SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
วิชาการติดตั้งไฟฟาในอาคาร
รหัสวิชา 2104-2005 พุทธศักราช 2556
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรรม
ครู ปยพงศ วชิรมนตรี
วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด
Piyapong_v@hotmail.com
1. บอกอันตรายจากไฟฟาไดอยางถูกตอง
2. บอกการปองกันอันตรายจากไฟฟาไดอยางถูกตอง
3. ชวยเหลือผูไดรับอันตรายจากไฟฟาไดอยางถูกตอง
4. บอกนิยามคําศัพทที่ใชในงานติดตั้งไฟฟาได
จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
การปองกันอุบัติภัยเกี่ยวกับ
การปฏิบัติงานทางไฟฟา
การปองกันอุบัติภัยเกี่ยวกับ
การปฏิบัติงานทางไฟฟา
ไฟฟามีประโยชนมหาสาร แตตองใชอยางระมัดระวัง ตองเรียนรูการ
ใชที่ถูกตอง ตองรูวิธีการปองกันที่ถูกตอง อันตรายจากไฟฟา มิใชเกิดจาก
การใชไฟฟาอยางเดียว การทํางาน หรือเดินผานบริเวณที่มีพลังงานไฟฟา
ยอมมีอันตรายแฝงอยูเครื่องใชไฟฟา ที่มีคุณภาพและใชอยางถูกวิธีเปน
การชวยลดอันตรายจากไฟฟาได
การปองกันอุบัติภัยเกี่ยวกับ
การปฏิบัติงานทางไฟฟา
อันตรายแกชีวิต
การไหลของกระแสไฟฟาซึ่งจะมีปริมาณ เพียงเล็กนอย ทําอันตรายถึง
เสียชีวิตไดถาหากวากระแสไฟฟานั้นไดไหลผานอวัยวะที่สําคัญ ๆ เชน
หัวใจ โดยอันตรายตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับรางกายมีอาการ 4 อยาง คือ
- กลามเนื้อแข็งตัว
- หัวใจเตนเร็วกวาปกติ และหยุดทํางาน
- เซลลภายในรางกายถูกทําลาย
- ระบบประสาทชะงัก
อันตรายตอทรัพยสิน
การเกิดเพลิงไหมและระเบิด ทําใหทรัพยสินเสียหายมาก เนื่องจากความ
ประมาท หรือความรูเทาไมถึงการณ
อันตรายจากไฟฟา
ไฟฟาช็อต (Short Circuit) หรือเรียกอีกอยางวาไฟฟาลัดวงจร คือ
กระแสไฟฟาไหลครบวงจร โดยไมผานเครื่องใชไฟฟา
ผลของไฟฟาช็อต ผลจากที่มีกระแสไฟฟาไหลในปริมาณสูง และมีความ
รอนสูงจะสงผลใหเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณชํารุดเสียหาย สายไฟฟาอาจ
รอนจนหลอมละลายได กรณีนี้ถาเราเลือกอุปกรณปองกันกระแสเกินได
เหมาะสมก็จะปองกันอันตรายได หรือถาปองกันไมไดทั้งหมดก็ลดความ
เสียหายลงได
ไฟฟาดูด (Electric Shock) คือ การที่กระแสไฟฟาไหลผานรางกาย
ไฟฟาดูดจะเปนการเรียกจากอาการเมื่อกระแสไฟฟาไหลผานรางกาย จะ
เกิดอาการเกร็งของกลามเนื้อจนไมสามารถสะบัดใหหลุดออกมาได
อันตรายจากไฟฟา
ผลของไฟฟ้ าดูด อันตรายจากไฟฟ้ าดูดมีผลต่อมนุษย์แตกต่างกันไป
ตามขนาดกระแสไฟฟ้ า และสุขภาพร่างกายของบุคคล อย่างไรก็ตามได้
มีการศึกษาวิเคราะห์ผลของกระแส ไฟฟ้ าที่มีต่อร่างกายมนุษย์โดยใช้
ค่าเฉลี่ย ค่าที่ได้แตกต่างกันออกไปตามมาตรฐาน การทดสอบตัวอย่าง
ผลของกระแสไฟฟ้ าที่มีต่อร่างการมนุษย์เป็นค่าที่ไม่จํากัด ขนาดและ
