SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
วิชาการติดตั้งไฟฟาในอาคาร
รหัสวิชา 2104-2005 พุทธศักราช 2556
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรรม
ครู ปยพงศ วชิรมนตรี
วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด
Piyapong_v@hotmail.com
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงาน
ติดตั้งไฟฟ้ า
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับข้อกําหนดอุปกรณ์ที่
ใช้ในงานติดตั้งไฟฟ้ า
3.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงาน
ติดตั้งไฟฟ้ า
จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
หลอดชนิดเผาไส (Incandescent)
เปนหลอดที่ใหแสงออกมาไดโดยผาน
กระแสไฟฟาเขาที่หลอดไส ซึ่งทําให
มันรอนและใหแสงออกมามีขนาด 10
วัตต 25 วัตต 40 วัตต
60 วัตต และ100วัตต
อุปกรณประเภทใหแสงสวาง
หลอดฟลูออเรสเซนตแบบตางๆ
อุปกรณประเภทใหแสงสวาง
หลอดฟลูออเรสเซนตเปนหลอดไฟที่ใชกันมากเพราะมีคา
ประสิทธิผลการสองสวางสูง (Luminous Efficacy) โคมไฟ
สําหรับหลอดฟลูออเรสเซนตจึงมีหลายรูปแบบเพื่อใหเหมาะกับ
การใชงานแตละชนิดแตกตางกันไป ซึ่งสามารถสรุปเปนชนิด
หลักๆไดดังนี้
ก) โคมฟลูออเรสเซนตเปลือย (Bare Type Luminaires)
ข) โคมฟลูออเรสเซนตโรงงาน (Industrial Luminaire)
ค) โคมฟลูออเรสเซนตกรองแสง (Diffuser Luminaire)
ง) โคมฟลูออเรสเซนตตะแกรง (Louver Luminaire)
อุปกรณประเภทใหแสงสวาง
โคมฟลูออเรสเซนตเปลือยใชกับ
งานที่ตองการแสงออกดานขาง
ที่ติดตั้งสําหรับเพดานที่ไมสูง
มากนักโดยทั่วไปไมเกิน 4 เมตร
เชน หองเก็บของ ที่จอดรถ
โคมฟลูออเรสเซนต์เปลือย (Bare Type Luminaires)
อุปกรณประเภทใหแสงสวาง
ก) โคมดังกลาวมีราคาถูก ทําความสะอาดงาย และใหแสงสวางในทุก
ทิศทาง
ข) โคมดังกลาวไมมีตัวครอบวัตถุภายนอกสามารถมากระแทกกับหลอด
ทําใหหลอดหลุดรวงลงมาได
ค) โคมดังกลาวมีแสงบาดตาจากหลอด
โคมฟลูออเรสเซนตเปลือยมีคุณสมบัติและการใชงานที่
ควรพิจารณาดังนี้
อุปกรณประเภทใหแสงสวาง
โคมฟลูออเรสเซนตโรงงานเปน
โคมที่มีแผนสะทอนแสงเพื่อ
ควบคุมแสงใหไปในทิศทางที่
ตองการ แผนสะทอนแสงอาจ
ทําจากแผนอลูมิเนียม แผน
เหล็กพนสีขาว หรือวัสดุอื่นที่มี
การสะทอนแสงสูง
โคมฟลูออเรสเซนตโรงงาน
อุปกรณประเภทใหแสงสวาง
ก) โคมดังกลาวมีราคาถูกกวาโคมหลอดฟลูออเรสเซนตแบบ
เปลือย ทําความสะอาดงายและใหแสงสวางมากในทิศทางที่สองไป
ข) โคมดังกลาวไมมีตัวครอบวัตถุภายนอกสามารถมากระแทกกับ
หลอดทําใหหลอดสามารถหลุดรวงลงมาได
ค) โคมดังกลาวไมเนนความสวยงาม และมีแสงบาดตาจากหลอด
โคมฟลูออเรสเซนตโรงงานมีคุณสมบัติและการใชงานที่
ควรพิจารณาดังนี้
อุปกรณประเภทใหแสงสวาง
1. แบบเกร็ดแกว
(Prismatic diffuser)
2. แบบขาวขุน
(Opal diffuser)
3. แบบผิวสม
(Stipple diffuser)
โคมฟลูออเรสเซนตกรองแสง (Diffuser luminaire)
โดยทั่วไปแผนกรองแสงมี 3 แบบดวยกันคือ
อุปกรณประเภทใหแสงสวาง
โคมฟลูออเรสเซนตกรองแสง มีแผนกรองแสงปดหลอดทั้งหมดเพื่อลด
แสงบาดตาจากหลอด โคมประเภทนี้มีทั้งแบบติดฝงฝาหรือติดลอยหรือ
แบบตัวยู (U-shape) อาจเพิ่มแผนสะทอนแสงอลูมิเนียมแบบ
เงา (Specular surface) หรือ แบบกระจายแสง (Diffuser surface) ที่
ดานหลังหลอดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโคมไฟ โดยทั่วไปจะแนะนําเปน
แบบกระจายแสงที่มีคาการสะทอนแสงโดยรวมสูงเทากับแบบเงา โคมไฟ
ประเภทนี้เหมาะกับการใชงานที่ตองการแสงบาดตาจากหลอดต่ําและไม
ตองการความเขมสองสวางสูงมากนัก เชน ในพื้นที่โรงพยาบาลที่ไมใหแสง
รบกวนคนไข หองประชุมที่ไมตองการแสงบาดตาและแสงสวางมาก
อุปกรณประเภทใหแสงสวาง
โคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรงมี
ทั้งแบบติดลอยและฝังฝ้า
ลักษณะของโคมไฟ
ประกอบด้วย แผ่นสะท้อนแสง
ด้านข้างและอาจมีแผ่นสะท้อน
แสงด้านหลังหลอดเพิ่มเข้ามา
เพื่อสะท้อนแสงและควบคุม
แสงให้ไปในทิศทางที่ต้องการ
โคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรง (Louver luminaire)
