SlideShare a Scribd company logo
1 of 219
Download to read offline
บทที่ 1
                                                           บทนา

1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา


              พระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ .ศ. 2542 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
                             ิ
หมวด 9 ให้ ความสาคัญของเทคโนโลยี ในการปฏิรูปการศึกษา โดยกาหนดให้ รัฐต้ องส่งเสริม และ
สนับสนุนให้ มีการผลิต พัฒนาแบบเรี ยน สื่อสิ่งพิมพ์ วัสดุอปกรณ์ และเทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนา
                                                             ุ
ผู้เรี ยนให้ มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้ เทคโนโลยีเพื่อแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ อย่างต่อเนื่อง
ตลอดชีวิต1 นอกจากนี ้ ในมาตรา 37(2) และ(4) กาหนดให้ กระทรวงศึกษาธิการจัดการศึกษาทางไกล
และการศึกษานอกระบบและก ารศึกษาตามอัธยาศัย ให้ บริการในหลายเขตพื ้นที่ 2 ซึงดาเนินการโดย
                                                                                   ่
สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรี ยน
              ในปี พ.ศ. 2548 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ ออกระเบียบสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ว่าด้ วยการจัดการศึกษาทางไกล พ .ศ. 2548 ทังนี ้โดยกาหนดขอบเขตการจัดการศึกษาทางไกล 3
                                                     ้
ลักษณะ คือ 1) การเรี ยนรู้ด้วยตนเองจากชุดการเรี ยนทางไกล 2) การเรี ยนรู้ด้วยตนเองผ่านเครื อข่าย
อินเทอร์ เน็ต และ 3) กระบวนการและกิจกรรมการเรี ยนรู้ในลักษณะอื่น ๆ ได้ แก่ การสัมมนา
การศึกษาดูงาน การฝึ กปฏิบติ การฝึ กอบรม การสอนเสริมในลักษณะต่าง ๆ การแนะแนว และ อื่น ๆ3
                               ั
นอกจากนี ้ เพื่อให้ การจัดการศึกษาต่อเนื่อง วิธีเรี ยนทางไกล เป็ นไปอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้ มอบหมายให้                สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยภาค จัดการศึกษาต่อเนื่อง วิธีเรี ยนทางไกล พร้ อมทังการพัฒนาหลักสูตร กา ร
                                                                            ้
อนุมติ การบริหารจัดการหลักสูตรและเป็ นผู้ควบคุมดูแลการจัดการศึกษาทางไกล ให้ ได้ ตาม
        ั
มาตรฐาน ที่กาหนดไว้ ในแต่ละหลักสูตร4


             1
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี , พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ
ที่แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (กรุงเทพมหานคร: บริษัทพริกหวานกราฟฟิ กจากัด, ม.ป.ป.) 37-38.
                  2
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 22-23.
                  3
                    ระเบียบสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการว่าด้ วย การจัดการศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548, ประกาศ ณ วันที่ 25 มี.ค. พ.ศ.
2548.
                  4
                    หนังสือสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ศธ 0210.07/13554 ลงวันที่ 30 ธ.ค. 2548 เรื่อง การมอบหมายการจัด
การศึกษาทางไกล
-2-

             ในปี พ .ศ. 2551 กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดให้ การจัดการศึกษาทางอินเทอร์ เน็ต เป็ น
เรื่ องหนึงในนโยบายเร่งด่วน โดยกาหนดแผนจัดทาคลังข้ อมูล E-learning ทังในรูปเรี ยนฟรี เรี ยนแบบ
          ่                                                                     ้
ลงทะเบียนได้ หน่วยกิต และเรี ยนตามอัธยาศัย5
             สานัก บริหารงานการศึกษานอกโรงเรี ยนให้ ความสาคัญเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัด
การศึกษาอย่างต่อเนื่อง ดังจะเห็นได้ จาก อดีตอธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรี ยน ดร .รุ่ง แก้ วแดง ซึงได้่
สนับสนุนให้ นาเทคโนโลยีมาใช้ ในงานการศึกษานอกโรงเรี ยน 6 และนอกจากนี ้ ในการกาหนดนโยบาย
และยุทธศาสตร์ การศึกษานอกโรงเรี ยน สาหรับปี งบประมาณ 2547 และจุดเน้ นการดาเนินงานตาม
กลยุทธ์ กศน. ไปสูการปฏิบติ ในปี งบประมาณ 2548 ได้ กาหนดแนวทางและมาตรการ ในการส่งเสริม
                     ่       ั
สนับสนุนให้ แหล่งการเรี ยนรู้ มีสื่อและเทคโนโลยี เพื่อให้ บริการการเรี ยนรู้อย่างพอเพียง 7 จัดระบบการ
จัดการความรู้ โดยสร้ างการเชื่อมโยงแหล่งการเรี ยนรู้ในเรื่ องต่าง ๆ ทังภายในชุมชน และระหว่าง
                                                                       ้
ชุมชน เพื่อสร้ างเครื อข่ายการเรี ยนรู้ ในวงกว้ างครอบคลุมทัวประเทศ ทังนี ้โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                             ่           ้
และการสื่อสาร (ICT) เป็ นกลไกในการบริหารจัดการตามกระบวนการ ของการจัดการความรู้ 8 สาหรับ
แนวทางการดาเนินงาน สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรี ยน มุงเน้ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ให้
                                                                    ่
สอดคล้ องกับความต้ องการของผู้เรี ยน สามารถเลือกวิธีการเรี ยนรู้ ที่หลากหลาย รวมทังการเรี ยนรู้จาก
                                                                                        ้
สื่อต่าง ๆ โดยเฉพาะ E-learning9
             สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรี ยน กาหนดวิสยทัศน์ ในการดาเนินงานด้ านเทคโนโลยี
                                                                ั
สารสนเทศและการสื่อสารโดยมุงเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนและประชาชน มีโอกาสเข้ าถึงและใช้ ประโยชน์ จาก ICT
                                   ่
เพื่อการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตอย่างเต็มศักยภาพ 10 ตลอดจนกาหนดยุทธศาตร์ และกลยุทธ์ ในอันที่จะสร้ าง
โอกาส เพิ่มขีดความสามารถ และยกระดับมาตรฐานการเรี ยนรู้ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-learning)11


             5
               จรวยพร ธรณินทร์ , ดร. ‚ทิศทางกศน.ยุคใหม่ปี 2551.‛ กระทรวงศึกษาธิการ. 25 ต.ค. 2550 <http://www.moe.go.th/
charuaypon/works/ppt28_charuaypon.ppt>.
             6
               รุ่ง แก้ วแดง, ดร., สรุปหัวข้ อการบรรยายในการประชุมผู้บริหารการศึกษานอกโรงเรียน ณ โรงแรมโกลเดนวัลเล่ย์ เขาใหญ่
จังหวัดนครราชสีมา วันที่ 12 ก.ย. 2536 (กรุงเทพมหานคร: ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา, 2536) 16.
             7
               สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน, นโยบายและยุทธศาสตร์ การศึกษานอกโรงเรียน ประจาปี งบประมาณ 2547
(กรุงเทพมหานคร: ห้ างหุ้นส่วนจากัด โรงพิมพ์อกษรไทย, 2546) 19.
                                                ั
             8
               สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน, จุดเน้ นการดาเนินงานตามกลยุทธ์ กศน. สู่การปฏิบติ ปี งบประมาณ 2548 (เอกสาร
                                                                                                    ั
อัดสาเนา, 2548) 2.
             9
               สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน 13.
             10
                 สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน, แผนยุทธศาสตร์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปี งบประมาณ 2550-
2554 (กรุงเทพมหานคร: รังสีการพิมพ์, 2549) 25.
             11
                 สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน 4.
-3-

สนับสนุนให้ มีการจัดหา และการกระจายโครงสร้ างพื ้นฐานด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต ให้ ถึงผู้เรี ยนและประชาชนอย่างทัวถึง
                                                            ่
             สถาบัน กศน. ภาคกลาง ได้ เริ่มนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ ามาใช้ ในการเรี ยนการสอน โดย
จัดทาสื่อการเรี ยนการสอนการศึกษาทางไกล และได้ เริ่มการทดลองดาเนินโครงการโรงเรี ยนเสมือน
จริง12 เป็ นการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้ านอินเทอร์ เน็ต วิทยุ สื่อ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น
CAI (Computer Assisted Instruction) และ สื่อเทปตลับ (Cassette tape) ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนศึกษา
ค้ นคว้ าหาความรู้ด้วยตนเอง ในเวลา และสถานที่ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมของตนเอง มีการ
สื่อสารติดต่อกันระหว่างครูและผู้เรี ยนผ่านทาง โทรศั พท์และไปรษณีย์ตามปกติ มีการจัดทาเว็บเพจ
เพื่อการเรี ยน โดยใช้ Server ของกรมการศึกษานอกโรงเรี ยน และได้ มีการจัดทารายการวิทยุ
ออกอากาศ ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ความถี่ 1467 กิโลเฮิรตซ์ ในวันเสาร์ และวัน
อาทิตย์ ระหว่างเวลา 11.00-12.00 น. เป็ นประจาสัปดาห์ละ 2 ชัวโมง   ่
             ต่อมา สถาบัน กศน . ภาคกลาง ได้ ปรับโครงสร้ างการบริหารงาน และจัดตังกลุมงาน  ้ ่
การศึกษาทางไกล ในปี 2547 13 เพื่อดาเนินการจัดการศึกษาทา งไกลหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง โดย
ประกอบด้ วยกิจกรรมหลัก 4 กิจกรรม คือ 1) เรี ยนโดยสื่อและการสัมมนา 2) เรี ยนทางอินเทอร์ เน็ต
หรื อ E-learning 3) เรี ยนทางวิทยุ และ 4) การฝึ กอบรม ในการจัดการเรี ยนการสอนทางอินเทอร์ เน็ต
ได้ จดทาเว็บไซต์ โดยใช้ URL คือ http://www.crnfe.ac.th อีกทังได้ พฒนาระบบการจัดการเรี ยนการ
     ั                                                              ้ ั
สอน (LMS หรื อ Learning Management System) ทาให้ สามารถให้ บริการเนื ้อหารายวิชา ต่าง ๆ
พร้ อมทังเก็บข้ อมูลของผู้เรี ยนผ่านทางเว็บไซต์ได้
          ้
             ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็ กทรอนิกส์และคอมพิ วเตอร์ แห่งชาติ ได้ สารวจผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตใน
ประเทศไทย 14 พบว่า กิจกรรมที่ผ้ ใช้ อินเทอร์ เน็ตทามากที่สด ได้ แก่การ รับส่งอีเมล ซึงสอดคล้ องกับ
                                         ู                    ุ                        ่
ศรี ศกดิ์ จามรมาร 15 ที่กล่าวว่า อีเมลเป็ นบริการทางอินเทอร์ เน็ตที่มีคนใช้ มากที่สด นอกจากนี ้เว็บไซต์
       ั                                                                           ุ
จานวนมาก ทังในประเทศไทยและในต่างประเทศ มีการ ใช้ จดหมายเวียนทางอีเมลเพื่อให้ บริการ
                  ้
ข่าวสารข้ อมูลแก่สมาชิก เนื่องจากจดหมายเวียนทางอีเมล มีข้อดีหลายประการ เช่น ช่วยสร้ าง

              12
                   ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง, โรงเรียนเสมือนจริง (เอกสารอัดสาเนา, 2541) 1-6.
              13
                   ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง, รายงานการติดตามผลการจัดการศึกษาทางไกล ปี 2547 (เอกสารอัดสาเนา, 2547),
17.
              14
                  ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ , รายงานผลการสารวจกลุ่มผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย ปี 2548
(กรุงเทพมหานคร: บริ ษัท ซีเอ็ดยูเคชัน จากัด (มหาชน), 2549) 71.
                                     ่
               15
                  ศรี ศกดิ์ จามรมาร, ‚ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล,‛ eeverything.info, 24 ต.ค. 2550 <http://www.eeverything.info/
                       ั
eMail/index1.htm>.
-4-

ความสัมพันธ์ ความผูกพัน และความเป็ นส่วนตัว ได้ มากกว่าเว็บไซต์ 16 ผู้บริหารธุรกิจให้ ความสาคัญ
จดหมายเวียนทางอีเมลมากกว่าเว็บไซต์17 เป็ นการเพิ่มทางเลือกในการสื่อสาร 18 สามารถสร้ างเจตคติ
ที่ด19 และ นอกจากนี ้ยังพบว่าในอนาคตจะมีการใช้ จดหมายเวียนทางอีเมลเพิ่มมากขึ ้น20
     ี
             จากการศึกษา ความคิดเห็นของผู้ลงทะเบียนเรี ยนทางอินเทอร์ เน็ต ที่มี ตอเว็บไซต์ของ
                                                                                            ่
สถาบัน กศน. ภาคกลาง ปี 2548 21 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้ อยละ 64.3 มีความต้ องการบอกรั บ
เป็ นสมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล ถ้ าเว็บไซต์ของ สถาบัน กศน . ภาคกลาง จั ดให้ มีบริการจดหมาย
เวียนทางอีเมล
             ดังนัน เพื่อเป็ นการพัฒนาการจัดการศึกษาทางไกลผ่านอินเทอร์ เน็ตของสถาบัน กศน . ภาค
                  ้
กลาง ให้ มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ ้น สถาบัน กศน . ภาคกลาง จึงได้ พฒนาระบบจดหมายเวียนทาง
                                                                           ั
อีเมล ขึ ้น เพื่อให้ สามารถสนองความต้ องการของผู้เรี ยนที่ประ สงค์จะรับข่าวสารความรู้ทางอีเมล ซึง          ่
เป็ นบริการทางอินเทอร์ เน็ตที่มีผ้ ใช้ มากที่สด 22 อีกทังยังเป็ นการเพิ่มโอกาสการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตให้ แก่
                                      ู       ุ         ้
ผู้เรี ยนของ สถาบัน กศน . ภาคกลาง ให้ สามารถเรี ย นรู้ได้ ด้วยตนเอง ในเวลา และสถานที่ ที่เหมาะสม
กับแต่ละบุคคล อันเป็ น ส่วนหนึงของการเสริมสร้ างสังคมแห่งการเรี ยนรู้ ส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้ด้วย
                                    ่
ตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต                      สมตาม
เจตนารมย์ของพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ ที่มงเน้ นให้ การจัดการศึกษาเป็ นไปเพื่อการเ รี ยนรู้
                                  ิ                       ุ่
ด้ วยตนเองอย่างต่อเนื่อง 23 และสอดคล้ องกับนิยามการศึกษาตลอดชีวิตของพระราชบัญญัตนี ้ ที่ระบุ      ิ