อาการมี ดังนี้
อันตรายจากไฟฟา
อันตรายจากไฟฟา
อันตรายจากไฟฟา
ปจจัยของความรุนแรงจากไฟฟาดูด
1.ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผานรางกาย
2.ระยะเวลาที่กระแสไฟฟาไหลผานรางกาย
3.เสนทางที่กระแสไฟฟาไหลผานรางกาย
คําจํากัดความ
1. แอมแปร (Amp) คือ หนวยวัด กระแสไฟฟา
2. โวลท (Volt) คือ หนวยวัด แรงดันไฟฟา
3. วัตต (Watt) คือ หนวยวัด พลังงานไฟฟา ที่สูญเสียไปใน 1 วินาที
ลองเปรียบเทียบกับถังใสน้ําใบใหญเจาะรูอยูดานลาง
1. แอมแปร คือ ขนาดของน้ําที่ไหลออกจากรู ถารูใหญ ขนาดของน้ําที่
ไหลออก ก็จะใหญหรือมาก
2. โวลท คือ ความแรงของกระแสน้ํา ถาน้ําในถังสูง แรงดันก็จะมาก
3. วัตต คือ จํานวนน้ําที่ไหลออกจากถังไปใน 1 วินาที
Tips
ความรุนแรงของการบาดเจ็บขึ้นอยูกับ
1. ปริมาณหรือจํานวนของกระแส ที่ไหลผานรางกาย
2. สวนหรือทางเดินของกระแสไฟฟาที่ไหลผานรางกาย
3. ระยะเวลาที่สัมผัสวงจรไฟฟา
4. ชนิดของพลังงานไฟฟา
5. สภาวะของรางกาย
อันตรายจากไฟฟา
อันตรายจากไฟฟา
สาเหตุของอุบัติเหตุจากไฟฟา
1. ความบกพรองของเครื่องมือ – อุปกรณ
2. การปฏิบัติงานที่ไมปลอดภัย
3. การขาดความรูเกี่ยวกับอันตรายของไฟฟา
อันตรายจากไฟฟา
สาเหตุการบกพรองของวงจรไฟฟา
1. ฉนวนหุมสายไฟขาด
2. สายไฟในเครื่องใช้แตะกับส่วนที่เป็นโลหะด้านนอก
อันตรายจากไฟฟา
3. อุปกรณ์บางอย่างในวงจรไฟฟ้ าชํารุด
อันตรายจากไฟฟา
4. กระแสไฟฟ้ าไหลในวงจรมากกว่าปกติ
อันตรายจากไฟฟา
อันตรายจากไฟฟา
5. อย่าซ่อมแซมอุปกรณ์ และเครื่องใช้ไฟฟ้ าด้วยตนเอง หากไม่มี
ความรู้เพียงพอ ควรให้ช่างไฟฟ้ าเป็นผู้ซ่อม
อันตรายจากไฟฟา
6. การใช้ไฟฟ้ าด้วยความประมาท
7. การรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ต้องสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน
การติดตั้งอุปกรณไฟฟา
ตองใหชางชํานาญทางไฟฟาที่มีประสบการณและผานการฝกอบรมมาแลว
หลักงายๆ ที่ตองคํานึงถึงทุกครั้ง คือ
1 ขนาดของสายไฟ สวิตช และอุปกรณปองกันทางไฟฟา
ตองมีขนาดถูกตองเหมาะสมกับการนําไปใชงาน
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
2 อุปกรณที่มีเปลือกนอกเปนโลหะ ตองมีการตอสายดิน
3 มีการปองกันเฉพาะอุปกรณแตละตอนดวยฟวสหรือสวิตช
หรือเบรกเกอรตัดวงจร
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
4 การตอสายไฟและอุปกรณ จะตองตออยางหนาแนนและมั่นคงปลอดภัย
5 อุปกรณไฟฟาซึ่งไมอาจปองกันหรือคลุมดวยฉนวนไดอยางมิดชิด จะตอง
มีริ้วลอมรอบหรือกั้นหองพรอมทั้งติดปายเตือนอันตรายจากไฟฟาใหเห็น
ไดอยางชัดเจน
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
การตรวจสอบ
จําเปนตองมีระบบการตรวจสอบอุปกรณเปนระยะและสม่ําเสมอ
