดตั้งจริงๆแล้ว มักจะทาให้เกิดปัญหากับโ
ตัวอย่างที่ 8
โหลดขนาด 10 A 1 เฟส ระยะทาง 40 เมตร
ต้องการให้มีแรงดันตกไม่เกิน 1 % ควรเลือกใช้
สายขนาดใด
วิธีทา
สามารถใช ้ตารางแรงดันตก 2 % ของระบบ 1
เฟส 2 สาย มาพิจารณาได้ โดยค่าระยะทางของ
สายตามตารางจะต้องลดลงครึ่งหนึ่ง
• แรงดันตก 1 % พิจารณาที่ระยะ 40 เมตร
• แรงดันตก 2 % พิจารณาที่ระยะ 80 เมตร
เลือกใช ้สายขนาด 10 ต
ตัวอย่างที่ 9
โหลดขนาด 172 A ระบบ 3 เฟส ระยะทาง 270
เมตร ต้องการให้มีแรงดันตกไม่เกิน 5 % ควร
เลือกใช้สายขนาดเท่าไร
เนื่องจากค่ากระแส 172 A ไม่ปรากฏใน
ตาราง สามารถใช ้ตารางหาระยะทางของสายที่
แรงดันตก 2 % มาพิจารณา
แรงดันตก 5 % คิดที่ระยะ 270 เมตร
แรงดันตก 2 % คิดที่ระยะ เมตร
270 2
108
5


วิธีทา
• ค่ากระแส 172 A ค่าใกล้เคียงคือ 160
• ระยะแรงดันตก 108 เมตร เลือกใช้สาย
ตรวจสอบ
สายขนาด 120 mm2
กระแส 160 A ได้ระยะทางไกลสุด 132
กระแส 180 A ได้ระยะทางไกลสุด 117 เมตร
กระแส 172 A ได้ระยะทางไกลสุด X
ประมาณค่า (Interpolate)
160 180 132 117
160 172 132 X
 

 
แก้สมการได้ 126
X  เมตร
ระยะทางไกลสุดในกรณีคิด แรงดันตก 5 %
ระยะทางไกลสุด 5
126
2
 
315
 เมตร
ระยะทางไกลสุดที่ได้ มากกว่า 270 เมตร
เพราะฉะนั้นสามารถใช ้สายขนาด 120 mm2 ได้
สายควบ
(Multiple
Conductor)
สายควบ คือ ??
• การนาสายมาเดินควบกันหลายๆเส้น ต่อ เฟส
• เนื่องจากค่าพิกัดกระแสของสายเส้นเดียวไม่
เพียงพอที่จะรองรับกระแสได้
• มักพบตามการเดินสายเมนแรงต่าจากหม้อแปลงไป
ข้อดี ของการใช้สายควบ
• พื้นที่หน้าตัดรวมของสายไฟมากขึ้น สามารถรับกร
• บางครั้งราคาของสายควบอาจจะถูกกว่าราคา
ของสายขนาดเส้นใหญ่เส้นเดียว
• ค่าใช ้จ่ายในการติดตั้งสูง
(การเดินสายในท่อร ้อยสายทาได้ยากกว่า)
• ถ้าใช ้สายคนละขนาดกันจะทาให้เกิดกระแส
ไหลมากเกินไปในสายเส้นใดเส้นหนึ่งได้
• กรณีถ้าขั้วสายเส้นใดเส้นหนึ่งไม่แน่นหนา จะ
ทาให้สายอื่นๆรับกระแสมากเกินไปได้
จานวนท่ออาจมาก
ข้อเสีย ของการใช้สายควบ
การใช้งานสายควบ
• ใช ้เป็นสายเมนแรงต่าจากหม้อแปลงไปยังตู้ MDB
• ใช้เป็นสายป้อน
• จะต้องพิจารณาเรื่องของราคา และความยากง่าย
ในการติดตั้ง รวมทั้งการบารุงรักษาด้วย
ข้อพิจารณาการใช้สายควบ **
• สายไฟจะต้องมีความยาวเท่ากัน
• สายไฟจะต้องเป็นสายชนิดเดียวกัน เช่น ต้อง
เป็นสายตัวนาทองแดงเหมือนกันเท่านั้น ห้ามใช้
สายทองแดงไปควบกับสายอลูมิเนียม
• สายไฟต้องมีขนาดเท่ากัน
• ฉนวนของสายไฟฟ้ าต้องเป็นชนิดเดียวกัน
ข้อพิจารณาการใช้สายควบ (ต่อ)
• ลักษณะการติดตั้งและการต่อสายไฟฟ้ าเหมือนกัน
• ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. อนุญาตให้ใช้สายควบ
ได้ สาหรับสายไฟขนาด 50 ตร.มม.ขึ้นไป
เท่านั้น
ตัวอย่างที่ 10
จงหาค่าของกระแสที่ไหลในสายแต่ละเส้นของสาย
ควบ ขนาด 35 mm2 และ 70 mm2 ยาว 10 เมตร
ซึ่งเดินในท่อโลหะเมื่อมีกระแสในวงจรเป็น 240 A
สามารถใช้เป็ นสายควบ ได้หรือไม่ !
จาก ตาราง ว.ส.ท. 5-11 พิกัดกระแสของสาย เท่าก
• สาย 35 ตร.มม. พิกัดกระแส
• สาย 70 ตร.มม. พิกัดกระแส
** ถ้าดูเฉพาะพิกัดกระแสจากตาราง ก็น่าจะนากร
แต่ต้องพิจารณาขนาดกระแสที่ไหลในสายแต่ละ
95 A
148 A
วิธีการพิจารณา
 หาอิมพีแดนซ ์ของสาย
สาย 35 mm2  
1 10 0.62500 0.10831
Z j
  