              16
                  Jakob Nielsen, ‚Email Newsletters Pick Up Where Websites Leave Off,‛ Jakob Nielsen’s Alertbox, 30 Sept. 2002, Nielsen
Norman Group, 25 Nov. 2006 <http://www.useit.com/alertbox/20020930.html>.
               17
                  ‚Press,‛ Bredin Business Information, 6 Mar. 2007, Bredin Business Information, Inc., Cambridge, Massachusetts, 20 Nov. 2007
<http://www.bbionline.com/press_0307.htm>.
               18
                  Elkafi Hassini, ‚Student-Instructor Communication: The Role of Email,‛ ERIC:Education Resources Center, the U.S. Department
of Education, 18 Nov. 2007 <http://www.eric.ed.gov/ERICWebPortal/Home.portal;jsessionid=H1xK2g1ThCYDwygx1jnJ
51glB2JyHCpQyKynB17Rx5kmgM26nQ83!792267666?_nfpb=true&ERICExtSearch_SearchValue_0=email&ERICExtSearch_SearchType_0=kw&_
pageLabel=ERICSearchResult&newSearch=true&rnd=1195356426861&searchtype=keyword>.
               19
                  Hui-Fang Shang, ‚An Exploratory Study of E-Mail Application on FL Writing Performance,‛ ERIC:Education Resources Center.
the U.S. Department of Education, 18 Nov. 2007 <http://www.eric.ed.gov/ERICWebPortal/Home.portal;jsessionid=H
1xK2g1ThCYDwygx1jnJ51glB2JyHCpQyKynB17Rx5kmgM26nQ83!792267666?_nfpb=true&ERICExtSearch_SearchValue_0=email&ERICExtSearc
h_SearchType_0=kw&_pageLabel=ERICSearchResult&newSearch=true&rnd=1195356426861&searchtype=keyword>.
               20
                  ‚The 2007 Email Marketing Survey: Looking Forward,‛ Datran Media, 2007, Datran Media Corp., New York, 20 Nov. 2007
<http://success.datranmedia.com/research/dec06survey.php>.
              21
                ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง, รายงานการศึกษาความคิดเห็นของผู้ลงทะเบียนเรียนทางอินเทอร์ เน็ตที่มีต่อเว็บไซต์
ของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง ปี 2548 (ราชบุรี: โรงพิมพ์ศนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง, 2548) 77.
                                                              ู
             22
                ศรี ศกดิ์ จามรมาร.
                     ั
             23
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 6.
-5-

ว่า การศึกษาตล อดชีวิตเป็ นการจัดการศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้ สามารถพัฒนาคุณภาพชี วิตได้ อย่างต่อเนื่อง
ตลอดชีวิต24
            ผลที่ได้ รับจากการวิจยครังนี ้ จะได้ ระบบ จดหมายเวียน ทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน
                                 ั ้
กศน. ภาคกลาง ทราบอัตราการคลิกการเชื่อมโยง ทราบลักษณะและการใช้ จดหมายเวียนทางอีเมล
ของสมาชิก จดหมายเวียนทางอีเมล ตลอดจนทราบความคิดเห็น ของสมาชิกจดหมายเวียนทาง อีเมล
ต่อจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน . ภาคกลาง อันจะเป็ นแนวทางในการ พัฒนา
คุณภาพ การจัดการศึกษาทางไกล ของสถาบัน กศน . ภาคกลาง ให้ มีประสิทธิภาพเพิ่มมาก ยิ่ง ขึ ้น
อีกทังยังเป็ นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ผ้ เู รี ยน ให้ สามารถศึกษาด้ วยตนเอง ในเวลา และสถานที่
      ้
ที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคล


1.2 ปั ญหาของการวิจัย


             จากการศึกษาความคิดเห็นของผู้ลงทะเบียนเรี ยนทางอินเทอร์ เน็ต ต่อเว็บไซต์ของ สถาบัน
กศน. ภาคกลาง ปี 2548 25 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้ อยละ 64.3 มีความต้ องการบอกรับเป็ น
สมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล ของ สถาบัน กศน. ภาคกลาง แต่เว็บไซต์ของสถาบัน กศน. ภาคกลาง
ไม่มีระบบให้ บริการส่งจดหมายเวียน ทางอีเมล จึงไม่สามารถสนองความต้ องการของ ผู้เรี ยนได้ ทาให้
ผู้เรี ยน ไม่ ได้ รับโอกาสในการเรี ยนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตผ่านระบบอินเทอร์ เน็ตอย่าง เต็มที่
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขาดโอกาสการเรี ยนรู้ด้วยตนเองผ่าน ระบบอีเมล ซึงเป็ น บริการบนอินเทอร์ เน็ตที่ มี
                                                                      ่
ผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตนิยมมากที่สด26
                               ุ


1.3 ข้ อคาถามของการวิจัย


         1. ระบบจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง เป็ นอย่างไร



          24
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2.
          25
             ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง 77.
          26
             ศรี ศกดิ์ จามรมาร.
                  ั
-6-

        2. อัตราการคลิกการเชื่อมโยงในจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน    .
ภาคกลาง เป็ นอย่างไร
        3. คุณลักษณะของสมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล เป็ นอย่างไร
        4. ลักษณะการใช้ อีเมลของสมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล เป็ นอย่างไร
        5. ความพึงพอใจและความคิดเห็นของสมาชิกที่มีตอจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์
                                                   ่
สถาบัน กศน. ภาคกลาง เป็ นอย่างไร


1.4 วัตถุประสงค์ ของการวิจัย


          ผู้วิจยได้ กาหนดวัตถุประสงค์ของการวิจยในครังนี ้ ดังนี ้
                ั                              ั     ้
          1. เพื่อพัฒนาระบบการส่ง จดหมายเวียน ทาง อีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน         .
ภาคกลาง
        2. เพื่อศึกษาอัตราการคลิกการเชื่อมโยงใน จดหมายเวียนทาง อีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน
กศน. ภาคกลาง
        3. เพื่อศึกษาคุณลักษณะของสมาชิก และการใช้ อีเมลของสมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล
        4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของสมาชิกต่อจดหมายเวียน ทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน
กศน. ภาคกลาง
        5. เพื่อศึกษา ความคิดเห็นของสมาชิกต่อจดหมายเวียน ทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน
กศน. ภาคกลาง


1.5 ขันตอนการวิจัย
      ้

        1. ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับอีเมลและจดหมายเวียนทางอีเมล
        2. ศึกษาลักษณะจดหมายเวียนทางอีเมลเชิงพาณิชย์
        3. พัฒนาระบบจดหมายเวียน ทาง อีเมล สาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน . ภาคกลาง ตาม
แนวทางของ SDLC (Software Development Life Cycle)
        4. ศึกษาอัตราการคลิกการเชื่อมโยงในจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน.
ภาคกลาง
-7-

         5. ศึกษาคุณลักษณะของสมาชิก ลักษณะการใช้ อีเมลของสมาชิก ความพึงพอใจและความ
คิดเห็นของสมาชิก ที่มี ต่อ ระบบ จดหมายเวียน ทาง อีเมล สาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน .
ภาคกลาง
         6. ปรับปรุงแก้ ไขระบบจดหมายเวียนทางอีเมล สาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน. ภาคกลาง


1.6 ประโยชน์ ท่ คาดว่ าจะได้ รับ
                ี


           1. เว็บไซต์ สถาบัน กศน . ภาคกลาง มีระบบ การส่ง จดหมายเวียน ทางอีเมล เพิ่มขึ ้นอีก
จานวน 1 ระบบ
           2. เพิ่มช่องทางการจัดการศึกษาทางไกล ให้ มีรูปแบบและวิธีการที่หลากหลายเพิ่มขึ ้น
           3. เป็ นการพัฒนา การให้ บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ผ่านทางอินเทอร์ เน็ต ของสถาบัน
กศน. ภาคกลาง ให้ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ ้น สามารถให้ บริการการศึกษา ผ่านทางอีเมล แก่ผ้ เู รี ยนได้
           4. ผู้เรี ยนของสถาบัน กศน. ภาคกลาง ได้ รับโอกาสการเรี ยนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพิ่ม
มากขึ ้น สามารถศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ในเวลาและสถานที่ที่เหมาะสมแก่ตนเองเพิ่มมากขึ ้น
           5. เป็ นส่วนหนึงในการเสริมสร้ างสังคมแห่งการเรี ยนรู้ ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้ด้วยตนเองอย่าง
                           ่
ต่อเนื่อง ให้ สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนได้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
           6. สามารถนาระบบจดหมายเวียนทาง อีเมล ไปประยุกต์ใช้ ในด้ านอื่น ๆ ได้ เช่น การส่ง
ข่าวสารให้ แก่สมาชิกทางอินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น


1.7 ข้ อตกลงเบืองต้ น
               ้


            1. กลุมตัวอย่างตอบแบบสอบถามด้ วยความจริงใจ
                  ่
            2. ค่าคะแนนของข้ อความในมาตรวัดของลิเคิร์ทอยูในมาตรอันตรภาค27
                                                         ่




             27
                ล้ วน สายยศ และอังคณา สายยศ, เทคนิคการวิจยทางการศึกษา, พิมพ์ครังที่ 5 (กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น, 2538) 184
                                                                 ั                     ้
และ สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ , รศ. ดร., "มโนมติที่คลาดเคลื่อนในทางวิจยการศึกษา", secondary.kku.ac.th, 14 ส.ค. 2545, ภาควิชาการ
                                                                   ั
มัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น , 11 ม.ค. 2550 <http://secondary.kku.ac.th/research/res02/miscon/ miscon21.htm>.
-8-

