SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
การติดตั้งไฟฟ้ าในอาคาร
รหัสวิชา 2104-2005 พุทธศักราช 2556
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรรม
ครู ปิ ยพงศ์ วชิรมนตรี
วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด
Piyapong_v@hotmail.com
พื้นฐานในการใช้เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
การที่เราจะนาเครื่องมือช่างไฟฟ้ ามาใช้งาน เราจาเป็นที่
จะต้องรู้จักวิธีใช้เครื่องมือไฟฟ้ านั้นก่อน เพื่อความสะดวกและ
ความปลอดภัยหากเราใช้อุปกรณ์นั้นๆได้อย่างชานาญแล้วเราก็จะ
สามารถใช้อุปกรณ์ในงานนั้นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพได้
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
พื้นฐานงานติดตั้งไฟฟ้ า
ค้อนช่างไฟฟ้ า (Electrician
Hammer) ค้อนเดินสายไฟฟ้ า
หรือค้อนช่างไฟฟ้ า ใช้สาหรับตอก
ตะปู เดินสายไฟฟ้ า แบบเข็มขัด
ลัดสายหรือติดตั้งกล่องต่อสายไฟ
ต่าง ๆ
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ไขควง (Screw Driver)
เป็ นเครื่องมือสาหรับ ขันและ
คลาย สกรูชนิดหัวผ่า ขนาด
และรูปทรงของไขควงถูก
ออกแบบให้เป็ นไปตาม
ลักษณะการ ใช้งาน
ไขควงเช็คไฟ (Check power
screwdriver)
ใช้หลักการให้ไฟฟ้ าไหลผ่านตัว
เราลงไปสู่พื้น ไปกระแสที่ไหล
ผ่าน ตัวเรานั้นน้อยมากจนไม่
รู้สึกใช้ในการตรวจสอบอุปกรณ์
ไฟฟ้ าต่างๆ
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
คีมตัดสายไฟ (Hand cable
cutter) ใช้ในงานตัดสายไฟฟ้ า
ตัดสาบทองแดงขนาดต่างๆ
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
คีมปลอกสายไฟฟ้ า (Hand CABLE
STRIPPER) ใช้ในงานปลอกสายไฟฟ้ า
ขนาดต่างๆ มีหลายชนิดให้เลือกใช้
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
คีมปากแหลม (needle nose
pliers) ใช้สาหรับทางานที่ไม่ต้อง
ใช้แรงมากและพื้นที่ทางานแคบ
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
คีมรวม (Pliers mouth)
เครื่องมือประเภทมือจับชนิดหนึ่ง
มี 2 ขาคล้ายกรรไกร ใช้สาหรับ
คีบ จับ ตัด ดัด งอโค้ง ของต่าง
มือ ตามประเภทการใช้งานของ
คีมประเภทต่าง ๆ หากเป็ นคีม
ชนิดที่ใช้งานกับอุปกรณ์ไฟฟ้ าจะ
มีด้ามหุ้มเป็ นพลาสติกที่เป็ น
ฉนวนไฟฟ้ า
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
คีมล๊อค (locking pliers)
เครื่องมือประเภทมือจับชนิด
หนึ่งมีแรงบีบมหาศาลช่วยให้
คีมล็อคสามารถจับวัตถุที่มี
พื้ นผิวไม่สม่าเสมอหรือ
หัวน็อตที่เยินสิ้ นสภาพไปแล้ว
กลไกล็อคจะช่วยให้ฟันหยัก
บีบวัตถุได้
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
คีมย้าหางปลา (HAND Crimping
Tools) เป็ นเครื่องมือใช้ย้าหางปลา
ซึ่งเป็ นอุปกรณ์ยึดสายไฟฟ้ ากับน๊อต
สกรู ที่ติดอยู่กับอุปกรณ์ไฟฟ้ าให้แน่น
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ปากกาจับท่อ (Hose clamps ) ใช้
สาหรับจับงานท่อ เพื่อใช้ในงาน
ตัดท่อ ลบคมท่อ เป็ นตัน
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ตลับเมตร (Measurement tape) คือ
เครื่องมือวัดชนิดหนึ่งที่มีสายวัดเก็บ
อยู่ในตลับอย่างมิดชิด ทาให้ สะดวก
ในการนาติ ดตัวไปใช้งานได้
ตลอดเวลา ตลับเมตรใช้ในการวัดหา
ระยะหรือตรวจสอบขนาดของวัสดุ
