SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
สายคู่บิดเกลียว
               นาเสนอ
       อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร
                สมาชิก
1.อรัชพร ตรงศิริวัฒน์ เลขที่ 14 ม.4/6
  2.ปัณฑารีย์ บุญนุ่ม เลขที่ 27 ม.4/6
สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair Wire)
     เป็นสายชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการนามาใช้งานตาม
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทั่วไป สายชนิดนี้ได้ชื่อมาจากลักษณะ
องค์ประกอบภายในของสาย ที่เป็นสายลวดทองแดงสองเส้นนามาพัน
เกลียวเข้าด้วยกัน
     จานวนรอบหรือความถี่ ในการพันเกลียวนั้นมีผลโดยตรงต่อกาลัง
ของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น ถ้าจานวนรอบสูงก็จะทาให้สนามแม่เหล็ก
มีกาลังแรงขึ้น สามารถป้องกัน สัญญาณรบกวนได้ดีขึ้น แต่ถ้าจานวน
รอบต่า ก็จะเกิดสนามแม่เหล็กกาลังอ่อน ซึ่งป้องกันสัญญาณรบกวนได้
น้อยลงก็ใช้สายเปลืองน้อยลงเช่นกัน
สายคู่บิดเกลียว ประกอบด้วยสายทองแดงจานวนหนึ่ง หรือ
  หลายคู่สาย ห่อหุ้มสายด้วยฉนวนบางๆ เพือป้องกันไม่ให้เกิดการ
                                         ่
  ลัดวงจร แล้วนามาพันเกลียวเข้าด้วยกันเป็นคู่ ทุกคู่จะถูกห่อหุ้มฉนวน
  อีกชั้นหนึ่งรวมกันเป็นสายขนาดใหญ่เพียงสายเดียว

     สายคู่บิดเกลียวแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ
• แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)
• แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)
สายคู่บดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุม
                 ิ                    ้
        (UTP : Unshielded Twisted Pair)
      สาย UTP เป็นสายที่พบเห็นกันมาก มักจะใช้เชือมโยง
                                                 ่
คอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสารตามมาตรฐานที่กาหนด ยาวของ
สายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร มีจานวนสายบิดเกลียวภายใน
4 คู่ คู่สายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลาย
เส้นซึ่งแต่ละเส้นก็จะมีสีแตกต่างกัน และตลอดทั้งสายหุ้มด้วย
พลาสติก (Plastic Cover) ปัจจุบันเป็นสายที่ได้รับความนิยมมาก
ที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดตั้งได้ง่าย
ตัวอย่างสายคูบดเกลียวแบบไม่มฉนวนหุม
             ่ ิ            ี     ้
สาย UTP จะมีสายสัญญาณอยู่จานวน 4 คู่ 8 เส้น ประกอบด้วย
•   เขียว - ขาวเขียว
•   ส้ม - ขาวส้ม
•   น้าเงิน - ขาวน้าเงิน
•   น้าตาล - ขาวน้าตาล
มาตรฐานสายสัญญาณ
      สมาคมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือ EIA (Electronics
Industries Association) และสมาคมอุตสาหกรรมโทรคมนาคม
หรือ TIA (Telecommunication Industries Association)
ได้ร่วมกันกาหนดมาตรฐาน EIA/TIA 568 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใช้
ในการผลิตสาย UTP โดยมาตรฐานนี้ได้แบ่งประเภทของสายออกเป็น
หลายประเภทโดยแต่ละประเภทเรียกว่า Category N โดย N คือ
หมายเลขที่บอกประเภท ส่วนสถาบันมาตรฐานนานาชาติ
(International Organization for Standardization) ได้กาหนด
มาตรฐานนี้เช่นกัน โดยจะเรียกสายแต่ละประเภทเป็น Class A-F
คุณสมบัติทั่วไปของสายแต่ละประเภทเป็นดังนี้
• Category 1/Class A : ใช้ในระบบโทรศัพท์อย่างเดียว ไม่สามารถใช้
ในการส่ง ข้อมูลแบบดิจิตอลได้
• Category 2/Class B : รองรับแบนด์วิธได้ 4 MHz ส่งข้อมูลแบบดิจิตอล
ได้ 4 MHz ประกอบด้วยสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่
• Category 3/Class C : ส่งข้อมูลได้ 16 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียว 4 คู่
• Category 4 : ส่งข้อมูลได้ 20 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียว 4 คู่
• Category 5/Class D : ส่งข้อมูลได้ 100 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียว 4 คู่
• Category 5 Enhanced (5e) : มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ Class D แต่คุณภาพ
ของสายดีกว่า ใช้รองรับการส่งข้อมูลแบบฟูลล์ดูเพล็กซ์ที่ 1,000 Mbps ใช้ 4 คู่สาย
• Category 6/Class E : ส่งข้อมูลได้ 10,000 Mbps รองรับแบนด์วิธได้
250 MHz
• Category 7/Class F : รองรับแบนด์วิธได้ 600 MHz อยู่ในระหว่างการวิจัย
ข้อดีของสาย UTP
- ราคาถูก
- ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้าหนักเบา
- มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก

ข้อเสียของสาย UTP
- ไม่เหมาะในการเชือมต่อกับอุปกรณ์ทห่างไกลมาก เพราะสัญญาณที่
                  ่                 ี่
วิ่งบนสายจะถูกลดทอนลงไปตามความยาวของสาย (มีความยาวของ
สายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)
สายคู่บดเกลียวแบบมีฉนวนหุม
                   ิ                 ้
          (STP : Shielded Twisted Pair)
       นาสายคู่พันเกลียวมารวมอยู่และมีการเพิมฉนวนป้องกันสัญญาณ
                                             ่
รบกวน มีคุณสมบัติเป็นเกราะในการป้องกันสัญญาณรบกวนจาก
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ เรียกเกราะนี้ว่า ชิลด์ (Shield) และเป็น
สายสัญญาณที่ได้รับการพัฒนาต่อจากสาย UTP โดยเพิ่มการชีลด์กัน
สัญญาณรบกวนเพื่อทาให้คุณสมบัติโดยรวมของสัญญาณดีมากขึ้น
มีเรื่องเกี่ยวกับอัตราการบั่นทอนครอสทอร์ก
ตัวอย่างสายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม
ข้อดีของสาย STP
    - ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP
    - ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ
ข้อเสียของสาย STP
    - มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก
    - ราคาแพงกว่าสาย UTP
คาถาม
1.สายชนิดใดนิยมใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทั่วไป?
ตอบ สายคู่บิดเกลียว
2.ทาไมต้องหุ้มสายคู่บิดเกลียวด้วยฉนวน?
ตอบ ป้องกันไม่ให้เกิดการลัดวงจร
3. สายมักใช้ทาอะไร?
ตอบ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสาร
4. สายUTP class A มีคุณสมบัติพืเศษอย่างไร?
ตอบ ใช้ได้เฉพาะกับโทรศัพท์เท่านั้นและรับข้อมูลดิจิตอลไม่ได้
5. ยกตัวอย่างข้อเสียของสาย STP
ตอบ มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่น
อ้างอิง
• http://www.kmitl.ac.th/~kpteeraw/data_com/
  datacom_52/html/utp.html
• http://www.dcs.cmru.ac.th

More Related Content

What's hot

สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
Pibi Densiriaksorn
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
ณัชชา เอื้อนฤมลสุข
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
Aommy Arpajai
 
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
Paksorn Runlert
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Noppanut Bany
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Noppanut Bany
 
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
Theepop Eamchotchawalit
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13
mook_suju411
 
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
Alspkc Edk
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
Ploy's Sutantirat
 
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
Nuttavud Suebsai
 
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
Piyawan
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
Ymalte
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
Panitnun Suwannarat
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟ
Peerapas Trungtreechut
 

What's hot (20)

สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
 
นางสาวฐิติกา แซ่โง้ว
นางสาวฐิติกา แซ่โง้วนางสาวฐิติกา แซ่โง้ว
นางสาวฐิติกา แซ่โง้ว
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
 