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
หลักปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย
1. เมื่อรางกายเปยกชื้น เชน มือ เทาเปยก ไมควรแตะตองอุปกรณไฟฟา-
อิเล็กทรอนิกส เพราะหากอุปกรณดังกลาวชํารุด จะถูกกระแสไฟฟาดูด
และอาจเสียชีวิตได
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
2 . ถาขาดความรูดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ไมควรซอมและแกไข
อุปกรณดังกลาวดวยตัวเอง
3.กอนที่จะทาการตรวจซอมอุปกรณไฟฟาจะตองตัดกระแสไฟฟาที่จายไป
ยังอุปกรณนั้น ๆ เชน ถอดเตาเสียบ ปลดสวิตช
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
4. เครื่องใชไฟฟาประเภทใหความรอนสูง เชน เตารีด ควรระมัดระวังอยา
ใชงานใกลกับสารไวไฟ เมื่อเลิกใชแลวใหถอดเตาเสียบออก
5. ระวังอยาใหเด็กเลนเครื่องใชไฟฟา – อิเล็กทรอนิกส และเตารับควรใช
แบบที่มีฝาปดเพื่อปองกันเด็กนาวัสดุไปเสียบรูเตารับซึ่งจะเกิดอันตรายได
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
6. หากพบผูถูกกระแสไฟฟาดูด ใหตัดแหลงจายไฟฟากอน หรือใชผา
แหงคลองผูถูกกระแสไฟฟาดูดออกมา กอนทําการปฐมพยาบาล
7. ควรจัดใหมีการตรวจสอบกระแสไฟฟาภายในบานเพื่อปองกัน
อันตรายจากกระแสไฟฟาลัดวงจร ซึ่งอาจเกิดอันตรายและอัคคีภัยขึ้น
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
8. เตารับและเตาเสียบของเครื่องใชไฟฟา หากพบวาแตกชํารุดใหรีบ
เปลี่ยนใหมโดยเร็ว
9. เครื่องไฟฟา ที่ผิวนอกเปนโลหะ เชนตูเย็น กระแสไฟฟารั่วไปทีผิว
ภายนอกดังกลาวได ควรหมั่นตรวจสอบโดยใชไขควงเช็คไฟตรวจสอบ
หากพบวามีกระแสไฟฟารั่ว ควรใหชางซอมแซมแกไขตอไป
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
10. ฟวสที่ใชตามแผงสวิตชตาง ๆ ตองติดตั้งขนาดใหถูกตองเหมาะสม
11. การถอดเตาเสียบ ใหจับที่ตัวเตาเสียบแลวดึงออก อยาดึงที่สายไฟ
เพราะอาจทาใหสายไฟขาดภายในและเกิดกระแสไฟฟาลัดวงจรได
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
12. อยาใชผาหรือกระดาษพันสายไฟไว เพราะอาจเกิดอัคคีภัยได
13. อยาใชสายไฟฟาเสียบที่เตารับโดยตรง หรือใหเตาเสียบที่แตกชารุด
ไปเสียบที่เตารับ เพราะอาจถูกกระแสไฟฟาดูดได
14. การใชเครื่องใชไฟฟา –อิเล็กทรอนิกส หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน
ตองไมเสียบเตาเสียบที่เตารับอันเดียวกัน เพราะอาจจะทาใหกระแสไฟฟา
ไหลมากเกินไป ทาใหเกิดความรอนสะสม เปนเหตุเกิดกระแสไฟฟา
ลัดวงจรเกิดอัคคีภัยได
การปองกัน
อันตรายจากไฟฟา
15. อยาเดิน หรือวางสายไฟฟาใกลบริเวณที่มีความรอนสูง และอยาให
ของหนักกดทับสายไฟฟาเพราะอาจทาใหเกิดฉนวนไฟฟาลัดวงจรเกิด
อุบัติเหตุขึ้นได
16. เมื่อพบเห็นสายไฟฟาขาดหรือสายไฟที่หยอนยานต่ําลงมา อยาเขาไป