1.8 นิยามศัพท์ เฉพาะ


การคลิกการเชื่อมโยง หมายถึง การคลิกการเชื่อมโยง (Link) ในจดหมายเวียนทางอีเมล ซึงส่งโดย      ่
                     ระบบจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน . ภาคกลาง โดยสมาชิก
                     จดหมายเวียนทางอีเมล เพื่อเปิ ดอ่านบทเรี ยน
จดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน . ภาคกลาง หมายถึง จดหมายเวียนทางอีเมล ที่
                     ส่งจากเว็บไซต์ สถาบัน กศน . ภาคกลางไปยังอีเมลของผู้เรี ยน ที่สมัครเป็ นสมาชิก
                     บอกรับจดหมายเวียนทางอีเมล ในจดหมายเวียนประกอบด้ วยข้ อความและการ
                     เชื่อมโยงไปยังบทเรี ยน และการเชื่อมโยงการยกเลิกสมาชิก
ฐานข้ อมูลผู้เรี ยน หมายถึง ตาราง student ในฐานข้ อมูล MySQL ซึงอยูในระบบ LMS ของเว็บไซต์
                                                                          ่ ่
                     สถาบัน กศน. ภาคกลาง
บทเรี ยน หมายถึง บทเรี ยนในรูปแบบไฟล์ PDF บนเว็บไซต์ของ สถาบัน กศน . ภาคกลาง ซึงสามารถ    ่
                     เปิ ดอ่านได้ โดยการคลิกการเชื่อมโยงจากจดหมายเวียนทางอีเมลที่จดส่งโดยระบบ
                                                                                    ั
                     จดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง
ผู้ใช้ เว็บ หมายถึง ผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตที่เปิ ดเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง
ผู้ดแลเว็บ หมายถึง บุคลากรของสถาบัน กศน. ภาคกลางที่ดแลเว็บไซต์ http://www.crnfe.ac.th
     ู                                                            ู
ผู้เรี ยน หมายถึง ผู้ที่ลงทะเบียนเรี ยน กับเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง
เว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง หมายถึง เว็บไซต์ http://www.crnfe.ac.th
เว็บเมล หมายถึง เว็บไซต์ที่ให้ บริการอีเมล เช่น http://www.hotmail.com เป็ นต้ น
สถาบัน กศน . ภาคกลาง หมายถึง สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
                     ภาคกลาง ซึงเปลี่ยนชื่อมาจาก ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนภาคกลาง ตามประกาศ
                                     ่
                     ใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 60 ง วันที่ 25 มีนาคม 2551
สมาชิก, สมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล หมายถึง ผู้เรี ยนที่บอกรับเป็ นสมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล
                     สาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง
อัตราการคลิกการเชื่อมโยง หมายถึง ร้ อยละการคลิกการเชื่อมโยง ซึงคานวณจากสูตร ต่อไปนี ้
                                                                        ่
                                จานวนจดหมายเวียนทางอีเมลที่ถกคลิกการเชื่อมโยง
                                                            ู
   อัตราการคลิกการเชื่อมโยง =                                                   X 100
                                จานวนจดหมายเวียนทางอีเมลที่ระบบส่งไปทังหมด
                                                                      ้
อีเมลของสมาชิก หมายถึง อีเมลของสมาชิกบนเว็บเมล
บทที่ 2
                                  วรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง
         การวิจยเรื่ อง การ พัฒนาระบบจดหมายเวียนทาง อีเมล สาหรับ เว็บไซต์ สถาบัน กศน .
                   ั
ภาคกลาง ผู้วิจยได้ ศกษาค้ นคว้ าเอกสาร และงานวิจยที่เกี่ยวข้ อง จากสื่อต่าง ๆ ทังสื่อเอกสารและสื่อ
               ั ึ                                       ั                      ้
อิเล็กทรอนิกส์ ที่เกี่ยวข้ อง โดยมีสาระขอบข่าย ดังนี ้
         2.1 อีเมลและจดหมายเวียนทางอีเมล
                             2.1.1 อีเมลคืออะไร
                             2.1.2 ข้ อดีของอีเมล
                             2.1.3 ข้ อจากัดของอีเมล
                             2.1.4 อีเมลขยะ หรื อ Spam
                             2.1.5 การส่งจดหมายเวียนทางอีเมล
                             2.1.6 รูปแบบจดหมายเวียนทางอีเมล
                             2.1.7 ข้ อดีและข้ อจากัดของรูปแบบจดหมายเวียนทางอีเมลที่เป็ นข้ อความ
                                      ธรรมดา
                             2.1.8 ข้ อดีและข้ อจากัดของรูปแบบจดหมายเวียนทางอีเมลที่เป็ น HTML
                             2.1.9 หลักการเขียนจดหมายเวียนทางอีเมล
                             2.1.10 อัตราการเปิ ด (Open rate) และอัตราการคลิกการเชื่อมโยง
                                       (Click through rate)
                             2.1.11 วันในรอบสัปดาห์ที่สมาชิกใช้ จดหมายเวียนทางอีเมล
                             2.1.12 อุปสรรคของจดหมายเวียนทางอีเมล
                             2.1.13 เว็บไซต์ที่ให้ บริการจดหมายเวียนทางอีเมล
         2.2 จดหมายเวียนทางอีเมลเชิงพาณิชย์
                             2.2.1 ระบบจดหมายเวียนทางอีเมล ของ Tornado Email
                             2.2.2 ระบบจดหมายเวียนทางอีเมล ของ Savvy
                             2.2.3 ระบบจดหมายเวียนทางอีเมล ของ PG Newsletter Software
                             2.2.4 ระบบจดหมายเวียนทางอีเมลของ Arrow Email Newsletter
                                   System
-10-

                            2.2.5 การวิเคราะห์ระบบจดหมายเวียนทางอีเมล
         2.3     การพัฒนาซอฟต์แวร์
                            2.3.1 ตัวแบบการพัฒนาซอฟต์แวร์
                            2.3.2 UML (Unified Modeling Language) และ Use case
                            2.3.3 Data Flow Diagram
                            2.3.4 การทดสอบซอฟต์แวร์
                            2.3.5 เครื่ องมือในการพัฒนาโปรแกรม
         2.4     ความพึงพอใจ
                            2.4.1 ความหมาย
                            2.4.2 การประเมินความพึงพอใจจดหมายเวียนทางอีเมล
         2.5     เว็บไซต์ของสถาบัน กศน. ภาคกลาง
                            2.5.1 ประวัตยอของสถาบัน กศน. ภาคกลาง
                                               ิ่
                            2.5.2 พัฒนาการของเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง
                            2.5.3 ระบบการจัดการเรี ยนการสอนบนเว็บไซต์      ของ สถาบัน กศน .
                                    ภาคกลาง
                            2.5.4 เนื ้อหาและรายวิชาบนเว็บไซต์
         2.6     งานวิจยที่เกี่ยวข้ อง
                       ั
                            2.6.1 งานวิจยในประเทศ
                                           ั
                            2.6.2 งานวิจยต่างประเทศ
                                             ั

2.1 อีเมลและจดหมายเวียนทางอีเมล

          2.1.1 อีเมลคืออะไร
          จากการศึกษาคาจากัดความของ "อีเมล " บนอินเทอร์ เน็ต พบว่าเว็บไซต์ หลายแห่ง
ให้ ความหมายของคา ว่า อีเมล สอดคล้ องกัน คือ Marriam-Webster’s Online Dictionary28
ให้ คาจากัดความของอีเมล 2 ความหมายคือ ความหมายแรกหมายถึง วิธีการ หรื อ ระบบ การส่ง
ข่าวสารทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างคอมพิวเตอร์ และอีกความหมายหนึง หมายถึงตัวข่าวสารที่ รับหรื อ
                                                            ่
ส่งผ่านระบบอีเมล


         28
              ‚e-mail,‛ Marriam-Webster’s Online Dictionary, 24 Nov. 2006 <http://www.m-w.com/cgi-bin/dictionary?va=e-mail>.
-11-

            เว็บไซต์ The Free Dictionary by Farlex29 และ Answers.com30 ให้ คาจากัดความของ
อีเมลไว้ สอดคล้ องกัน โดยกล่าวว่า อีเมลเป็ นระบบการรับ- ส่งข่าวสารทางอิเล็กทรอนิกส์บนเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ และอีกความหมายหนึงหมายถึงข่าวสารที่สงผ่านระบบนี ้
                                      ่                     ่
            Pcmac.com31 ให้ คาจากัดความของอีเมลว่า เป็ นการส่ง ข่าวสารข้ อความตัวอักษร (Text
messages) ผ่านทางเครื อข่าย ผู้สงสามารถส่ง ไปยัง รายบุคคล หรื อคนจานวนมากได้ อีเมล
                                           ่
จะส่งไปยังกล่องจดหมายจาลอง (Simulated mailbox) ของ Server ในเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หรื อใน
เครื่ องคอมพิวเตอร์ และเก็บไว้ จนกว่าจะถูกเปิ ดอ่าน หรื อถูกลบทิ ้ง
            สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี 32 กล่าวว่า อีเมล เป็ นบริการในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่
สาคัญที่ มีผ้ นิยมใช้ บริการกันมากที่สด สามารถส่งตัวอักษร ข้ อความ แฟมข้ อมูล ภาพ เสียง ผ่าน
              ู                          ุ                               ้
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ไปยังผู้รับ อาจจะเป็ น คนเดียว หรื อกลุมคน ช่วยให้ สามารถติดต่อสื่อสาร
                                                                     ่
ระหว่างกันได้ ทวโลก มีความสะดวก รวดเร็ว และสามารถสื่อสารถึงกันได้ ตลอดเวลาโดยไม่ต้อง
                   ั่
คานึงถึงว่าผู้รับจะอยูที่ไหน จะใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ อยูหรื อไม่
                          ่                               ่
            เว็บไซต์ SearchMobileComputing.com33 กล่าวว่า อีเมลเป็ นการแลกเปลี่ยนข่าวสารใน
คอมพิวเตอร์ ข่าวสารมักจะเก็บในรูป Ascii นอกจากนี ้ยังอาจจะเก็บในรูปแบบไฟล์ภาพ เสียง หรื อ
แนบไฟล์ชนิด Binary และจัดส่งโดยใช้ วิธี Streaming อีเมลเป็ นบริการอินเทอร์ เน็ตอย่างแรก และ
ยังคงได้ รับความนิยมสูงสุด การจราจรบนอินเท อร์ เน็ตที่มากที่สดคืออีเมล อีเมลสามารถส่งไปยัง
                                                                   ุ
บุคคลคนเดียว หรื อส่งไปหาบุคคลหลาย ๆ คนในคราวเดียวกัน นอกจากนี ้ ยังสามารถบอกรับข่าวสาร
ทางอีเมลเป็ นประจา โดยสมัครเป็ นสมาชิกข่าวสารทางอีเมลได้ อีกด้ วย
            ศรี ศกดิ์ จามรมาร 34 กล่าวว่าอีเมลเป็ นบริการหนึงที่มีบนเว็บไซต์ ต่าง ๆ แม้ วา อีเมลจะเป็ น
                 ั                                              ่                         ่
ของโบราณเริ่มใช้ ตงแต่อินเทอร์ เน็ตเริ่มเกิด แต่อีเมลยังเป็ นการใช้ อินเทอร์ เน็ตที่มากที่สด มีเว็บไซต์
                       ั้                                                                   ุ
จานวนมาก ที่ทาขึ ้นเพื่อให้ บริการอีเมลโดยเฉพาะ



               29
                ‚e-mail,‛ The Free Dictionary by Farlex. Farlex,Inc, 24 Nov. 2006 <http://www.thefreedictionary.com/e-mail>.
               30
                ‛ Results for e-mail,‛ Answer.com, 24 Nov. 2006 <http://www.answers.com/topic/e-mail>.
             31
                ‚email,‛ Encyclopedia, Pcmac.com, 24 Nov. 2006 <http://www.pcmag.com/encyclopedia_term/0,2542,t=email&i=
42233,00.asp>.
               32
                    ‚ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail),‛ สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. 24 ต.ค. 2550 <http://www.skn.ac.th/a_cd/internet/
email.html>.
               33
                 ‚E-mail,‛ SearchMobileComputing.com, 24 Nov. 2006 <http://searchmobilecomputing.techtarget.com/sDefinition/
0,,sid40_gci212051,00.html>.
               34
                    ศรี ศกดิ์ จามรมาร.
                         ั
-12-

             Tschabitscher35 ได้ รวบรวมเว็บไซต์ 10 อันดับแรกที่ให้ บริการ อีเมล ฟรี ได้ แก่ Gmail
Inbox.com Fast Mail Guest Account Yahoo Mail AIM Mail Goowy Mail MSN Hotmail My Way
Mail Care2 E-mail และ Lycos Mail สาหรับเว็บไซต์ของไทยที่ให้ บริการ อีเมลโดยเฉพาะ และเป็ นที่
นิยม อยูในลาดับที่ 1 ในการจัดอันดับสถิตเิ ว็บไซต์ไทย โดยเว็บไซต์ http://www.truehits.net36 ของ
           ่
สานักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ ในประเภทอินเทอร์ เน็ต ปี 2548 ได้ แก่ thaimail.com
นอกจากนี ้ พบว่าเว็บไซต์หลายแห่ง 37 ระบุวา Hotmail เป็ นเว็บไซต์ที่ให้ บริการ อีเมลฟรี ดีที่ได้ รับความ
                                               ่
นิยมมากที่สดในโลก
                ุ
             Pfarr38 กล่าวว่า คนจานวนมากสมัคร อีเมลหลายบัญชี บางคนมี อีเมลเพื่อใช้ รับส่งข่าวสาร
ที่เกี่ยวกับงานที่ทาอยูโดยเฉพาะ และมีอีเมลอีกบัญชีหนึงสาหรับใช้ สวนตัว Nielsen39 พบว่าโดยเฉลี่ย
                           ่                                ่       ่
ผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตมีบญชีอีเมล คนละ 3.1 บัญชี แต่ละบัญชี มีจดประสงค์ในการใช้ งานต่างกัน อย่างไร
                       ั                                      ุ
ก็ตาม Pfarr40 กล่าวว่า จุดอ่อนของการมีหลายบัญชี คือ ต้ องเข้ าไปดู แลและใช้ งานเพื่อไม่ให้ อีเมล
ขาดอายุการใช้ งาน ซึงต้ องใช้ เวลามาก
                         ่
             โดยสรุป อีเมล เป็ นระบบการส่งข่าวสารข้ อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์          ผ่านทางเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ ไปยัง Server หรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ บคคล และยังหมายถึงข่าวสารที่สงผ่านโดยวิธี
                                                        ุ                               ่
ดังกล่าวอีกด้ วย ตัวข่าวสารมักจะส่งในรูปของรหัสแอสกี ้ ซึง อาจจะมีไฟล์ กราฟิ ก หรื อ ไฟล์อื่น ๆ
                                                                ่
แนบไปด้ วย อีเมลเป็ นบริการทางอินเทอร์ เน็ต อย่าง แรกและยัง คงมีคนใช้ มากที่สด อีเมลนอกจาก
                                                                                   ุ
จะส่งไปเป็ นรายบุคคลแล้ ว ยังสามารถส่ง ให้ แก่กลุมคนได้ นอกจากนี ้ยัง สามารถส่งข่าวสารทางอีเมล
                                                    ่
เป็ นประจา โดยการให้ สมัครเป็ นสมาชิกข่าวสารทางอีเมลได้ อีกด้ วย เว็บไซต์ ของไทยที่ให้ บริการอีเมล
ที่ได้ รับความนิยมสูงสุดคือ thaimail ผู้ใช้ สวนใหญ่จะมีบญชีอีเมล มากกว่า 1 บัญชี
                                             ่            ั