ชิ้นงาน ฯลฯ เนื่องจากตรงหัวสายวัด
ของตลับเมตร
มีขอ
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ลวดร้อยสายไฟ (fish tape) ใช้
สาหรับดึงสายไฟฟ้ า ผ่านท่อโลหะ จาก
จากผนัง เพดานพื้น ได้อย่างรวดเร็ว
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ระดับน้า (Level) เป็ นอุปกรณ์ที่ช่าง
ใช้ในการวัดความลาดเอียงของพื้นที่
โดยสามารถวัดระดับได้ทั้งใน
แนวราบ และแนวดิ่ง
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ปักเต้า (Breast implant lines.) ใช้ในการ
ตีแนวเส้นก่อนตอกตะปูยึดเข็มขัดรัด
สาย ช่วยให้ได้แนวสาย ที่ตรงสวยงาม
ภายในปักเต้าจะประกอบด้วยเส้นด้าย
และสีฝุ่น เมื่อดึงเส้นด้าย ออกมาทาบกับ
ผนังหรือเพดานและขึงให้ตึง ณ จุดที่
ต้องการ จากนั้นดึงด้ายขึ้น แล้วดีด
กลับไปยังผนังก็จะเห็นแนวเส้นตาม
ต้องการ
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
บิดหล่า (Gimlet bit) บิดหล่า
เป็ นเครื่องมือที่ใช้เจาะรูไม้ ใช้
แทนสว่าน เช่นเจาะรูแป้ นไม้รอง
สวิทซ์ หรือ แผงคัทเอาท์
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
สว่านไฟฟ้ า (electric drill)
มี 2 แบบคือ สว่านธรรมดา
และสว่านกระแทก สว่าน
ธรรมดาใช้สาหรับเจาะไม้ หรือ
เหล็ก ส่วนสว่านแบบกระแทกใช้
เจาะคอนกรีตได้ด้วย ปกติ
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
สว่านมือ (Hand drill) หรือสว่าน
เจาะนา เหมาะกับการเจาะรู
ขนาดเล็กเพื่อเจาะนาสกรู
สามารถเจาะได้ทั้งงานเหล็กและ
งานไม้
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ดอกสว่าน เจาะปูน (Concrete drill
bits) ดอกสว่านเจาะปูนจะมีลักษณะ
หัวบานๆมีปี กใช้สาหรับเจาะปูน แต่
ยังมีดอกสว่านอีกหลายแบบที่ใช้กับ
งานปูนหรืองานคอนกรีต เช่นดอก
สว่านสาหรับงานแยกปูน
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ดอกสว่านเจาะเหล็ก (Steel drill
bits) โดยส่วนมากดอกสว่าน
สาหรับเจาะเหล็กนั้นจะมีวิธี
สังเกตง่ายๆคือ หัวมันจะคมๆ
เอาไว้สาหรับเจาะเหล็ก ดอก
สว่านเจาะเหล็กสามารถนาไป
เจาะไม้ได้ด้วย
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ดอกสว่านเจาะไม้ (Wood drill
bits ) ดอกสว่านสาหรับงานไม้นั้น
จะมีหลากหลายตามลักษณะการใช้
งานไม่ว่าจะเป็ นงานเจาะไม้ คว้าน
ลูกบิดประตูโดยส่วนใหญ่จะเป็ นงาน
เฉพาะทาง คนทั่วๆไปไม่ค่อยได้ใช้
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ดอกโฮลซอว์ ( Hole Saw Drill )
ดอกโฮลซอว์เป็ นอีกทางเลือกหนึ่งที่
ดีของการเจาะรู้ขนาดใหญ่ มี
ลักษณะเหมือนถ้วยที่มีขอบเป็ นฟัน
เลื่อยฟันเลื่อยเหล่านี้ทาหน้าที่กัด
วัสดุที่อยู่บริเวณขอบนอกของรูที่
ต้องการเจาะ โดยไม่กินเนื้อวัสดุที่
อยู่ตรงกลาง
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
เหล็กนาศูนย์ (Steel Centering)
ใช้ในการเดินสายบนคอนกรีต โดย
ใช้เหล็กนาศูนย์ตอกคอนกรีต ให้
เป็ นหลุมเล็กๆ ก่อนแล้วจึงตอกตะปู
ยึดเข็มขัดรัดสายลงไปจะช่วยให้
การตอก ตะปูทาได้ง่ายขึ้น อาจใช้
ตะปูตอกคอนกรีตเจียรปลายให้เล็ก
และแหลมแทนการ ใช้เหล็กนาศูนย์
ได้
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
เหล็กส่ง (Steel transmission)
ทาด้วยเหล็กสกัดปากตัดหรือ
เหล็กเส้นแบนยาวประมาณ
7-10 ซม. ใช้ตอกเข็มขัดรัดสาย
กรณีเดินสายชิดมุมผนัง