จับตอง และใหแจงการไฟฟาสวนภูมิภาคที่อยูใกลทราบ
17. ไมควรเลนวาวในบริเวณที่มีสายไฟแรงสูง
18. ไมควรตั้งเสาโทรทัศนหรือเสาอากาศวิทยุบริเวณที่มีสายไฟฟาแรงสูง
1. อยาใชมือเปลาแตะตองตัวผูที่ติดอยูกับกระแสไฟฟา หรือตัวนําที่
เปนตนเหตุใหเกิดอันตรายเปนอันขาด
2. รีบหาทางตัดกระแสไฟฟาโดยฉับไว
3. ใชวัตถุที่เชน ผา ไมแหง เชือกที่แหง สายยาง ผลักหรือฉุดตัวผู
ประสบอันตรายใหหลุดออกมาโดยเร็ว เขี่ยสายไฟใหหลุดออกจากตัว
ผูประสบภัย
4. หากเปนสายไฟฟาแรงสูงใหพยายามหลีกเหลี่ยง แลวรีบแจงการ
ไฟฟาโดยเร็ว
การชวยเหลือ
ผูที่ประสบอันตรายจากไฟฟา
5. อยาลงไปในน้ํากรณีที่มีกระแสไฟฟาอยูในบริเวณที่มีน้ําขัง ตอง
หาทางเขี่ยสายไฟฟาออกใหพนหรือตัดกระแสไฟฟากอนจึงคอยไป
ชวยผูประสบอันตราย
" การชวยผูประสบอันตรายจากไฟฟาดังที่กลาวมาแลวจําเปนอยาง
ยิ่งที่จะตองกระทําดวยความรวดเร็ว รอบคอบ และระมัดระวังเปน
พิเศษดวย "
การชวยเหลือ
ผูที่ประสบอันตรายจากไฟฟา
การปฐมพยาบาล
ผูที่ประสบอันตรายจากไฟฟา
การปฐมพยาบาล
ผูที่ประสบอันตรายจากไฟฟา
การปฐมพยาบาล
ผูที่ประสบอันตรายจากไฟฟา
การปฐมพยาบาล
ผูที่ประสบอันตรายจากไฟฟา
การปฐมพยาบาล
ผูที่ประสบอันตรายจากไฟฟา
การปฐมพยาบาล
ผูที่ประสบอันตรายจากไฟฟา
การปฐมพยาบาล
ผูที่ประสบอันตรายจากไฟฟา
ภาพจากการไฟฟ้ านครหลวง
คําศัพททางไฟฟา
ช่างไฟฟ้ าทุกคนจะต้องเข้าใจคําจํากัดความทั่วไปของคําศัพท์ที่ใช้
ในทางช่างไฟฟ้ า เพื่อให้การสั่งวัสดุอุปกรณ์ และการอ่านรายละเอียด
ของวัสดุอุปกรณ์ของบริษัทผู้ผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้สั่งและผู้อ่าน
จะต้องมีความคุ้นเคยกับภาษาที่ใช้ในทางช่างไฟฟ้ าด้วย ดังนั้นจึงควร
อ่านคําจํากัดความแต่ละคําอย่างระเอียดให้เข้าใจ
โดยในบทเรียนนี้จะจํากัดศัพท์เบื้องต้น ในงานช่างไฟฟ้ าเพื่อเป็น
พื้นฐานในการทําความเข้าใจเกี่ยวกับงานติดตั้งไฟฟ้ า
พลังงาน (energy) : ความสามารถในการทํางาน
กําลังมา (horsepower) : หนวยวัดการทํางานของเครื่องจักรกลพวก
มอเตอร เราจะใชอักษรยอ HP หรือ hp แทน โดยทั่วไปกําลังมานี้จะใชบง
บอกเอาทพุทของมอเตอรไฟฟา
ไฟฟา (electricity) : การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนผานตัวนําไฟฟา
ตัวนําไฟฟา (conductor) : สสารที่ยอมใหกระแสไฟฟาไหลผานตัวมัน
เองไดงาย
ความนําไฟฟาหรือความเปนสื่อไฟฟา (conductance) : ความ
สะดวกสบายตอการไหลผานของกระแสไฟฟาในวงจร
คําศัพททางไฟฟา
ฉนวนไฟฟา (insulator) : วัตถุที่มีคุณสมบัติดานตานทานการไหลของ
กระแสไฟฟา
อํานาจแมเหล็ก (magnetism) : คุณสมบัติอยางหนึ่งของสสารที่แสดง
อํานาจดึงดูดเหล็กได
ขั้วไฟฟา (polarity) : คุณสมบัติของประจุไฟฟาที่แสดงออกมา ซึ่งจะมี