               35
                  Heinz Tschabitscher, ‚Top 10 Email Services,‛ About.com, About, Inc., 26 Nov. 2006 <http://email.about.com/cs/ freeemailrev
iews/tp/free_email.htm>.
               36
                    ‚Truehits 2005 Awards,‛ สานักบริ การเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (สบทร), 26 Nov. 2006 <http://truehits.net/ awards2005/>.
               37
                    ‚Links,‛ 16 ม.ค. 2551<http://www.student.chula.ac.th/~48370768/Link.htm>; ‚ ฟรี อีเมล,‛ องค์การบริ หารส่วนตาบลเขวา
สินริ นทร์ ตาบลเขวาสินรินทร์ , 16 ม.ค. 2551 <http://www.geocities.com/kwao_sinnarin/ email.htm>; ‚พรธมลิงค์,‛ 16 ม.ค. 2551
<http://www.oc.sru.ac.th/rPlum/?o=0&c=56>; ‚Search Engine $ Freeware,‛ เสมาทองดอทคอม, 16 ม.ค. 2551 <http://www. semathong.com/
index.php?lay=show&ac=article&Id=200551>.
              38
                  Walter Pfarr, "Email Accounts: Why More Than One," EzineArticles, 27 Dec. 2004, 3 Nov. 2007 <http://ezinearticles.com/ ?Email-
Accounts:-Why-More-Than-One&id=7678>.
              39
                  Jakob Nielsen, ‚Email Newsletters: Surviving Inbox Congestion,‛ Jakob Nielsen's Alertbox, 12 Jun. 2006, 3 Nov. 2007
<http://www.useit.com/ alertbox/newsletters.html>.
              40
                  Pfarr.
-13-

          2.1.2 ข้ อดีของอีเมล
             เว็บไซต์ Bartleby.com41 ได้ กล่าวถึงจุ ดเด่นของ อีเมล ว่าเป็ น การสื่อสารในลักษณะ
Asynchronous สามารถสื่อสารได้ รวดเร็ว และสามารถสื่อสารได้ ในหลายรูปแบบ กล่าวคือ ผู้สงและ                  ่
ผู้รับข่าวสาร ไม่จาเป็ นต้ องอยูพร้ อมกันในขณะสื่อสารเหมือนการสื่อสารโดยทัวไป ซึงทังผู้รับและผู้สง
                                    ่                                                  ่       ่ ้          ่
สารจาเป็ นต้ องอยูพร้ อมกันจึงจะสามารถสื่อสารกันได้ อีกทังการส่ง อีเมลสามารถทาได้ รวดเร็ว โดยใช้
                      ่                                                ้
เวลาเป็ นหน่วยวินาทีเท่านันในการ ส่งข่าวสารเชื่อมโยงกัน ทัวทุกมุมโลก ทาให้ คนที่อยูหางไกลกัน
                                  ้                                        ่                          ่ ่
ทางานด้ วยกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และนอกจากนี ้ ยังสามารถส่งได้ หลายรูปแบบ เช่น ส่งข่าวสาร
รายบุคคล หรื อ จัดส่ง เป็ นกลุมในคราวเดียวกัน โดยไม่จาเป็ นต้ องทาสาเนาส่งไปยังสมาชิกเป็ น
                                        ่
รายบุคคล ดังนันจึงเป็ นการสื่อสารที่รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ เช่น การคลิกเมาส์ 1 ครัง สามารถส่ง
                   ้                                                                                ้
เอกสารทังเล่มไปยังบุคคลต่าง ๆ จานวนมากได้ จุดเด่นของอีเมลอีกประการหนึงคือ เป็ นรูปแบบหนึง
           ้                                                                             ่                    ่
ในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต 42 นอกเหนือไปจากการเรี ยนการสอนในห้ องเรี ยน อีกทังยังสามารถใช้         ้
สาหรับฝึ กทักษะการเขียน มีเวลาเรี ยนไม่จากัด ตลอด 24 ชัวโมง ส่งงานง่าย สามารถเข้ าถึงข่าวสาร
                                                                         ่
ได้ ทวโลก ในทางการค้ า McDonald43 กล่าวว่า อีเมลสามารถให้ ผลตอบกลับทางการลงทุน (ROI:
      ั่
Return On Investment) ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
             Wikipedia44 สรุปข้ อดีของอีเมล ดังนี ้
                     1. เสียค่าใช้ จายน้ อยกว่าการใช้ สื่ออย่างอื่น
                                      ่
                     2. ถ้ าทาอย่างเหมาะสม จะสามารถให้ ผลตอบแทนสูง คุ้มการลงทุน
                     3. มีความรวดเร็ว กว่าการส่งทางไปรษณีย์ปกติ
                     4. เป็ นการส่งข่าวสารไปยังผู้รับโดยตรง ซึ่งต่างกับเว็บไซต์ที่รอให้ ผ้ ใช้ เข้ าไปค้ น หา
                                                                                                ู
ข้ อมูล
                     5. สามารถติดตามได้ วามีการใช้ อย่างไร โดยใช้ Web bug, Bounce message
                                                ่
หรื อ Click-through เป็ นต้ น
                     7. สามารถเข้ าถึงคนเป็ นจานวนมากได้ โดยให้ สมัครรับจดหมายเวียนทางอีเมล
                     8. ผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตส่วนใหญ่เมื่อเปิ ดเครื่ องแล้ ว มักจะตรวจอีเมล เป็ นสิ่งแรก

               41
                   ‚Email,‛ The American Heritage® Book of English Usage, 24 Nov. 2006 <http://www.bartleby.com/64/9.html>.
               42
                   Ellen Strenski, ‚Using E-Mail as a Learning Tool: Advantages of email for students,‛ University of California, Irvine,
28 Jul. 1988, UCI, 25 Nov. 2006 <http://eee.uci.edu/faculty/strenski/summer1.html>.
                43
                   Loren McDonald, ‚Using Email Marketing to Enhance the Success of Trade Shows,‛ EmailLabs, 11 Oct. 2002, Lyris, Inc.,
7 Dec. 2006 <http://www.emaillabs.com/email_marketing_articles/article_emailandtradeshows.html>.
                44
                   ‚E-mail marketing,‛ Wikipedia:the Free Encyclopedia, 4 Dec. 2006, the Wikimedia Foundation, Inc., 5 Dec. 2006
<http://en.wikipedia.org/wiki/E-mail_marketing>.
-14-

                   9. สามารถสร้ างปฏิสมพันธ์ และนาไปสูขาวสารอื่นได้ โดยอัตโนมัติ
                                       ั                 ่่
           ดังนัน จึงอาจกล่าวได้ วา อีเมลมีข้อดี คือช่วยให้ เกิดการสื่อสารที่รวดเร็ว ผู้สงและผู้รับไม่
                 ้                ่                                                        ่
จาเป็ นต้ องอยูพร้ อ มกัน เพราะสามารถสื่อสารใน ลักษณะ Asynchronous เสียค่าใช้ จายต่า สามารถ
               ่                                                                         ่
ส่งถึงคนจานวนมาก และสามารถนามาใช้ จดการศึกษาตลอดชีวิต ได้ อีกด้ วย
                                          ั

             2.1.3 ข้ อจากัดของอีเมล
             การนาอีเมลไปใช้ ในงานเฉพาะด้ าน อาจมี ข้อจากัดตามลักษณะงาน เช่น เมื่อนาไป ใช้ ใน
การให้ บริการให้ คาปรึกษา Mulhauser45 พบว่า การใช้ อีเมลไม่สามารถเห็นหน้ ากันได้ ไม่สามารถ
สังเกตคาพูด อาการกริยา และโดยเฉพาะการที่ผ้ ูสื่อสารและผู้รับสารไม่ อยูพร้ อมกัน ในการรับส่ง อีเมล
                                                                              ่
ทาให้ ไม่สะดวกใน การนัดหมาย หรื อ ได้ รับคาตอบ ล่าช้ า ดังนัน ถ้ าเป็ นเรื่ องเร่งด่วนจึง
                                                                        ้
ไม่สามารถใช้ อีเมลได้ และนอกจากนี ้ ยังเป็ นการเพิ่ม ความยุงยากซึงมีสาเหตุ มาจากอินเทอร์ เน็ต เช่น
                                                            ่     ่
ปั ญหาด้ านฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์ แวร์ และการเชื่อมต่อ ซึงบางครังอาจจะทาให้ การให้ คาปรึกษาไม่อาจ
                                                      ่       ้
กระทาได้ นอกจากนี ้ Strenski46 กล่าวถึงการใช้ อีเมล กับนักเรี ยนว่า อีเมล มีความไม่ ยุตธรรมทาง
                                                                                          ิ
เศรษฐกิจในด้ าน ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์ แวร์ และ ด้ านผู้ให้ บริการทางอินเทอร์ เน็ต (ISP หรื อ Internet
Service Provider) นอกจากนี ้ นักเรี ยนยังต้ องมีความรู้ และทักษะการใช้ เทคโนโลยี อีกด้ วย และ
โดยเฉพาะข่าวสารจากอีเมลส่วนใหญ่ไม่มีคณค่า ส่วนใหญ่เป็ นอีเมลขยะ
                                            ุ
             ปั ญหาหลักของอีเมลคือเรื่ อง จดหมายขยะ หรื อ Spam47 ที่ถกส่งไปยังกล่องจดหมาย โดย
                                                                          ู
ไม่ได้ รับการเชื ้อเชิญ ในเดือนมิถนายน 2549 มีรายงาน จาก IronPort48 ว่า มีอีเมลขยะถูกส่งถึง
                                   ุ
55,000,000,000 (ห้ าหมื่นห้ าพันล้ าน) ฉบับต่อวัน จานวนนี ้ มากกว่า ร้ อยละ 12 เป็ นอีเมลขยะที่สงใน
                                                                                                ่
ลักษณะภาพ กราฟิ ก ซึงสามารถหลบรอดการกรองของตัวกรองใน อีเมล ได้ ถึง ร้ อยละ 78 และ
                           ่
ในปั จจุบน พบว่า มีวิธีการหลบหลีกการกรองเพื่อให้ อีเมล ขยะเข้ าถึงเปาหมายได้ มากขึ ้น 49 เช่น
           ั                                                                ้

              45
                   Greg Mulhauser, ‚Disadvantages of Counselling or Therapy by Email,‛ CounsellingResource.com, 24 Nov. 2006.
25 Nov. 2006 <http://counsellingresource.com/counselling-service/online-disadvantages.html>.
              46
                   Ellen Strenski, ‚Using E-Mail as a Learning Tool: Disadvantages of email for students,‛ University of California, Irvine.
28 Jul. 1988, 25 Nov. 2006 <http://eee.uci.edu/faculty/strenski/summer2.html>.
                47
                   Chris Pirillo, ‚Why is RSS Important?‛ Lockergnome, 1 Dec. 2006 <http://channels.lockergnome.com/rss/
resources/articles/about.phtml>; Knight, Christopher. ‚22 Reasons Why Email Is not Dead.‛ Emailuniverse.com. 21 May 2004. Ezine Publishing. 1
Dec. 2006 <http://emailuniverse.com/ezine-tips/?22-Reasons-Why-Email-Is-Not-Dead&id=1060>; ‚E-mail spam.‛ Wikipedia:the Free Encyclopedia.
29 Nov. 2006. The Wikimedia Foundation, Inc. 1 Dec. 2006 <http://en.wikipedia.org/wiki/E-mail_spam>.
                48
                   ‚Spammers Continue Innovation: IronPort Study Shows Image-based Spam, Hit & Run, and Increased Volumes Latest Threat to
Your Inbox,‛ Ironport.com, IronPort Systems, Inc., 1 Dec. 2006 <http://www.ironport.com/company/ironport_pr_2006-06-28.html>.
                49
                    ‚Spammers Continue Innovation: IronPort Study Shows Image-based Spam, Hit & Run, and Increased Volumes Latest Threat to
Your Inbox.‛
-15-

มีการหมุนเวียนใช้ URL ในการส่งอีเมลขยะ โดยแอบใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ อื่น เป็ นฐานในการส่ง อีเมล
ขยะ โดยใช้ IP address และ URL ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ นน ๆ และจะหมุนเวียนไปยังเครื่ อง
                                                                         ั้
คอมพิวเตอร์ อื่น ๆ IronPort รายงานว่า ระยะเวลาในการใช้ URL หนึง ๆ เพื่อส่ง อีเมลขยะในเดือน
                                                                                ่
มิถนายน 2549 ลดลงเหลือ 4 ชัวโมง จาก 48 ชัวโมง ในเดือนมิถนา ยน 2548 ก่อนที่จะเปลี่ยนไปใช้
     ุ                                  ่             ่                   ุ
URL อื่น การลดเวลาลง เช่นนี ้ ทาให้ สามารถหลุดรอดจากการถูกจับได้ และการถูก ขึ ้นบัญชีดาเป็ น
อีเมลขยะ
           รัฐบาลอเมริกน ได้ ออกกฎหมาย ชื่อ CAN Spam Act ซึง เป็ นกฎหมาย เกี่ยวกับการส่ง
                             ั                                                ่
จดหมายเวียนเพื่อการค้ าทางอีเมล และกาหนดให้ จดหมายเวียนทางอีเมล มีลกษณะ ดังนี ้ 50  ั
                    1. ให้ มีข้อความบอกยกเลิกการรับจดหมายเวียนทางอีเมล ในตัวจดหมาย
                    2. ให้ มีข้อมูลที่ถกต้ องในบรรทัดหัวข้ อเรื่ อง (Subject) และส่วนหัว (Header)
                                          ู
                    3. ให้ มีที่อยูอีเมลของผู้สง
                                  ่            ่
                    4. ให้ มีปายบอกแจ้ งเตือนถ้ าเป็ นเนื ้อหาเกี่ยวกับทางเพศ
                               ้
           ทังนี ้ ยกเว้ นข้ อมูลเกี่ยวกับ ศาสนา การโฆษณาที่เ ป็ นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง หรื อความ
              ้
มันคงของชาติ
  ่
           กล่าวโดยสรุป ปั ญหาของ อีเมลได้ แก่ ปั ญหาด้ านฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และความเร็วในการ
เชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ต ปั ญหาเกี่ยวกับ อีเมล ขยะ ตลอดจนไม่เหมาะสมกับเรื่ องเร่งด่วน และการ
นัดหมาย เนื่องจากผู้รับและผู้สงข่าวไม่ได้ อยูพร้ อมกัน ณ ขณะนัน จึงอาจทาให้ การนัดหมายล่าช้ า
                                      ่          ่                     ้