6.25 1.0831 m
j
  
สาย 70 mm2  
2 10 0.32096 0.10541
Z j
  
3.2096 1.0541 m
j
  
วงจรเทียบเท่า
สาย 35 ตร.มม.
2
1
1 2
T
I Z
I
Z Z



 
   
240 3.2096 1.0541
6.25 1.0831 3.2096 1.0541
j
j j
 

  
770.304 252.984
9.1596 2.1372
j
j



83.62 A

เปรียบเทียบกับพิกัดกระแสตามตาราง = 95 A
สาย 70 ตร.มม.
1
2
1 2
T
I Z
I
Z Z



 
   
240 6.25 1.0831
6.25 1.0831 3.2096 1.0541
j
j j
 

  
1500 259.944
9.1596 2.1372
j
j



156.98 A

เปรียบเทียบกับพิกัดกระแสตามตาราง = 14
I1 + I2 = 83.62 + 156.98
= 240.6 A
แต่ว่า สาย 70 ตร.มม. จะรับกระแสพิกัดเกินพ
เกิดความร ้อนสูง ฉนวนอาจลุกไหม้ได้
กระแสที่ไหลในวงจร
ข้อแนะนาเพิ่มเติม
สาหรับการติดตั้งสายไฟฟ
้ า
Induction Heating
• เกิดจากกระแสเหนี่ยวนาขึ้นบริเวณเครื่องห่อหุ้ม หรือ
•กระแสเหนี่ยวนาจะทาให้เกิดความร ้อน
สาเหตุการเกิด Induction Heating
• เมื่อมีกระแสสลับไหลในตัวนา จะทาให้เกิดสนามแม่เหล็กรอ
• สนามแม่เหล็กจะไปเหนี่ยวนาท่อสายโลหะ ในอัตรา
100 ครั้ง / วินาที (ระบบไฟ 50 Hz)
• สนามแม่เหล็กที่ตัดกับท่อ จะทาให้เกิดความร ้อนขึ้นที่ท่อ
Hysteresis Heating
• เกิดกระแสเหนี่ยวนาขึ้นบริเวณแผ่นโลหะ (ที่มี
คุณสมบัติเป็นสารแม่เหล็ก) ที่มีสายไฟฟ้ าเดินผ่าน
ช่องโลหะนั้น
• เกิดความร ้อนที่แผ่นโลหะ
• โมเลกุลภายในแผ่นเหล็ก เกิดการกลับขั้วไปมาตลอด
วิธีป้ องกัน
ตามมาตรฐาน วสท. และ NEC มีข้อกาหนดดังนี้
1. เมื่อติดตั้งสายสาหรับระบบไฟฟ้ ากระแสในเครื่อง
ห่อหุ้ม หรือ ช่องเดินสายที่เป็นโลหะ ต้องจัดทาไม่ให้เกิด
ความร ้อนแก่โลหะที่ล้อมรอบเนื่องจากผลของการ
เหนี่ยวนา เช่น
- การรวมเส้นสายไฟทุกเส้นและตัวนานิวทรัล
(ถ้ามี) รวมทั้งสายดินของเครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้ าไว้เครื่อง
ห่อหุ้มหรือช่องเดินสายเดียวกัน
- ในการเดินสายควบและใช้ท่อร ้อยสายหลายท่อ
ในแต่ละท่อต้องมีครบทั้งสายเส้นไฟ ตัวนานิวทรัล และ
สายดินของเครื่องบริภัณฑ์ไฟฟ้ า
ไม่ถูกต้อง !!! ควรใส่สายควบแยกเฟสแต่ล
A
A
A
B
B
B
C
C
C
N
N
N
วิธีป้ องกัน
2. เมื่อสายเดี่ยวของวงจรเดินผ่านโลหะที่มี
คุณสมบัติเป็นสารแม่เหล็ก จะต้องจัดให้ผลจาก
การเหนี่ยวนามีน้อยที่สุด โดยการตัดร่องให้ถึงกัน
ระหว่างรูแต่ละรูที่ร ้อยสายแต่ละเส้น หรือโดยการ
ร ้อยสายทุกเส้นของวงจรผ่านช่องเดียวกัน
รหัสสีของสายไฟฟ
้ า
Color Code of Conducto
มาตรฐานรหัสสีของสายไฟฟ
้ า
ตามว.ส.ท. 2545ได้กาหนดสีของ สายไฟหุ้มฉนวนระบบแ
หัวข้อ 5.1.11
•ตัวนานิวทรัล ให้ใช ้สีเทาอ่อน หรือ สีขาว
•สายเส้นไฟ ต้องมีสีต่างไปจากสายนิวทรัลและตัวนา
สาหรับต่อลงดิน
•สายไฟฟ้ าในระบบ 3 เฟส ให้ใช ้สายที่มีสีฉนวนหรือทา
เครื่องหมายเป็นสีดา แดง น้าเงิน สาหรับเฟส 1 2 3
ตามลาดับ
•สายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้ าให้ใช ้สีเขียว หรือเขียวแถบ
หัวข้อ 5.1.11
• ข้อยกเว้น 1
สายไฟฟ้ าที่มีขนาดโตกว่า 16 ตร.มม ให้ทา
เครื่องหมายแทนการกาหนดสีที่ปลายสาย
• ข้อยกเว้น 2
สายออกจากเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้ า (มิเตอร ์ไฟฟ้ า)
ถึงบริภัณฑ์ประธาน (แผงคัทเอ้าท์หรือแผงควบคุม
ไฟฟ้ า) ไม่ต้องกาหนดสี
หัวข้อ 5.17.5 ข้อกาหนดเพิ่มเติมสาหรับแผงสวิตชแ
5.17.5.2
ตัวนาและบัสบาร ์ในแผงสวิตช ์ต้องติดตั้งอย่าง
มั่นคงในตาแหน่งที่ปลอดภัยจากความเสียหายทาง
กายภาพ บัสบาร ์แต่ละเฟส ต้องมีการทาเครื่องหมาย
แสดงเฟส ในการทาเครื่องหมาย ให้ใช ้สีแดง เหลือง
น้าเงิน สาหรับเฟส อาร ์วาย บี ตามลาดับ การจัดเฟส
ของบัสบาร ์ในแผงสวิตช ์เมื่อมองจากด้านหน้าให้อยู่
ในลักษณะ เฟส อาร ์(R) วาย (Y) บี (B) เรียงจาก
ด้านหน้าไปด้านหลังแผง จากด้านบนลงด้านล่าง
หรือจากซ ้ายมือไปขวามือ การจัดเฟสลักษณะอื่น
การปฏิบัติงานตามมาตรฐาน
• ระบบแรงต่าใช ้ตามข้อกาหนด
เฟส A ใช้สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวน สีดา
เฟส B ใช้สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวน สีแดง
เฟส C ใช้สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวน สีน้าเงิน