คาเปนบวกหรือเปนลบ
แมเหล็กไฟฟา (electromagnet) : ขดลวดตัวนําไฟฟาที่แสดงอํานาจ
หรือคุณสมบัติทางแมเหล็กเมื่อมีกระแสไฟฟา ไหลผานขดลวดนั้น
คําศัพททางไฟฟา
กําลังไฟฟา (electric power) : อัตราการผลิตหรือใชพลังงานทางทาวง
ไฟฟาในหนึ่งหนวยเวลา
วัตต (watt) : หนวยวัดกําลังไฟฟา เราเรียนอักษรยอตัวพิมพใหญ W
แทน กําลังไฟฟามีจะเปนอักษรบอกพลังงานไฟฟาที่มีอุปกรณไฟฟาแตละ
ตัวในการทํางาน อยางเชน หลอดไฟ 1,000 วัตต
กิโลวัตต (kilowatt) : หนวยกําลังไฟฟาที่มีคาเทากับ 1,000 วัตต เราใช
ตัวยอวา KW เพราะเหตุวาในทางปฏิบัตินั้นโหลด หรือภาระทางไฟฟามี
จํานวนมากๆ จึงมีคาวัตตสูงๆ หนวยวัตตซึ่งทําใหการเรียกหรือบันทึกคา
ยุงยากและเสียเวลา เราจึงนิยมใชกิโลวัตตซึ่งเปนหนวยที่ใหญขึ้นนี้แทน
คําศัพททางไฟฟา
กิโลวัตต – ชั่วโมง (kilowatt – hour) : หนวยวัดการใชกําลังไฟฟา
ในเวลา 1 ชั่วโมง เราจําใชอักษรยอพิมพตัวใหญ KWH แทน ปกติแลว
การใชพลังงานไฟฟาตามบานจะวัดคาออกจากเครื่องวัดพลังงาน
(หรือที่เราเรียกกันวา หมอมิเตอร) มีหนวยเปนกิโลวัตต – ชั่วโมง หรือ
ที่เรียกกันวา ยูนิต (unit) แลวคิดราคาไฟฟาที่เราตองจายเทากับ
จํานวนยูนิตที่เราตองใชคูณดวยราคาไฟฟาตอหนึ่งยูนิต
คําศัพททางไฟฟา
ไฟฟากระแสสลับ (alternating current) : ระบบไฟฟาที่ทิศ
ทางการวิ่งของอิเล็กตรอนมีการสลับไปมาตลอดเวลา เราใช
สัญลักษณแทนดวยอักษรตัวพิมพใหญ AC และมักนิยมใชเปนระบบ
ไฟฟาตามบาน อาคาร โรงงานทั่วๆ ไป
ไฟฟากระแสตรง (direct current) : ระบบไฟฟาที่อิเล็กตรอนมี
การวิ่งไปทางเดียวกันตลอดเวลา และตอเนื่องกัน มักจะพบวาใชกัน
อยูทั่วๆ ไป ก็คือ เครื่องชารจแบตเตอรี่ ถานไฟฉาย แบตเตอรี่
รถยนตเปนตน ใชอักษรตัวพิมพใหญ DC เปนสัญลักษณแทน
คําศัพททางไฟฟา
แอมแปร (ampere) : หนวยการวัดคาอัตราการไหลของไฟฟาที่
ผานตัวนํา เราจะใชอักษรยอตัวพิมพใหญ A หรือ amp แทน ปกติ
แลวหนวยแอมแปรนี้นิยมใชระบุขอบของการใชกระแสไฟฟาดาน
สูงสุดในการทํางานของอุปกรณเครื่องใชไฟฟานั้นอยางปลอดภัย
อยางเชน เตาเสียบ 15 แอมแปร ฟวส 30 แอมแปร
คําศัพททางไฟฟา
เฮิรตซ (hertz) : หนวยความถี่มีคาเปนรอบตอวินาที การที่อิเล็กตรอน
วิ่งไปในทิศทางหนึ่งแลววกกลับมาสูแหลงจายไฟฟาความถี่ของระบบ
ไฟฟาบานเราใชความถี่ 50 เฮิรตซ ใชสัญลักษณ HZ แสดงแทน
โอหม (ohm) : หนวยความตานทานทางไฟฟาใชสัญลักษณแทนดวย
ตัวโอเมกา ( ) ความตานทานจะพยายามตอตานการไหลของ
กระแสไฟฟา
คําศัพททางไฟฟา
โวลต (volt) : หนวยวัดแรงดันไฟฟา แรงดันไฟฟาหรือแรงดันที่ทํา
ใหเกิดมีการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนภายในตัวนําไฟฟา เราใชตัวยอ
แทนแรงดันไฟฟาดวย V, E เชนเดียวกับคําวา แอมแปรแรงดันซึ่ง