          2.1.4 อีเมลขยะ หรื อ Spam
          ThaiCERT51 ให้ คาจากัดความของคาว่า จดหมายขยะ หรื อ Spam ว่า หมายถึง การส่ง
จดหมายอีเมลแต่ละฉบับไปหาคน จานวนมาก Mueller52 ให้ คาจากัดความ อีเมลขยะ ว่า เป็ น อีเมลที่
บังคับส่งไปยังอีเมลของผู้รับ โดยผู้รับไม่ต้องการ Office of the Attorney General53 เรี ยกอีเมลขยะว่า



              50
                  ‚The Can-Spam Act 2003,‛ Legalarchiver.org, 5 Dec. 2006 <http://www.legalarchiver.org/cs.htm>; ‚CAN-SPAM ACT OF 2003,‛
Wikipedia:the Free Encyclopedia, 1 Dec. 2006, the Wikimedia Foundation, Inc., 05 Dec. 2006 <http://en.wikipedia.org/wiki/CAN-
SPAM_Act_of_2003>.
              51
                   ‚mail spam/bomb คืออะไร,‛ ThaiCERT: Thai Computer Emergency Response Team (ศูนย์ประสานงานการรักษาความ
ปลอดภัยคอมพิวเตอร์ ประเทศไทย, 7 ธ.ค. 2549 <http://www.thaicert.nectec.or.th/paper/email/prevention.php>.
              52
                  Scott Hazen Mueller, ‚What is spam?‛ Spam.abuse.net, Barracuda Networks, 8 Dec. 2006 <http://spam.abuse.net/
ov erview/whatisspam.shtml>.
               53
                  ‚Junk Email,‛ Washington State Office of the Attorney General, 9 Dec. 2006 <http://www.atg.wa.gov/junkemail/>.
-16-

เป็ นข่าวสารการพาณิชย์ที่ไม่ได้ รับการเชื ้อเชิญ Chang54 กล่าวว่า ผู้ใช้ อีเมลของอเมริกาจานวน 126
ล้ านคน ลดความเชื่อถือ อีเมลลง มีสาเหตุเนื่องมาจาก อีเมลขยะ ที่ เข้ าไปอยูในกล่องจดหมายจานวน
                                                                             ่
มาก ยิ่งกว่านัน ผู้ใช้ อีเมล จานวน 1 ใน 4 คน ลดการใช้ อีเมลลงเพราะอีเมลขยะ มีผ้ ใช้ กรองปองกัน
                ้                                                                    ู        ้
อีเมลขยะมากขึ ้น แต่การกรองขยะ มีผลเสีย ทาให้ อีเมลดี ๆ ไม่สามารถเข้ าไปยังกล่องจดหมาย ได้
เช่นเดียวกัน นอกจากนี ้ การมีอีเมลขยะมาก ๆ ในกล่องจดหมาย ทาให้ มองข้ ามจดหมายที่ดี Chang55
กล่าวถึงอีเมลขยะที่มีผลต่ออีเมล ดังนี ้
                    1. ผู้ใช้ อีเมล ร้ อยละ 75 มีความวิตกว่าไม่สามารถหยุดการเข้ ามาของ อีเมลขยะได้
ไม่วาจะใช้ มาตรการใด ๆ ก็ตาม
     ่
                    2. ผู้ใช้ อีเมล ร้ อยละ 70 กล่าวว่าอีเมลขยะ ทาความราคาญในการใช้ อีเมล
                    3. ผู้ใช้ อีเมล ร้ อยละ 55 กล่าวว่า อีเมล ขยะเป็ นอุปสรรคในการค้ นหา อีเมล ที่
ต้ องการ
                    4. ผู้ใช้ อีเมล จานวน 1 ใน 3 คน กล่าวว่า อีเมลร้ อยละ 80 ในกล่องจดหมายเข้ า เป็ น
อีเมลขยะ
            Chang56 กล่าวว่า อีเมลขยะจะยังคงอยูคกบโลกอินเทอร์ เน็ต เพราะยังมีผ้ คลิก อีเมลขยะ ซึง
                                                       ่ ู่ ั                      ู                ่
เป็ นการบอกผู้สง อีเมลขยะ ว่าการส่ง อีเมลขยะสามารถไปถึงกลุมเปาหมายได้ ผู้ใช้ อีเมลของอเมริกา
                  ่                                                ่ ้
จานวน ร้ อยละ 7 หรื อประมาณ 8 ล้ านคน เคยซื ้อสินค้ าหรื อบริการจาก อีเมลขยะ ผู้ใช้ จานวน 1 ใน 3
คน เคยคลิกการเชื่อมโยงในอีเมลขยะเพื่อขอดูข้อมูลเพิ่มเติม
            Office of the Attorney General57 แบ่งประเภทของอีเมลขยะเป็ น 2 ประเภทคือ ถูกต้ อง
ตามกฎหมาย และผิดกฎหมาย อีเมลขยะที่ผิดกฎหมาย ได้ แก่อีเมลขยะที่มีชื่อผู้สงไม่ถกต้ อง หรื อมุงที่
                                                                                 ่ ู              ่
จะให้ เข้ าใจผิด เช่น ทาเสมือนกับส่งมาจากบริษัทที่มีชื่อเสียง โดยมีจดประสงค์ที่จะทาลายชื่อเสียง
                                                                        ุ
ของบริษัท หรื อ ต้ องการหลอกเอาข้ อมูลส่วนบุคคลของผู้รับ อีเมล เป็ นต้ น กฎหมาย CAN Spam Act
ของอเมริกา ระบุวา อีเมลขยะเพื่อการพาณิชย์เป็ นสิ่งถูกต้ อง ถ้ าหากมีการระบุ ว่าเป็ น อีเมลที่สงมาใน
                     ่                                                                          ่
ลักษณะนี ้ และ สามารถให้ ผ้ รับบอกยกเลิกการรับได้ อย่างชัดเจน
                                   ู




              54
                 Rita Chang, ‚Could Spam Kill Off E-Mail?‛ PCWorld, 22 Oct. 2003, PC World Communications, Inc., 9 Dec. 2006
<http://www.pcworld.com/article/id,113061-page,1/article.html>.
              55
                 Chang.
              56
                 Chang.
              57
                 ‚Junk Email.‛
-17-

           โดยสรุป อีเมลขยะได้ แก่ อีเมลที่สงไปถึงคนจานวนมาก โดยที่ไม่ได้ รับการเชื ้อเชิญ สร้ าง
                                            ่
ความราคาญให้ แก่ผ้ รับจดหมายเวียนทางอีเมล อีเมลขยะบางอย่างมีเจตนาหลอกลวง ทาให้ ผ้ อื่นเสีย
                      ู                                                                    ู
ชื่อเสียง หรื อมีเจตนาหลอกเอาข้ อมูลส่วนตัวของผู้รับอีเมล

                 2.1.5 การส่งจดหมายเวียนทางอีเมล
                 เว็บไซต์ Melissanorfolk.net.au58 กล่าวว่า การส่ง จดหมายเวียนทาง อีเมลจากเว็บไซต์ ไป
ยังสมาชิก เป็ นบริการหนึงที่เว็บ ไซต์ จานวนมากนิยมใช้ เป็ นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการติดต่อกับ
                               ่
ลูกค้ าอีกทังยังทาให้ ผ้ ใช้ มีความรู้สกเป็ นส่วนตัวมากกว่ าการใช้ เว็บไซต์ตามปกติทวไป จากการศึกษา
                  ้         ู           ึ                                           ั่
ของ Nielsen59 พบว่า การใช้ จดหมายเวียนทางอีเมลช่วยสร้ างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้ เว็บ ทาให้ เกิด
ความรู้สกผูกพัน และเป็ นส่วนตัวมากกว่าการใช้ เว็บไซต์ โด ยกล่าวว่า การใช้ เว็บไซต์ผ้ ใช้ มุงที่จะหา
             ึ                                                                           ู ่
ข้ อมูลข่าวสารตามต้ องการ เป็ นการใช้ เว็บไซต์เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการค้ นหาข่าวสารข้ อมู ล เมื่อได้
ข้ อมูลตามต้ องการแล้ ว จะออกจากเว็บ ไซต์ นน ซึงต่างจากการใช้ จดหมายเวียนทาง อีเมล ที่ทาให้ มี
                                                     ั้ ่
ความรู้สกเป็ นส่วนตัวและมีความเป็ นเจ้ าของ เพราะ จดหมายเวียนทางอีเมล ไปปรากฏ ในกล่อง
               ึ
จดหมายอีเมลของผู้ใช้ อีเมลแต่ละคน แต่เว็บไซต์เป็ นหน้ าเว็บของผู้อื่น ดังนันการใช้ จดหมายเวียนทาง
                                                                                ้
อีเมลจึงเป็ นการสร้ างความผูกพันระหว่างผู้ใช้ กบบริษัทได้ มากกว่าเว็บไซต์ ความผูกพันนี ้ ในทางดี
                                                       ั
ช่วยให้ ผ้ รับ จดหมายเวียนทางอีเมล และผู้สงมีความรู้สกใกล้ ชิดกัน แต่หากมีปัญหาเกิดขึ ้นจะส่งผล
           ู                                     ่           ึ
กระทบมากกว่าปกติ Roberts60 อธิบายเพิ่มเติมว่า ความผูกพันนี ้เป็ นสิ่งมีคณค่ามาก หาก จดหมาย
                                                                                  ุ
เวียนทางอีเมลนันได้ ผล แต่ถ้า จดหมายเวียนทาง อีเมลไม่ประสบผลจะส่งผลรุนแรงต่อ ความสัมพันธ์
                        ้
ระหว่างผู้รับ จดหมายเวีย นทางอีเมล และผู้จดทา จดหมายเวียนทาง อีเมล นอกจากนี ้ Roberts61 ให้
                                                   ั
เหตุผลความผูกพันที่เกิดขึ ้นว่า ส่วนหนึงเกิดจากการที่ผ้ รับ จดหมายเวียนทาง อีเมลต้ องลงทุนสมัคร
                                            ่              ู
เป็ นสมาชิก ซึงผิดกับการใช้ เว็บไซต์ที่ไม่ต้องลงทุน เหมือนการ ชมสินค้ าที่จดวางไว้ ในร้ านค้ า จึงไม่เกิด
                     ่                                                        ั
ความผูกพัน Pollard62 มีความเห็นสอดคล้ องกับ Roberts63 ในด้ านความผูกพัน โดยเฉพาะมีความ

              58
                  ‚Email Marketing,‛ Melissa Norfolk Web Design, 25 Nov. 2006 <http://www.melissanorfolk.net.au/internetmarketing/
emailmarketing.html>; Loren McDonald, ‚Permission Email Marketing:’Permission’ is Not Optional,‛ EmailLabs, 30 Nov. 2005, Lyris, Inc., 5 Dec.
2006 <http://www.emaillabs.com/email_marketing_articles/ permission_email_marketing_matters.html>.
               59
                  Jakob Nielsen, ‚Email Newsletters Pick Up Where Websites Leave Off,‛ Jakob Nielsen’s Alertbox, 30 Sept. 2002, Nielsen
Norman Group, 25 Nov. 2006 <http://www.useit.com/alertbox/20020930.html>.
               60
                  Janet Roberts, ‚Email Newsletter Publishing Strategies: Making the Emotional Connection with Readers,‛ Email Universe.com, 1
Oct. 2002, Ezine Publishing, 26 Nov. 2006 <http://emailuniverse.com/ezine-tips/?Making-the-Emotional-Connection-with-Readers&id=771>
               61
                  Roberts.
               62
                  Stefan Pollard, ‚The 5 Biggest email Brand-Killers,‛ EmailLabs, 1 Sept. 2006, Lyris, Inc., 5 Dec. 2006
<http://www.emaillabs.com/email_marketing_articles/biggest_email_brand_killers.html>.
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system
Email system

More Related Content

What's hot

บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)ThaiprincessIT
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้ItpresentYaowaluck Promdee
 
โครงการE learning2559
โครงการE learning2559โครงการE learning2559
โครงการE learning2559Pa'rig Prig
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยjeabjeabloei
 
Open Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorOpen Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorBoonlert Aroonpiboon
 
Open Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserOpen Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserBoonlert Aroonpiboon
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารDuangnapa Inyayot
 
NSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&DNSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&DBoonlert Aroonpiboon
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Somsak Kaeosijan
 

What's hot (20)

บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
Open Digital Education
Open Digital EducationOpen Digital Education
Open Digital Education
 
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 
โครงการE learning2559
โครงการE learning2559โครงการE learning2559
โครงการE learning2559
 