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
โคมไฟส่องลง หมายถึง โคม
ไฟที่ให้แสงลงด้านล่าง เหมาะ
สําหรับใช้งาน ส่องสว่างทั่วไป
อาจจะเป็น ชนิดฝัง ติดลอย
แขวน หรือ กึ่งฝังกึ่งลอย
โคมไฟส่องลง (Down light))
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
เตารับ หมายถึง อุปกรณที่ใชตอ
กระแสไฟฟาชั่วคราวไปยังอุปกรณ
ไฟฟา มีลักษณะตาง ๆ กัน แบงได
2 ชนิด คือ ชนิดเตาเสียบ หรือปลั๊ก
(Plug) และ เตารับ (Socket –
outlet) อุปกรณทั้งสองจะใชรวมกัน
เพื่อเปนจุดรับไฟเขาเครื่องใชไฟฟา
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
เตาเสียบ เปนอุปกรณที่ใชเชื่อมตอ
วงจรไฟฟา ทําใหกระแสไฟฟาไหล
เขาสูอุปกรณและเครื่องใชไฟฟา โดย
นําปลายของสายไฟฟาของ
เครื่องใชไฟฟาที่ตออยูกับเตาเสียบ
ไปเสียบกับเตารับ ที่ตออยูใน
วงจรไฟฟาใดๆ ก็ไดภายในบาน
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
สวิตชเปด-ปด
สวิตชสําหรับเปด-ปดหลอดไฟหรือ
โคมไฟสําหรับแสงสวางหรือ
เครื่องใชไฟฟาชนิดอื่นๆ
ที่มีการติดตั้งสวิตชเอง
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
เข็มขัดรัดสายไฟ ทําดวย แผน
อลูมิเนียมบาง ๆ มีขนาดตั้งแตเบอร
¾ - 6 ซึ่งเปนเบอรที่ใชกัน ทั่วไป
เข็มขัดรัดสายไฟมีอยู 2 ดาน ดานที่
หนึ่งมันเรียบ สวนอีกดานหนึ่งมีรอย
คมเล็กนอยไวจับสายไฟไมใหเลื่อน
ไปมา ในการรัดสายไฟ
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
ทอ EMT ใชเดินลอยในอากาศ หรือฝงในคอนกรีต แตหามนําไป
ฝงดิน หรือฝงในพื้นคอนกรีต ในสถานที่อันตราย ระบบแรงสูง หรือ
บริเวณที่อาจะเกิดความเสียหายทางกายภาพ ขนาดทอที่มีขายใน
ทองตลาดคือ 1/2" , 3/4", 1" , 11/4", 11/2" , 2"
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
ทอ IMC ใชเดินสายภายนอกอาคาร หรือฝงในผนัง-พื้นคอนกรีต
ได ขนาดทอที่มีขายในทองตลาดคือ 1/2", 3/4" ,11/4" , 11/2" , 2"
, 21/2" , 3" , 31/2" และ 4" การดัดทอชนิดนี้ใช Hickey ที่มีขนาด
เทากัน
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
ทอ RSC ใชเดินนอกอาคาร หรือฝงในผนัง-พื้นคอนกรีตได
ขนาดทอที่มีขายในทองตลาดคือ 1/2" , 3/4", 11/4", 11/2", 2" ,
21/2", 3" , 31/2" , 4" , 5" และ 6" การดัดทอชนิดนี้ใช Hickey
หรือเครื่องดัดทอไฮดรอลิกที่มีขนาดเทากัน
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
coulpings หรือ ขอตอตรงใชตอเพิ่มความยาวของทอ
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
onnector หรือ ขอตอยึดใชตอกับกลองตอสาย
lock nut หรือ ลอกนัทใชรวมกับ connector เพื่อตอทอกับกลอง
ตอสายใหแนน
Bushing หรือ บุชชิ่งใชรวมกับ connector โดยสวมทับ lock nut
ปองกันคมทอ
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
ทอโลหะออน
( Flexible Metal Conduit )
ทําดวยแผนเหล็กกลาเคลือบสังกะสี
ทั้งผิวภายนอกและภายใน เปนทอที่
มีความออนตัว โคงงอไปมาได
เหมาะสําหรับตอเขากับดวงโคม
มอเตอรหรือเครื่องจักรกลที่มีการ
สั่นสะเทือน มีขนาดตั้งแต 1/2"-4"
อุปกรณที่ใชในงานติดตั้งไฟฟา
Selfpeck4หน่วยที่ 4

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiencytatong it
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าPrasert Boon
 
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเดโช พระกาย
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้าPhachakorn Khrueapuk
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์ASpyda Ch
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบNeeNak Revo
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าNeeNak Revo
 

Viewers also liked (12)

บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiency
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
 
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
 

Selfpeck4หน่วยที่ 4