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
สกัด (chisel)
ใช้เมื่อต้องการสกัดผนังคอนกรีต
เพื่อฝังกล่องสวิตซ์หรือปลั๊ก
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
เครื่องลบคมในท่อ (Pipe Reamers)
ใช้สาหรับลับคมท่อโลหะ
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
มีด (Knife wiring)
ใช้สาหรับปอกฉนวนของสายไฟ
การปอกสายไฟด้วยมีดควรปอก
เฉียงๆ คล้ายการเหลาดินสอทามุม
ไม่เกิน 60 องศา เพื่อไม่ให้คมมีด
บาดตัวนาจนขาด
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
เลื่อย (saw)
ใช้สาหรับตัดอุปกรณ์ต่างๆ เช่น
ท่อเหล็ก ท่อ PVC เป็ นต้น
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
คัตเตอร์ตัดท่อ (Pipe Cutters)
ใช้สาหรับตัดท่อโลหะ
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
กรรไกรตัดท่อ (PVC Pipe Cutters)
ใช้สาหรับตัดท่อพลาสติก
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
บันได (ladder)
ใช้ในงานติดตั้งไฟฟ้ าบนที่สูง
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ที่ดัดท่อโลหะบาง
(EMT bender) ใช้สาหรับดัดท่อ
โลหะบาง
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ที่ดัดท่อโลหะหนาปานกลาง
(IMC. Hickey) ใช้สาหรับดัดท่อ
โลหะหนาปานกลาง
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ที่ดัดท่อโลหะหนา (Rigid bender)
หรือที่ดัดท่อไฮดรอลิกส์ ใช้
สาหรับดัดท่อโลหะหนา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
ตะไบกลม (EN: round file)
ใช้สาหรับงานลับคมท่อ ทั้งด้าน
นอกและด้านใน
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
เครื่องเป่ าลมร้อน (Blowers hot )
เป็ นเครื่องเป่ าลมความร้อนสูงใช้
สาหรับงานดัดท่อ PVC
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
เตาไฟฟ้ า (electric stove) ใช้
สาหรับงานดัดท่อ PVC ในกรณีที่
ที่ไม่มีเครื่องเป่าลมร้อน
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
เครื่องเป่ าลม (blower )
ใช้สาหรับงานทาความสะอาด
อุปกรณ์
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
กล่องเครื่องมือ (Tool Box)
ใช้สาหรับเก็บเครื่องมือ และ
อุปกรณ์ที่ใช้ในงานติดตั้งไฟฟ้ า
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
มัลติมิเตอร์ (Multimete)
เป็ นเครื่องวัดที่ใช้ค่าพื้นฐานทาง
ไฟฟ้ าคือ แรงดันไฟฟ้ า
กระแสไฟฟ้ าและความต้านทาน
ไฟฟ้ า ไม่ว่าจะเป็ นการทดสอบ
หรือการตรวจซ่อมวงจรต่าง ๆ ก็
จาเป็ นต้องวัดค่าเหล่านั้นทั้งสิ้น
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
แคล้มป์ มิเตอร์ (Clamp Meter)
เป็ นเครื่องมือวัดทางไฟฟ้ าที่
เปลี่ยนปริมาณทางไฟฟ้ าให้อยู่ใน
รูปที่เราสัมผัสได้ เช่น ตัวเลข
แสดงผล หรือให้อยู่ในรูปของเข็ม
ชี้ค่าแสดงผล ตรวจวัดค่า
กระแสไฟฟ้ าที่ไหลในวงจรได้
อย่างรวดเร็ว และแม่นยาโดยไม่
ต้องดับไฟ
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
สาหรับติดตั้งไฟฟ้ าภายในอาคาร
เมกกะโอห์มมิเตอร์
( Megaohmmeter )
หรือเมกเกอร์ ( Megger ) เป็น
เครื่องมือสำหรับวัดค่ำควำม
ต้ำนทำนสูง ๆ ใช้วัดค่ำควำม
ต้ำนทำนของฉนวน
เครื่องมือช่ำงไฟฟ้ ำ
สำหรับติดตั้งไฟฟ้ ำภำยในอำคำร
ประเภทค้อน