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
สายคู่บิดเกลียว(ธีภพ สิรภพ)402
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13
 
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
 
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
 
Utp
UtpUtp
Utp
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
 
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
 
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
สายไฟเบอร์ออพติก(ณัฐมน+พิชญานันท์+อุไรรัตน์)403
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
สายไฟเบอร์ออพติก(พนิตนันท์+ณัฐณิชา)406
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟ
 

Similar to สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406

สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
Kaimin Ngaokrajang
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
แพทตี้ ฉัตรบริรักษ์
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
Te Mu Su
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
Pampam Chaiklahan
 
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
คทาณัฐ เมธชนัน
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
Mrpopovic Popovic
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
ASpyda Ch
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Meaw Sukee
 
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
Uracha Choodee
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Nattapon
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
Gunn Chaemkasem
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
Gunn Chaemkasem
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
watnawong
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
Peerapas Trungtreechut
 

Similar to สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406 (20)

สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
 
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
โจทย์O net com
โจทย์O net comโจทย์O net com
โจทย์O net com
 

สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406

  • 1. สายคู่บิดเกลียว นาเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร สมาชิก 1.อรัชพร ตรงศิริวัฒน์ เลขที่ 14 ม.4/6 2.ปัณฑารีย์ บุญนุ่ม เลขที่ 27 ม.4/6
  • 2. สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair Wire) เป็นสายชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการนามาใช้งานตาม ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทั่วไป สายชนิดนี้ได้ชื่อมาจากลักษณะ องค์ประกอบภายในของสาย ที่เป็นสายลวดทองแดงสองเส้นนามาพัน เกลียวเข้าด้วยกัน จานวนรอบหรือความถี่ ในการพันเกลียวนั้นมีผลโดยตรงต่อกาลัง ของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น ถ้าจานวนรอบสูงก็จะทาให้สนามแม่เหล็ก มีกาลังแรงขึ้น สามารถป้องกัน สัญญาณรบกวนได้ดีขึ้น แต่ถ้าจานวน รอบต่า ก็จะเกิดสนามแม่เหล็กกาลังอ่อน ซึ่งป้องกันสัญญาณรบกวนได้ น้อยลงก็ใช้สายเปลืองน้อยลงเช่นกัน
  • 3. สายคู่บิดเกลียว ประกอบด้วยสายทองแดงจานวนหนึ่ง หรือ หลายคู่สาย ห่อหุ้มสายด้วยฉนวนบางๆ เพือป้องกันไม่ให้เกิดการ ่ ลัดวงจร แล้วนามาพันเกลียวเข้าด้วยกันเป็นคู่ ทุกคู่จะถูกห่อหุ้มฉนวน อีกชั้นหนึ่งรวมกันเป็นสายขนาดใหญ่เพียงสายเดียว สายคู่บิดเกลียวแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ • แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair) • แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)
  • 4. สายคู่บดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุม ิ ้ (UTP : Unshielded Twisted Pair) สาย UTP เป็นสายที่พบเห็นกันมาก มักจะใช้เชือมโยง ่ คอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสารตามมาตรฐานที่กาหนด ยาวของ สายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร มีจานวนสายบิดเกลียวภายใน 4 คู่ คู่สายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลาย เส้นซึ่งแต่ละเส้นก็จะมีสีแตกต่างกัน และตลอดทั้งสายหุ้มด้วย พลาสติก (Plastic Cover) ปัจจุบันเป็นสายที่ได้รับความนิยมมาก ที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดตั้งได้ง่าย