ระบุไวที่ตัวอุปกรณเครื่องใชไฟฟาจะเปนตัวกําหนดขอบเขตการใช
แรงดันไฟฟาขณะทํางานไดโดยปลอดภัย เชน มอเตอร 220 โวลต
เครื่องเปาผม 110 โวลต เราจะตองใชอุปกรณไฟฟากับแรงดันไฟฟา
ตามที่ระบุไวเทานั้น
คําศัพททางไฟฟา
แอมมิเตอร (ammeter) : เปนเครื่องวัดทางไฟฟาชนิดหนึ่ง ใชวัด
คากระแสไฟฟาที่ไหลในวงจรที่เราตองการวัด
โอหมมิเตอร (ohm meter) : เปนเครื่องวัดทางไฟฟาชนิดหนึ่ง
ใชวัดคาความตานทานไฟฟา
โวลตมิเตอร (volt meter) : เปนเครื่องมือวัดทางไฟฟาชนิดหนึ่ง
ใชวัดคาแรงดันไฟฟา
มัลติมิเตอร (multimeter) : เปนเครื่องมือวัดทางไฟฟาชนิดหนึ่ง
ที่สามารถวัดคาแรงดัน กระแสและความตานทานไดในเครื่องเดียว
คําศัพททางไฟฟา
เฟส (phase) : หมายถึงชนิดของระบบไฟฟาที่ใชมีทั้งระบบ 1 เฟส 2
สาย แล 3 เฟส 4 สาย อุปกรณไฟฟา 1 เฟส 2 สาย จะใชตามบานที่
อยูอาศัย สวนระบบไฟฟา 3 เฟส 4 สาย นิยมใชกับธุรกิจใหญกับ
โรงงานอุตสาหกรรม
ฟวส (fuse) เปนอุปกรณปองกันที่ใชจํากัดกระแสไฟฟาสูงสุดในวงจร
เมื่อกระแสเกินคาจํากัดฟวสจะเกิดความรอนมากขึ้นจนกระทั่งหลอม
ละลายขาดจากกัน วงจรก็จะเปด ฟวสจะตองอยางอนุกรมกับวงจร
คําศัพททางไฟฟา
หมอแปลง (transformer) : เปนอุปกรณที่ใชเปลี่ยนแรงดันไฟฟาให
สูงขึ้นหรือต่ําลง เพื่อใหตรงกับแรงดันที่ใชกับอุปกรณไฟฟาตางๆ เชน
มีเครื่องซักผาแรงดัน 110 โวลต แตมีไฟฟาแรงดัน 220 โวลต เราก็
ตองใชหมอแปลงแรงดัน 220 โวลต ใหเปนแรงดัน 110 โวลต
วงจรเปด (open circuit) : สภาวการณที่ทางเดินไฟฟาเกิดขาดวงจร
เกิดวงจร หรือไมตลบวงจรทําใหกระแสไฟฟาไหลไมได
วงจรลัด (short circuit) : สภาวการณที่เกิดมีการลัดวงจรทางเดิน
ของกระแสไฟฟา อันเนื่องมาจากรอยตอของสายตางๆ พลาดถึงกัน
คําศัพททางไฟฟา
Selfpeck1

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiencytatong it
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5sripayom
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingVai2eene K
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าPrasert Boon
 
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเดโช พระกาย
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้าPhachakorn Khrueapuk
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์ASpyda Ch
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบNeeNak Revo
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าNeeNak Revo
 

Viewers also liked (16)

ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiency
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
 
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
 

Selfpeck1