1. ในการใช้ค้อนทุกชนิด ควรจับค้อนที่บริเวณปลายด้ามของ
ค้อน และในการตอกงานต้องให้ชิ้นงานสัมผัสกับหน้าค้อน
โดยตรง เพื่อให้ชิ้นงานได้รับน้าหนักที่สม่าเสมอ
2. ก่อนใช้ค้อนต้องตรวจดูว่าหัวค้อนกับด้ามจับสวมกันแน่น
หรือไม่โดยการใช้มือข้างหนึ่งจับหัวค้อนและอีกข้างหนึ่งจับ
ด้ามบิดค้อนทดสอบดู
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
ประเภทค้อน
3. ห้ามนาค้อนช่างไฟฟ้ าไปตอกวัตถุประเภท คอนกรีต กาว
หรือน้ามัน เพราะจะทาให้หน้าค้อนเกิดการชารุดเสียหาย
4. ทาความสะอาดทุกครั้งที่ใช้งานเสร็จ
5. ตรวจดูความแข็งแรงและความเรียบร้อยก่อนนาไปเก็บ
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทไขและขัน
1. เลือกใช้ปากของไขควงให้เหมาะสมกับร่องของหัวสกรู หรือ
สลักเกลียว เช่น ปากสี่แฉก ร่องของหัวสกรู ต้องเป็ นสี่แฉก
ปากแบน ร่องของหัวสกรูต้องเป็ นแบบกลม
2. ความหนาของปากไขควงต้องพอดีกับร่องของหัวสกรู
ออกแรงบิดไขควงเท่านั้น ไม่ควรออกแรงกดมากเกินไป
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทไขและขัน
3. อย่าใช้ไขควงที่ชารุด เช่น ด้ามแตกหรือร้าว ปากงอหรือบิดงอ
4. การขันสกรูยึดชิ้นงานที่เป็ นไม้ควรใช้เหล็กตอกหรือสว่านเจาะ
นาก่อน
5. ห้ามใช้ค้อนตอกที่ด้ามไขควง ยกเว้นไขควงที่ออกแบบมาให้
ใช้ค้อนตอกได้
6. ภายหลังใช้งานต้องทาความสะอาดแล้วเก็บไว้ในที่แห้ง
ปราศจากน้ามันหรือจาระบี
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทคีม
1. เลือกใช้คีมให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของคีมชนิดนั้นๆ เช่น คีม
ตัดไม่เหมาะกับการใช้จับ คีมตัดสายไฟฟ้ าไม่เหมาะที่จะใช้ตัด
แผ่นโลหะ เป็ นต้น
2. ฟันที่ปากของคีมจับต้องไม่สึกหรอ ส่วนปากของคีมตัดต้อง
ไม่ทื่อ
3. การจับคีม ควรให้ด้ามคีมอยู่ที่ปลายนิ้วทั้ง 4 แล้วใช้อุ้งมือ
และนิ้วหัวแม่มือกดด้ามคีมอีกด้าน จะทาให้มีกาลังในการจับหรือ
ตัด
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทคีม
4. การปลอกสายไฟฟ้ าควรใช้คีมปลอกสายไฟฟ้ าโดยเฉพาะ
เพราะจะมีขนาดของรูปเท่ากับขนาดของสายไฟฟ้ าพอดี ส่วนการ
ตัดสายไฟฟ้ าหรือเส้นลวดที่ไม่ต้องการให้โผล่จากชิ้นงานควรใช้
คีมตัดปากทแยง
5. ไม่ควรใช้คีมตัดโลหะที่มีขนาดใหญ่หรือแข็งเกินไป แต่ให้ใช้
กรรไกรแทน
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทคีม
6. ไม่ควรใช้คีมขันหรือคลายหัวนอต เพราะจะทาให้หัวนอต
ชารุด
7. ถ้าต้องจับชิ้นงานให้แน่นควรใช้ คีมล็อก
8. ถ้าชิ้นงานมีขนาดใหญ่ ควรใช้คีมปากขยาย การใช้คีมที่ปาก
เล็กจะไม่มีกาลังที่จะจับชิ้นงานให้แน่น เพราะ ด้ามของคีมจะถ่าง
มากไป
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทคีม
9. ถ้าต้องการเก็บคีมไว้นาน ควรหยอดน้ามันที่จุดหมุนของคีม
และควรมีการหยอดน้ามันเป็ นระยะ
10. หลังจากเลิกใช้งานประจาวัน ควรเช็ดทาความสะอาด แล้ว
เก็บไว้ในที่ที่จัดเตรียมไว้หรือที่ปลอดภัย
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทวัด
1. การใช้ตลับเมตรที่ถนอมคือต้องไม่ดึงสายวัดออกมาจนสุด
2. ระมัดระวังอย่าให้ระดับน้าตกลงพื้นเพราะจะทาให้
คลาดเคลื่อนจากความเที่ยงตรง
3. ทาน้ามันส่วนที่เป็ นโลหะ
4. ทาความสะอาดหลังเลิกใช้แล้วเก็บให้เป็ นระเบียบ
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทเจาะ
1. ก่อนเจาะทุกครั้งควรใช้เหล็กตอกนาศูนย์ตรงจุดที่ต้องการ
เจาะ เพื่อให้ดอกสว่านลงถูกตาแหน่ง
2. ควรจับเครื่องเจาะให้กระชับและตรงจุดที่เจาะ
3. การเจาะต้องออกแรงกดให้สัมพันธ์กับการหมุน เพื่อความ
ปลอดภัยของผู้ใช้
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทเจาะ
4. ในการเจาะชิ้นงานให้ทะลุทุกประเภทจะต้องมีวัสดุรองรับ
ชิ้นงานเสมอ
5. ควรเลือกใช้ดอกสว่านให้เหมาะสมกับขนาดของชิ้นงาน
6. ไม่ควรใช้ดอกสว่านผิดประเภท เช่น ดอกสว่านเจาะคอนกรีต
ไม่ควรนาไปเจาะเหล็ก เป็ นต้น
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทเจาะ
7. ตรวจสอบตรวจซ่อมสว่านให้มีสภาพการใช้งานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
8. ทาความสะอาดหลังการใช้งานทุกครั้ง
9. ก่อนนาไปเก็บให้ชโลมนามันเครื่องใสทุกครั้ง
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทเลื่อยและเครื่องตัด
1. ควรเลือกอุปกรณ์ให้ถูกต้องกับความหนาและความแข็งของ
ชิ้นงาน
2. ก่อนตัดควรตรวจสอบอุปกรณ์ตัดว่าอยู่ในสภาพสมบูรณ์
หรือไม่
3. ควรจับยึดชิ้นงานด้วยปากกาจับชิ้นงานก่อนตัด
4. ในขณะตัดระมัดระวังใบเลื่อยหรือใบตัดหัก
5. ถ้าใบเลื่อยหรือใบตัดหักควรเปลี่ยนทันทีไม่ควรใช้งาน
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือประเภทเลื่อยและเครื่องตัด
6. ขณะตัดอย่ากระแทกหรือบิดโครงอุปกรณ์เพราะใบตัดอาจหัก
ได้
7. หมั่นลับความคมของอุปกรณ์อยู่เสมอ
8. ทาความสะอาดแล้วหยอดน้ามันส่วนที่เป็ นโลหะแล้วเก็บเข้าที่
9. เครื่องตัดประเภทหมุน ต้องระวังรักษาส่วนหมุนอย่าง
สม่าเสมอ
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
เครื่องมือช่างประเภทอุปกรณ์เฉพาะ
ควรตรวจสอบระบบ ทั้งกลไกและไฟฟ้ า ว่าทางานปกติหรือไม่ถ้า
พบว่าเกิดข้อบกพร่องก็ให้นาไปซ่อมหรือแก้ไขทันที ไม่ควรฝืนใช้
ทั้งที่มีปัญหาเพราะอาจเกิดอันตรายและเสียหายมากกว่าเดิมได้
การเก็บรักษาควรเก็บให้เป็ นที่ ในมุมเฉพาะ ที่ไม่มีความชื้น ควร
ระวังสัตว์จาพวกหนูที่อาจเข้าไปทาลาย จาพวกสายไฟต่างๆของ
อุปกรณ์ได้
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
ไม่ว่าจะเป็ นเครื่องมือแบบใด จาเป็ นต้องได้รับการเก็บรักษาอย่าง
ถูกวิธีรวมถึงควรใช้งานที่ตรงกับประเภท จะทาให้เครื่องมือ
เหล่านั้นมีความพร้อมสาหรับการใช้งานครั้งต่อไป
การบารุงรักษา
เครื่องมือช่างไฟฟ้ า
Selfpeck3หน่วยที่3

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
Nattawut Kathaisong
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
พัน พัน
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
Phachakorn Khrueapuk
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
ASpyda Ch
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
Peerapong Veluwanaruk
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
NeeNak Revo
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
NeeNak Revo
 

Viewers also liked (12)

บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiency
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
 
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
 

Selfpeck3หน่วยที่3