ICT 2020
ICT 2020ICT 2020
ICT 2020
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
 
Open Educational Resources for Author
Open Educational Resources for AuthorOpen Educational Resources for Author
Open Educational Resources for Author
 
Open Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserOpen Educational Resources for User
Open Educational Resources for User
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
 
Online learning lms
Online learning lms Online learning lms
Online learning lms
 
Thaismedu
ThaismeduThaismedu
Thaismedu
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
NSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&DNSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&D
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to Email system

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 PradittaPraditta Siripan
 
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่suwat Unthanon
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...Noppakhun Suebloei
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...Noppakhun Suebloei
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57สมใจ จันสุกสี
 

Similar to Email system (20)

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
 
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
 
แผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธแผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธ
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
Planict2552 2556
Planict2552 2556Planict2552 2556
Planict2552 2556
 
17[1]
17[1]17[1]
17[1]
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 

More from TaiMe Sakdisri (20)

Chapter005
Chapter005Chapter005
Chapter005
 
546345
546345546345
546345
 
456245345
456245345456245345
456245345
 
4563456
45634564563456
4563456
 
56785774
5678577456785774
56785774
 
Unit07
Unit07Unit07
Unit07
 
6784678467
67846784676784678467
6784678467
 
4678467846
46784678464678467846
4678467846
 
Unit04
Unit04Unit04
Unit04
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
Unit02
Unit02Unit02
Unit02
 
Unit01
Unit01Unit01
Unit01
 
Thai hci
Thai hciThai hci
Thai hci
 
Original 02 hci_principles
Original 02 hci_principlesOriginal 02 hci_principles
Original 02 hci_principles
 
Original 01 hci_principles
Original 01 hci_principlesOriginal 01 hci_principles
Original 01 hci_principles
 
D1 overview
D1 overviewD1 overview
D1 overview
 
Chapter009
Chapter009Chapter009
Chapter009
 
Chapter008
Chapter008Chapter008
Chapter008
 
Chapter006 (1)
Chapter006 (1)Chapter006 (1)
Chapter006 (1)
 