สายนิวทรัล ใช้สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวน สีเทาอ่อน หร
สายดิน ใช้สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวน สีเขียว หร
การปฏิบัติงานตามมาตรฐาน
• ง่ายต่อการตรวจสอบและบารุงรักษา
• มีความปลอดภัยในการใช้งาน
• สามารถปลดบางวงจรที่ต้องการตรวจสอบ
ออกได้โดยวงจรอื่นๆไม่มีผลกระทบต่อการใช ้
งาน

More Related Content

What's hot

1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0Preeyaporn Chamnan
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
ส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืชส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืชSuwimon Bausap
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์Jariya Jaiyot
 
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04Rajamangala University of Technology Rattanakosin
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นWiranya_king
 
การเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจการเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจPat Ninlawan
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1Somporn Laothongsarn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)naruephak
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptapple_clubx
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณRock Rockie
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 

What's hot (20)

1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
ส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืชส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืช
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
 
การเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจการเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจ
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
 
2 2
2 22 2
2 2
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 

Similar to 6. Wiring&Cable.ppt

พิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้าพิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้าsangkhawong
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5พอใจ พลายงาม
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405Te Mu Su
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401Blank Jirayusw
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402แพทตี้ ฉัตรบริรักษ์
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์ASpyda Ch
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406Arutchapaun Trongsiriwat
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404Yamano Yumeyuki
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
007 external forced convection thai
007 external forced convection thai007 external forced convection thai
007 external forced convection thaiSaranyu Pilai
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดArsenal Thailand
 

Similar to 6. Wiring&Cable.ppt (20)

พิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้าพิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้า
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
 
Transmission lines
Transmission linesTransmission lines
Transmission lines
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
007 external forced convection thai
007 external forced convection thai007 external forced convection thai
007 external forced convection thai
 
54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิด
 
Manual forinstall
Manual forinstallManual forinstall
Manual forinstall
 
Zener diode
Zener diodeZener diode
Zener diode
 

6. Wiring&Cable.ppt