  • 6. สาย UTP จะมีสายสัญญาณอยู่จานวน 4 คู่ 8 เส้น ประกอบด้วย • เขียว - ขาวเขียว • ส้ม - ขาวส้ม • น้าเงิน - ขาวน้าเงิน • น้าตาล - ขาวน้าตาล
  • 7. มาตรฐานสายสัญญาณ สมาคมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือ EIA (Electronics Industries Association) และสมาคมอุตสาหกรรมโทรคมนาคม หรือ TIA (Telecommunication Industries Association) ได้ร่วมกันกาหนดมาตรฐาน EIA/TIA 568 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใช้ ในการผลิตสาย UTP โดยมาตรฐานนี้ได้แบ่งประเภทของสายออกเป็น หลายประเภทโดยแต่ละประเภทเรียกว่า Category N โดย N คือ หมายเลขที่บอกประเภท ส่วนสถาบันมาตรฐานนานาชาติ (International Organization for Standardization) ได้กาหนด มาตรฐานนี้เช่นกัน โดยจะเรียกสายแต่ละประเภทเป็น Class A-F
  • 8. คุณสมบัติทั่วไปของสายแต่ละประเภทเป็นดังนี้ • Category 1/Class A : ใช้ในระบบโทรศัพท์อย่างเดียว ไม่สามารถใช้ ในการส่ง ข้อมูลแบบดิจิตอลได้ • Category 2/Class B : รองรับแบนด์วิธได้ 4 MHz ส่งข้อมูลแบบดิจิตอล ได้ 4 MHz ประกอบด้วยสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่ • Category 3/Class C : ส่งข้อมูลได้ 16 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียว 4 คู่ • Category 4 : ส่งข้อมูลได้ 20 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียว 4 คู่ • Category 5/Class D : ส่งข้อมูลได้ 100 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียว 4 คู่ • Category 5 Enhanced (5e) : มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ Class D แต่คุณภาพ ของสายดีกว่า ใช้รองรับการส่งข้อมูลแบบฟูลล์ดูเพล็กซ์ที่ 1,000 Mbps ใช้ 4 คู่สาย • Category 6/Class E : ส่งข้อมูลได้ 10,000 Mbps รองรับแบนด์วิธได้ 250 MHz • Category 7/Class F : รองรับแบนด์วิธได้ 600 MHz อยู่ในระหว่างการวิจัย
  • 9. ข้อดีของสาย UTP - ราคาถูก - ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้าหนักเบา - มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก ข้อเสียของสาย UTP - ไม่เหมาะในการเชือมต่อกับอุปกรณ์ทห่างไกลมาก เพราะสัญญาณที่ ่ ี่ วิ่งบนสายจะถูกลดทอนลงไปตามความยาวของสาย (มีความยาวของ สายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)
  • 10. สายคู่บดเกลียวแบบมีฉนวนหุม ิ ้ (STP : Shielded Twisted Pair) นาสายคู่พันเกลียวมารวมอยู่และมีการเพิมฉนวนป้องกันสัญญาณ ่ รบกวน มีคุณสมบัติเป็นเกราะในการป้องกันสัญญาณรบกวนจาก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ เรียกเกราะนี้ว่า ชิลด์ (Shield) และเป็น สายสัญญาณที่ได้รับการพัฒนาต่อจากสาย UTP โดยเพิ่มการชีลด์กัน สัญญาณรบกวนเพื่อทาให้คุณสมบัติโดยรวมของสัญญาณดีมากขึ้น มีเรื่องเกี่ยวกับอัตราการบั่นทอนครอสทอร์ก
  • 12. ข้อดีของสาย STP - ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP - ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ ข้อเสียของสาย STP - มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก - ราคาแพงกว่าสาย UTP
  • 13. คาถาม 1.สายชนิดใดนิยมใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทั่วไป? ตอบ สายคู่บิดเกลียว 2.ทาไมต้องหุ้มสายคู่บิดเกลียวด้วยฉนวน? ตอบ ป้องกันไม่ให้เกิดการลัดวงจร 3. สายมักใช้ทาอะไร? ตอบ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสาร 4. สายUTP class A มีคุณสมบัติพืเศษอย่างไร? ตอบ ใช้ได้เฉพาะกับโทรศัพท์เท่านั้นและรับข้อมูลดิจิตอลไม่ได้ 5. ยกตัวอย่างข้อเสียของสาย STP ตอบ มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่น
  • 14. อ้างอิง • http://www.kmitl.ac.th/~kpteeraw/data_com/ datacom_52/html/utp.html • http://www.dcs.cmru.ac.th