Chapter006
Chapter006Chapter006
Chapter006
 

Email system

  • 1. บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา พระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ .ศ. 2542 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ิ หมวด 9 ให้ ความสาคัญของเทคโนโลยี ในการปฏิรูปการศึกษา โดยกาหนดให้ รัฐต้ องส่งเสริม และ สนับสนุนให้ มีการผลิต พัฒนาแบบเรี ยน สื่อสิ่งพิมพ์ วัสดุอปกรณ์ และเทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนา ุ ผู้เรี ยนให้ มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้ เทคโนโลยีเพื่อแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต1 นอกจากนี ้ ในมาตรา 37(2) และ(4) กาหนดให้ กระทรวงศึกษาธิการจัดการศึกษาทางไกล และการศึกษานอกระบบและก ารศึกษาตามอัธยาศัย ให้ บริการในหลายเขตพื ้นที่ 2 ซึงดาเนินการโดย ่ สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรี ยน ในปี พ.ศ. 2548 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ ออกระเบียบสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้ วยการจัดการศึกษาทางไกล พ .ศ. 2548 ทังนี ้โดยกาหนดขอบเขตการจัดการศึกษาทางไกล 3 ้ ลักษณะ คือ 1) การเรี ยนรู้ด้วยตนเองจากชุดการเรี ยนทางไกล 2) การเรี ยนรู้ด้วยตนเองผ่านเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต และ 3) กระบวนการและกิจกรรมการเรี ยนรู้ในลักษณะอื่น ๆ ได้ แก่ การสัมมนา การศึกษาดูงาน การฝึ กปฏิบติ การฝึ กอบรม การสอนเสริมในลักษณะต่าง ๆ การแนะแนว และ อื่น ๆ3 ั นอกจากนี ้ เพื่อให้ การจัดการศึกษาต่อเนื่อง วิธีเรี ยนทางไกล เป็ นไปอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้ มอบหมายให้ สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยภาค จัดการศึกษาต่อเนื่อง วิธีเรี ยนทางไกล พร้ อมทังการพัฒนาหลักสูตร กา ร ้ อนุมติ การบริหารจัดการหลักสูตรและเป็ นผู้ควบคุมดูแลการจัดการศึกษาทางไกล ให้ ได้ ตาม ั มาตรฐาน ที่กาหนดไว้ ในแต่ละหลักสูตร4 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี , พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (กรุงเทพมหานคร: บริษัทพริกหวานกราฟฟิ กจากัด, ม.ป.ป.) 37-38. 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 22-23. 3 ระเบียบสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการว่าด้ วย การจัดการศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548, ประกาศ ณ วันที่ 25 มี.ค. พ.ศ. 2548. 4 หนังสือสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ศธ 0210.07/13554 ลงวันที่ 30 ธ.ค. 2548 เรื่อง การมอบหมายการจัด การศึกษาทางไกล
  • 2. -2- ในปี พ .ศ. 2551 กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดให้ การจัดการศึกษาทางอินเทอร์ เน็ต เป็ น เรื่ องหนึงในนโยบายเร่งด่วน โดยกาหนดแผนจัดทาคลังข้ อมูล E-learning ทังในรูปเรี ยนฟรี เรี ยนแบบ ่ ้ ลงทะเบียนได้ หน่วยกิต และเรี ยนตามอัธยาศัย5 สานัก บริหารงานการศึกษานอกโรงเรี ยนให้ ความสาคัญเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัด การศึกษาอย่างต่อเนื่อง ดังจะเห็นได้ จาก อดีตอธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรี ยน ดร .รุ่ง แก้ วแดง ซึงได้่ สนับสนุนให้ นาเทคโนโลยีมาใช้ ในงานการศึกษานอกโรงเรี ยน 6 และนอกจากนี ้ ในการกาหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์ การศึกษานอกโรงเรี ยน สาหรับปี งบประมาณ 2547 และจุดเน้ นการดาเนินงานตาม กลยุทธ์ กศน. ไปสูการปฏิบติ ในปี งบประมาณ 2548 ได้ กาหนดแนวทางและมาตรการ ในการส่งเสริม ่ ั สนับสนุนให้ แหล่งการเรี ยนรู้ มีสื่อและเทคโนโลยี เพื่อให้ บริการการเรี ยนรู้อย่างพอเพียง 7 จัดระบบการ จัดการความรู้ โดยสร้ างการเชื่อมโยงแหล่งการเรี ยนรู้ในเรื่ องต่าง ๆ ทังภายในชุมชน และระหว่าง ้ ชุมชน เพื่อสร้ างเครื อข่ายการเรี ยนรู้ ในวงกว้ างครอบคลุมทัวประเทศ ทังนี ้โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ่ ้ และการสื่อสาร (ICT) เป็ นกลไกในการบริหารจัดการตามกระบวนการ ของการจัดการความรู้ 8 สาหรับ แนวทางการดาเนินงาน สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรี ยน มุงเน้ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ให้ ่ สอดคล้ องกับความต้ องการของผู้เรี ยน สามารถเลือกวิธีการเรี ยนรู้ ที่หลากหลาย รวมทังการเรี ยนรู้จาก ้ สื่อต่าง ๆ โดยเฉพาะ E-learning9 สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรี ยน กาหนดวิสยทัศน์ ในการดาเนินงานด้ านเทคโนโลยี ั สารสนเทศและการสื่อสารโดยมุงเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนและประชาชน มีโอกาสเข้ าถึงและใช้ ประโยชน์ จาก ICT ่ เพื่อการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตอย่างเต็มศักยภาพ 10 ตลอดจนกาหนดยุทธศาตร์ และกลยุทธ์ ในอันที่จะสร้ าง โอกาส เพิ่มขีดความสามารถ และยกระดับมาตรฐานการเรี ยนรู้ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-learning)11 5 จรวยพร ธรณินทร์ , ดร. ‚ทิศทางกศน.ยุคใหม่ปี 2551.‛ กระทรวงศึกษาธิการ. 25 ต.ค. 2550 <http://www.moe.go.th/ charuaypon/works/ppt28_charuaypon.ppt>. 6 รุ่ง แก้ วแดง, ดร., สรุปหัวข้ อการบรรยายในการประชุมผู้บริหารการศึกษานอกโรงเรียน ณ โรงแรมโกลเดนวัลเล่ย์ เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา วันที่ 12 ก.ย. 2536 (กรุงเทพมหานคร: ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา, 2536) 16. 7 สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน, นโยบายและยุทธศาสตร์ การศึกษานอกโรงเรียน ประจาปี งบประมาณ 2547 (กรุงเทพมหานคร: ห้ างหุ้นส่วนจากัด โรงพิมพ์อกษรไทย, 2546) 19. ั 8 สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน, จุดเน้ นการดาเนินงานตามกลยุทธ์ กศน. สู่การปฏิบติ ปี งบประมาณ 2548 (เอกสาร ั อัดสาเนา, 2548) 2. 9 สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน 13. 10 สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน, แผนยุทธศาสตร์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปี งบประมาณ 2550- 2554 (กรุงเทพมหานคร: รังสีการพิมพ์, 2549) 25. 11 สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน 4.
  • 3. -3- สนับสนุนให้ มีการจัดหา และการกระจายโครงสร้ างพื ้นฐานด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต ให้ ถึงผู้เรี ยนและประชาชนอย่างทัวถึง ่ สถาบัน กศน. ภาคกลาง ได้ เริ่มนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ ามาใช้ ในการเรี ยนการสอน โดย จัดทาสื่อการเรี ยนการสอนการศึกษาทางไกล และได้ เริ่มการทดลองดาเนินโครงการโรงเรี ยนเสมือน จริง12 เป็ นการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้ านอินเทอร์ เน็ต วิทยุ สื่อ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น CAI (Computer Assisted Instruction) และ สื่อเทปตลับ (Cassette tape) ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนศึกษา ค้ นคว้ าหาความรู้ด้วยตนเอง ในเวลา และสถานที่ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมของตนเอง มีการ สื่อสารติดต่อกันระหว่างครูและผู้เรี ยนผ่านทาง โทรศั พท์และไปรษณีย์ตามปกติ มีการจัดทาเว็บเพจ เพื่อการเรี ยน โดยใช้ Server ของกรมการศึกษานอกโรงเรี ยน และได้ มีการจัดทารายการวิทยุ ออกอากาศ ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ความถี่ 1467 กิโลเฮิรตซ์ ในวันเสาร์ และวัน อาทิตย์ ระหว่างเวลา 11.00-12.00 น. เป็ นประจาสัปดาห์ละ 2 ชัวโมง ่ ต่อมา สถาบัน กศน . ภาคกลาง ได้ ปรับโครงสร้ างการบริหารงาน และจัดตังกลุมงาน ้ ่ การศึกษาทางไกล ในปี 2547 13 เพื่อดาเนินการจัดการศึกษาทา งไกลหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง โดย ประกอบด้ วยกิจกรรมหลัก 4 กิจกรรม คือ 1) เรี ยนโดยสื่อและการสัมมนา 2) เรี ยนทางอินเทอร์ เน็ต หรื อ E-learning 3) เรี ยนทางวิทยุ และ 4) การฝึ กอบรม ในการจัดการเรี ยนการสอนทางอินเทอร์ เน็ต ได้ จดทาเว็บไซต์ โดยใช้ URL คือ http://www.crnfe.ac.th อีกทังได้ พฒนาระบบการจัดการเรี ยนการ ั ้ ั สอน (LMS หรื อ Learning Management System) ทาให้ สามารถให้ บริการเนื ้อหารายวิชา ต่าง ๆ พร้ อมทังเก็บข้ อมูลของผู้เรี ยนผ่านทางเว็บไซต์ได้ ้ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็ กทรอนิกส์และคอมพิ วเตอร์ แห่งชาติ ได้ สารวจผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตใน ประเทศไทย 14 พบว่า กิจกรรมที่ผ้ ใช้ อินเทอร์ เน็ตทามากที่สด ได้ แก่การ รับส่งอีเมล ซึงสอดคล้ องกับ ู ุ ่ ศรี ศกดิ์ จามรมาร 15 ที่กล่าวว่า อีเมลเป็ นบริการทางอินเทอร์ เน็ตที่มีคนใช้ มากที่สด นอกจากนี ้เว็บไซต์ ั ุ จานวนมาก ทังในประเทศไทยและในต่างประเทศ มีการ ใช้ จดหมายเวียนทางอีเมลเพื่อให้ บริการ ้ ข่าวสารข้ อมูลแก่สมาชิก เนื่องจากจดหมายเวียนทางอีเมล มีข้อดีหลายประการ เช่น ช่วยสร้ าง 12 ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง, โรงเรียนเสมือนจริง (เอกสารอัดสาเนา, 2541) 1-6. 13 ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง, รายงานการติดตามผลการจัดการศึกษาทางไกล ปี 2547 (เอกสารอัดสาเนา, 2547), 17. 14 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ , รายงานผลการสารวจกลุ่มผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย ปี 2548 (กรุงเทพมหานคร: บริ ษัท ซีเอ็ดยูเคชัน จากัด (มหาชน), 2549) 71. ่ 15 ศรี ศกดิ์ จามรมาร, ‚ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล,‛ eeverything.info, 24 ต.ค. 2550 <http://www.eeverything.info/ ั eMail/index1.htm>.
  • 4. -4- ความสัมพันธ์ ความผูกพัน และความเป็ นส่วนตัว ได้ มากกว่าเว็บไซต์ 16 ผู้บริหารธุรกิจให้ ความสาคัญ จดหมายเวียนทางอีเมลมากกว่าเว็บไซต์17 เป็ นการเพิ่มทางเลือกในการสื่อสาร 18 สามารถสร้ างเจตคติ ที่ด19 และ นอกจากนี ้ยังพบว่าในอนาคตจะมีการใช้ จดหมายเวียนทางอีเมลเพิ่มมากขึ ้น20 ี จากการศึกษา ความคิดเห็นของผู้ลงทะเบียนเรี ยนทางอินเทอร์ เน็ต ที่มี ตอเว็บไซต์ของ ่ สถาบัน กศน. ภาคกลาง ปี 2548 21 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้ อยละ 64.3 มีความต้ องการบอกรั บ เป็ นสมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล ถ้ าเว็บไซต์ของ สถาบัน กศน . ภาคกลาง จั ดให้ มีบริการจดหมาย เวียนทางอีเมล ดังนัน เพื่อเป็ นการพัฒนาการจัดการศึกษาทางไกลผ่านอินเทอร์ เน็ตของสถาบัน กศน . ภาค ้ กลาง ให้ มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ ้น สถาบัน กศน . ภาคกลาง จึงได้ พฒนาระบบจดหมายเวียนทาง ั อีเมล ขึ ้น เพื่อให้ สามารถสนองความต้ องการของผู้เรี ยนที่ประ สงค์จะรับข่าวสารความรู้ทางอีเมล ซึง ่ เป็ นบริการทางอินเทอร์ เน็ตที่มีผ้ ใช้ มากที่สด 22 อีกทังยังเป็ นการเพิ่มโอกาสการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตให้ แก่ ู ุ ้ ผู้เรี ยนของ สถาบัน กศน . ภาคกลาง ให้ สามารถเรี ย นรู้ได้ ด้วยตนเอง ในเวลา และสถานที่ ที่เหมาะสม กับแต่ละบุคคล อันเป็ น ส่วนหนึงของการเสริมสร้ างสังคมแห่งการเรี ยนรู้ ส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้ด้วย ่ ตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สมตาม เจตนารมย์ของพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ ที่มงเน้ นให้ การจัดการศึกษาเป็ นไปเพื่อการเ รี ยนรู้ ิ ุ่ ด้ วยตนเองอย่างต่อเนื่อง 23 และสอดคล้ องกับนิยามการศึกษาตลอดชีวิตของพระราชบัญญัตนี ้ ที่ระบุ ิ 16 Jakob Nielsen, ‚Email Newsletters Pick Up Where Websites Leave Off,‛ Jakob Nielsen’s Alertbox, 30 Sept. 2002, Nielsen Norman Group, 25 Nov. 2006 <http://www.useit.com/alertbox/20020930.html>. 17 ‚Press,‛ Bredin Business Information, 6 Mar. 2007, Bredin Business Information, Inc., Cambridge, Massachusetts, 20 Nov. 2007 <http://www.bbionline.com/press_0307.htm>. 18 Elkafi Hassini, ‚Student-Instructor Communication: The Role of Email,‛ ERIC:Education Resources Center, the U.S. Department of Education, 18 Nov. 2007 <http://www.eric.ed.gov/ERICWebPortal/Home.portal;jsessionid=H1xK2g1ThCYDwygx1jnJ 51glB2JyHCpQyKynB17Rx5kmgM26nQ83!792267666?_nfpb=true&ERICExtSearch_SearchValue_0=email&ERICExtSearch_SearchType_0=kw&_ pageLabel=ERICSearchResult&newSearch=true&rnd=1195356426861&searchtype=keyword>. 19 Hui-Fang Shang, ‚An Exploratory Study of E-Mail Application on FL Writing Performance,‛ ERIC:Education Resources Center. the U.S. Department of Education, 18 Nov. 2007 <http://www.eric.ed.gov/ERICWebPortal/Home.portal;jsessionid=H 1xK2g1ThCYDwygx1jnJ51glB2JyHCpQyKynB17Rx5kmgM26nQ83!792267666?_nfpb=true&ERICExtSearch_SearchValue_0=email&ERICExtSearc h_SearchType_0=kw&_pageLabel=ERICSearchResult&newSearch=true&rnd=1195356426861&searchtype=keyword>. 20 ‚The 2007 Email Marketing Survey: Looking Forward,‛ Datran Media, 2007, Datran Media Corp., New York, 20 Nov. 2007 <http://success.datranmedia.com/research/dec06survey.php>. 21 ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง, รายงานการศึกษาความคิดเห็นของผู้ลงทะเบียนเรียนทางอินเทอร์ เน็ตที่มีต่อเว็บไซต์ ของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง ปี 2548 (ราชบุรี: โรงพิมพ์ศนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง, 2548) 77. ู 22 ศรี ศกดิ์ จามรมาร. ั 23 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 6.
  • 5. -5- ว่า การศึกษาตล อดชีวิตเป็ นการจัดการศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้ สามารถพัฒนาคุณภาพชี วิตได้ อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต24 ผลที่ได้ รับจากการวิจยครังนี ้ จะได้ ระบบ จดหมายเวียน ทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน ั ้ กศน. ภาคกลาง ทราบอัตราการคลิกการเชื่อมโยง ทราบลักษณะและการใช้ จดหมายเวียนทางอีเมล ของสมาชิก จดหมายเวียนทางอีเมล ตลอดจนทราบความคิดเห็น ของสมาชิกจดหมายเวียนทาง อีเมล ต่อจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน . ภาคกลาง อันจะเป็ นแนวทางในการ พัฒนา คุณภาพ การจัดการศึกษาทางไกล ของสถาบัน กศน . ภาคกลาง ให้ มีประสิทธิภาพเพิ่มมาก ยิ่ง ขึ ้น อีกทังยังเป็ นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ผ้ เู รี ยน ให้ สามารถศึกษาด้ วยตนเอง ในเวลา และสถานที่ ้ ที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคล 1.2 ปั ญหาของการวิจัย จากการศึกษาความคิดเห็นของผู้ลงทะเบียนเรี ยนทางอินเทอร์ เน็ต ต่อเว็บไซต์ของ สถาบัน กศน. ภาคกลาง ปี 2548 25 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้ อยละ 64.3 มีความต้ องการบอกรับเป็ น สมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล ของ สถาบัน กศน. ภาคกลาง แต่เว็บไซต์ของสถาบัน กศน. ภาคกลาง ไม่มีระบบให้ บริการส่งจดหมายเวียน ทางอีเมล จึงไม่สามารถสนองความต้ องการของ ผู้เรี ยนได้ ทาให้ ผู้เรี ยน ไม่ ได้ รับโอกาสในการเรี ยนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตผ่านระบบอินเทอร์ เน็ตอย่าง เต็มที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขาดโอกาสการเรี ยนรู้ด้วยตนเองผ่าน ระบบอีเมล ซึงเป็ น บริการบนอินเทอร์ เน็ตที่ มี ่ ผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตนิยมมากที่สด26 ุ 1.3 ข้ อคาถามของการวิจัย 1. ระบบจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง เป็ นอย่างไร 24 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2. 25 ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง 77. 26 ศรี ศกดิ์ จามรมาร. ั
  • 6. -6- 2. อัตราการคลิกการเชื่อมโยงในจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน . ภาคกลาง เป็ นอย่างไร 3. คุณลักษณะของสมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล เป็ นอย่างไร 4. ลักษณะการใช้ อีเมลของสมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล เป็ นอย่างไร 5. ความพึงพอใจและความคิดเห็นของสมาชิกที่มีตอจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์ ่ สถาบัน กศน. ภาคกลาง เป็ นอย่างไร 1.4 วัตถุประสงค์ ของการวิจัย ผู้วิจยได้ กาหนดวัตถุประสงค์ของการวิจยในครังนี ้ ดังนี ้ ั ั ้ 1. เพื่อพัฒนาระบบการส่ง จดหมายเวียน ทาง อีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน . ภาคกลาง 2. เพื่อศึกษาอัตราการคลิกการเชื่อมโยงใน จดหมายเวียนทาง อีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน. ภาคกลาง 3. เพื่อศึกษาคุณลักษณะของสมาชิก และการใช้ อีเมลของสมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของสมาชิกต่อจดหมายเวียน ทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน. ภาคกลาง 5. เพื่อศึกษา ความคิดเห็นของสมาชิกต่อจดหมายเวียน ทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน. ภาคกลาง 1.5 ขันตอนการวิจัย ้ 1. ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับอีเมลและจดหมายเวียนทางอีเมล 2. ศึกษาลักษณะจดหมายเวียนทางอีเมลเชิงพาณิชย์ 3. พัฒนาระบบจดหมายเวียน ทาง อีเมล สาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน . ภาคกลาง ตาม แนวทางของ SDLC (Software Development Life Cycle) 4. ศึกษาอัตราการคลิกการเชื่อมโยงในจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน. ภาคกลาง
  • 7. -7- 5. ศึกษาคุณลักษณะของสมาชิก ลักษณะการใช้ อีเมลของสมาชิก ความพึงพอใจและความ คิดเห็นของสมาชิก ที่มี ต่อ ระบบ จดหมายเวียน ทาง อีเมล สาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน . ภาคกลาง 6. ปรับปรุงแก้ ไขระบบจดหมายเวียนทางอีเมล สาหรับเว็บไซต์ สถาบัน กศน. ภาคกลาง 1.6 ประโยชน์ ท่ คาดว่ าจะได้ รับ ี 1. เว็บไซต์ สถาบัน กศน . ภาคกลาง มีระบบ การส่ง จดหมายเวียน ทางอีเมล เพิ่มขึ ้นอีก จานวน 1 ระบบ 2. เพิ่มช่องทางการจัดการศึกษาทางไกล ให้ มีรูปแบบและวิธีการที่หลากหลายเพิ่มขึ ้น 3. เป็ นการพัฒนา การให้ บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ผ่านทางอินเทอร์ เน็ต ของสถาบัน กศน. ภาคกลาง ให้ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ ้น สามารถให้ บริการการศึกษา ผ่านทางอีเมล แก่ผ้ เู รี ยนได้ 4. ผู้เรี ยนของสถาบัน กศน. ภาคกลาง ได้ รับโอกาสการเรี ยนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพิ่ม มากขึ ้น สามารถศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ในเวลาและสถานที่ที่เหมาะสมแก่ตนเองเพิ่มมากขึ ้น 5. เป็ นส่วนหนึงในการเสริมสร้ างสังคมแห่งการเรี ยนรู้ ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้ด้วยตนเองอย่าง ่ ต่อเนื่อง ให้ สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนได้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 6. สามารถนาระบบจดหมายเวียนทาง อีเมล ไปประยุกต์ใช้ ในด้ านอื่น ๆ ได้ เช่น การส่ง ข่าวสารให้ แก่สมาชิกทางอินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น 1.7 ข้ อตกลงเบืองต้ น ้ 1. กลุมตัวอย่างตอบแบบสอบถามด้ วยความจริงใจ ่ 2. ค่าคะแนนของข้ อความในมาตรวัดของลิเคิร์ทอยูในมาตรอันตรภาค27 ่ 27 ล้ วน สายยศ และอังคณา สายยศ, เทคนิคการวิจยทางการศึกษา, พิมพ์ครังที่ 5 (กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น, 2538) 184 ั ้ และ สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ , รศ. ดร., "มโนมติที่คลาดเคลื่อนในทางวิจยการศึกษา", secondary.kku.ac.th, 14 ส.ค. 2545, ภาควิชาการ ั มัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น , 11 ม.ค. 2550 <http://secondary.kku.ac.th/research/res02/miscon/ miscon21.htm>.
  • 8. -8- 1.8 นิยามศัพท์ เฉพาะ การคลิกการเชื่อมโยง หมายถึง การคลิกการเชื่อมโยง (Link) ในจดหมายเวียนทางอีเมล ซึงส่งโดย ่ ระบบจดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน . ภาคกลาง โดยสมาชิก จดหมายเวียนทางอีเมล เพื่อเปิ ดอ่านบทเรี ยน จดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน . ภาคกลาง หมายถึง จดหมายเวียนทางอีเมล ที่ ส่งจากเว็บไซต์ สถาบัน กศน . ภาคกลางไปยังอีเมลของผู้เรี ยน ที่สมัครเป็ นสมาชิก บอกรับจดหมายเวียนทางอีเมล ในจดหมายเวียนประกอบด้ วยข้ อความและการ เชื่อมโยงไปยังบทเรี ยน และการเชื่อมโยงการยกเลิกสมาชิก ฐานข้ อมูลผู้เรี ยน หมายถึง ตาราง student ในฐานข้ อมูล MySQL ซึงอยูในระบบ LMS ของเว็บไซต์ ่ ่ สถาบัน กศน. ภาคกลาง บทเรี ยน หมายถึง บทเรี ยนในรูปแบบไฟล์ PDF บนเว็บไซต์ของ สถาบัน กศน . ภาคกลาง ซึงสามารถ ่ เปิ ดอ่านได้ โดยการคลิกการเชื่อมโยงจากจดหมายเวียนทางอีเมลที่จดส่งโดยระบบ ั จดหมายเวียนทางอีเมลสาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง ผู้ใช้ เว็บ หมายถึง ผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตที่เปิ ดเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง ผู้ดแลเว็บ หมายถึง บุคลากรของสถาบัน กศน. ภาคกลางที่ดแลเว็บไซต์ http://www.crnfe.ac.th ู ู ผู้เรี ยน หมายถึง ผู้ที่ลงทะเบียนเรี ยน กับเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง เว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง หมายถึง เว็บไซต์ http://www.crnfe.ac.th เว็บเมล หมายถึง เว็บไซต์ที่ให้ บริการอีเมล เช่น http://www.hotmail.com เป็ นต้ น สถาบัน กศน . ภาคกลาง หมายถึง สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ภาคกลาง ซึงเปลี่ยนชื่อมาจาก ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนภาคกลาง ตามประกาศ ่ ใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 60 ง วันที่ 25 มีนาคม 2551 สมาชิก, สมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล หมายถึง ผู้เรี ยนที่บอกรับเป็ นสมาชิกจดหมายเวียนทางอีเมล สาหรับเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง อัตราการคลิกการเชื่อมโยง หมายถึง ร้ อยละการคลิกการเชื่อมโยง ซึงคานวณจากสูตร ต่อไปนี ้ ่ จานวนจดหมายเวียนทางอีเมลที่ถกคลิกการเชื่อมโยง ู อัตราการคลิกการเชื่อมโยง = X 100 จานวนจดหมายเวียนทางอีเมลที่ระบบส่งไปทังหมด ้ อีเมลของสมาชิก หมายถึง อีเมลของสมาชิกบนเว็บเมล
  • 9. บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง การวิจยเรื่ อง การ พัฒนาระบบจดหมายเวียนทาง อีเมล สาหรับ เว็บไซต์ สถาบัน กศน . ั ภาคกลาง ผู้วิจยได้ ศกษาค้ นคว้ าเอกสาร และงานวิจยที่เกี่ยวข้ อง จากสื่อต่าง ๆ ทังสื่อเอกสารและสื่อ ั ึ ั ้ อิเล็กทรอนิกส์ ที่เกี่ยวข้ อง โดยมีสาระขอบข่าย ดังนี ้ 2.1 อีเมลและจดหมายเวียนทางอีเมล 2.1.1 อีเมลคืออะไร 2.1.2 ข้ อดีของอีเมล 2.1.3 ข้ อจากัดของอีเมล 2.1.4 อีเมลขยะ หรื อ Spam 2.1.5 การส่งจดหมายเวียนทางอีเมล 2.1.6 รูปแบบจดหมายเวียนทางอีเมล 2.1.7 ข้ อดีและข้ อจากัดของรูปแบบจดหมายเวียนทางอีเมลที่เป็ นข้ อความ ธรรมดา 2.1.8 ข้ อดีและข้ อจากัดของรูปแบบจดหมายเวียนทางอีเมลที่เป็ น HTML 2.1.9 หลักการเขียนจดหมายเวียนทางอีเมล 2.1.10 อัตราการเปิ ด (Open rate) และอัตราการคลิกการเชื่อมโยง (Click through rate) 2.1.11 วันในรอบสัปดาห์ที่สมาชิกใช้ จดหมายเวียนทางอีเมล 2.1.12 อุปสรรคของจดหมายเวียนทางอีเมล 2.1.13 เว็บไซต์ที่ให้ บริการจดหมายเวียนทางอีเมล 2.2 จดหมายเวียนทางอีเมลเชิงพาณิชย์ 2.2.1 ระบบจดหมายเวียนทางอีเมล ของ Tornado Email 2.2.2 ระบบจดหมายเวียนทางอีเมล ของ Savvy 2.2.3 ระบบจดหมายเวียนทางอีเมล ของ PG Newsletter Software 2.2.4 ระบบจดหมายเวียนทางอีเมลของ Arrow Email Newsletter System
  • 10. -10- 2.2.5 การวิเคราะห์ระบบจดหมายเวียนทางอีเมล 2.3 การพัฒนาซอฟต์แวร์ 2.3.1 ตัวแบบการพัฒนาซอฟต์แวร์ 2.3.2 UML (Unified Modeling Language) และ Use case 2.3.3 Data Flow Diagram 2.3.4 การทดสอบซอฟต์แวร์ 2.3.5 เครื่ องมือในการพัฒนาโปรแกรม 2.4 ความพึงพอใจ 2.4.1 ความหมาย 2.4.2 การประเมินความพึงพอใจจดหมายเวียนทางอีเมล 2.5 เว็บไซต์ของสถาบัน กศน. ภาคกลาง 2.5.1 ประวัตยอของสถาบัน กศน. ภาคกลาง ิ่ 2.5.2 พัฒนาการของเว็บไซต์สถาบัน กศน. ภาคกลาง 2.5.3 ระบบการจัดการเรี ยนการสอนบนเว็บไซต์ ของ สถาบัน กศน . ภาคกลาง 2.5.4 เนื ้อหาและรายวิชาบนเว็บไซต์ 2.6 งานวิจยที่เกี่ยวข้ อง ั 2.6.1 งานวิจยในประเทศ ั 2.6.2 งานวิจยต่างประเทศ ั 2.1 อีเมลและจดหมายเวียนทางอีเมล 2.1.1 อีเมลคืออะไร จากการศึกษาคาจากัดความของ "อีเมล " บนอินเทอร์ เน็ต พบว่าเว็บไซต์ หลายแห่ง ให้ ความหมายของคา ว่า อีเมล สอดคล้ องกัน คือ Marriam-Webster’s Online Dictionary28 ให้ คาจากัดความของอีเมล 2 ความหมายคือ ความหมายแรกหมายถึง วิธีการ หรื อ ระบบ การส่ง ข่าวสารทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างคอมพิวเตอร์ และอีกความหมายหนึง หมายถึงตัวข่าวสารที่ รับหรื อ ่ ส่งผ่านระบบอีเมล 28 ‚e-mail,‛ Marriam-Webster’s Online Dictionary, 24 Nov. 2006 <http://www.m-w.com/cgi-bin/dictionary?va=e-mail>.
  • 11. -11- เว็บไซต์ The Free Dictionary by Farlex29 และ Answers.com30 ให้ คาจากัดความของ อีเมลไว้ สอดคล้ องกัน โดยกล่าวว่า อีเมลเป็ นระบบการรับ- ส่งข่าวสารทางอิเล็กทรอนิกส์บนเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ และอีกความหมายหนึงหมายถึงข่าวสารที่สงผ่านระบบนี ้ ่ ่ Pcmac.com31 ให้ คาจากัดความของอีเมลว่า เป็ นการส่ง ข่าวสารข้ อความตัวอักษร (Text messages) ผ่านทางเครื อข่าย ผู้สงสามารถส่ง ไปยัง รายบุคคล หรื อคนจานวนมากได้ อีเมล ่ จะส่งไปยังกล่องจดหมายจาลอง (Simulated mailbox) ของ Server ในเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หรื อใน เครื่ องคอมพิวเตอร์ และเก็บไว้ จนกว่าจะถูกเปิ ดอ่าน หรื อถูกลบทิ ้ง สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี 32 กล่าวว่า อีเมล เป็ นบริการในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ สาคัญที่ มีผ้ นิยมใช้ บริการกันมากที่สด สามารถส่งตัวอักษร ข้ อความ แฟมข้ อมูล ภาพ เสียง ผ่าน ู ุ ้ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ไปยังผู้รับ อาจจะเป็ น คนเดียว หรื อกลุมคน ช่วยให้ สามารถติดต่อสื่อสาร ่ ระหว่างกันได้ ทวโลก มีความสะดวก รวดเร็ว และสามารถสื่อสารถึงกันได้ ตลอดเวลาโดยไม่ต้อง ั่ คานึงถึงว่าผู้รับจะอยูที่ไหน จะใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ อยูหรื อไม่ ่ ่ เว็บไซต์ SearchMobileComputing.com33 กล่าวว่า อีเมลเป็ นการแลกเปลี่ยนข่าวสารใน คอมพิวเตอร์ ข่าวสารมักจะเก็บในรูป Ascii นอกจากนี ้ยังอาจจะเก็บในรูปแบบไฟล์ภาพ เสียง หรื อ แนบไฟล์ชนิด Binary และจัดส่งโดยใช้ วิธี Streaming อีเมลเป็ นบริการอินเทอร์ เน็ตอย่างแรก และ ยังคงได้ รับความนิยมสูงสุด การจราจรบนอินเท อร์ เน็ตที่มากที่สดคืออีเมล อีเมลสามารถส่งไปยัง ุ บุคคลคนเดียว หรื อส่งไปหาบุคคลหลาย ๆ คนในคราวเดียวกัน นอกจากนี ้ ยังสามารถบอกรับข่าวสาร ทางอีเมลเป็ นประจา โดยสมัครเป็ นสมาชิกข่าวสารทางอีเมลได้ อีกด้ วย ศรี ศกดิ์ จามรมาร 34 กล่าวว่าอีเมลเป็ นบริการหนึงที่มีบนเว็บไซต์ ต่าง ๆ แม้ วา อีเมลจะเป็ น ั ่ ่ ของโบราณเริ่มใช้ ตงแต่อินเทอร์ เน็ตเริ่มเกิด แต่อีเมลยังเป็ นการใช้ อินเทอร์ เน็ตที่มากที่สด มีเว็บไซต์ ั้ ุ จานวนมาก ที่ทาขึ ้นเพื่อให้ บริการอีเมลโดยเฉพาะ 29 ‚e-mail,‛ The Free Dictionary by Farlex. Farlex,Inc, 24 Nov. 2006 <http://www.thefreedictionary.com/e-mail>. 30 ‛ Results for e-mail,‛ Answer.com, 24 Nov. 2006 <http://www.answers.com/topic/e-mail>. 31 ‚email,‛ Encyclopedia, Pcmac.com, 24 Nov. 2006 <http://www.pcmag.com/encyclopedia_term/0,2542,t=email&i= 42233,00.asp>. 32 ‚ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail),‛ สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. 24 ต.ค. 2550 <http://www.skn.ac.th/a_cd/internet/ email.html>. 33 ‚E-mail,‛ SearchMobileComputing.com, 24 Nov. 2006 <http://searchmobilecomputing.techtarget.com/sDefinition/ 0,,sid40_gci212051,00.html>. 34 ศรี ศกดิ์ จามรมาร. ั
  • 12. -12- Tschabitscher35 ได้ รวบรวมเว็บไซต์ 10 อันดับแรกที่ให้ บริการ อีเมล ฟรี ได้ แก่ Gmail Inbox.com Fast Mail Guest Account Yahoo Mail AIM Mail Goowy Mail MSN Hotmail My Way Mail Care2 E-mail และ Lycos Mail สาหรับเว็บไซต์ของไทยที่ให้ บริการ อีเมลโดยเฉพาะ และเป็ นที่ นิยม อยูในลาดับที่ 1 ในการจัดอันดับสถิตเิ ว็บไซต์ไทย โดยเว็บไซต์ http://www.truehits.net36 ของ ่ สานักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ ในประเภทอินเทอร์ เน็ต ปี 2548 ได้ แก่ thaimail.com นอกจากนี ้ พบว่าเว็บไซต์หลายแห่ง 37 ระบุวา Hotmail เป็ นเว็บไซต์ที่ให้ บริการ อีเมลฟรี ดีที่ได้ รับความ ่ นิยมมากที่สดในโลก ุ Pfarr38 กล่าวว่า คนจานวนมากสมัคร อีเมลหลายบัญชี บางคนมี อีเมลเพื่อใช้ รับส่งข่าวสาร ที่เกี่ยวกับงานที่ทาอยูโดยเฉพาะ และมีอีเมลอีกบัญชีหนึงสาหรับใช้ สวนตัว Nielsen39 พบว่าโดยเฉลี่ย ่ ่ ่ ผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตมีบญชีอีเมล คนละ 3.1 บัญชี แต่ละบัญชี มีจดประสงค์ในการใช้ งานต่างกัน อย่างไร ั ุ ก็ตาม Pfarr40 กล่าวว่า จุดอ่อนของการมีหลายบัญชี คือ ต้ องเข้ าไปดู แลและใช้ งานเพื่อไม่ให้ อีเมล ขาดอายุการใช้ งาน ซึงต้ องใช้ เวลามาก ่ โดยสรุป อีเมล เป็ นระบบการส่งข่าวสารข้ อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านทางเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ไปยัง Server หรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ บคคล และยังหมายถึงข่าวสารที่สงผ่านโดยวิธี ุ ่ ดังกล่าวอีกด้ วย ตัวข่าวสารมักจะส่งในรูปของรหัสแอสกี ้ ซึง อาจจะมีไฟล์ กราฟิ ก หรื อ ไฟล์อื่น ๆ ่ แนบไปด้ วย อีเมลเป็ นบริการทางอินเทอร์ เน็ต อย่าง แรกและยัง คงมีคนใช้ มากที่สด อีเมลนอกจาก ุ จะส่งไปเป็ นรายบุคคลแล้ ว ยังสามารถส่ง ให้ แก่กลุมคนได้ นอกจากนี ้ยัง สามารถส่งข่าวสารทางอีเมล ่ เป็ นประจา โดยการให้ สมัครเป็ นสมาชิกข่าวสารทางอีเมลได้ อีกด้ วย เว็บไซต์ ของไทยที่ให้ บริการอีเมล ที่ได้ รับความนิยมสูงสุดคือ thaimail ผู้ใช้ สวนใหญ่จะมีบญชีอีเมล มากกว่า 1 บัญชี ่ ั 35 Heinz Tschabitscher, ‚Top 10 Email Services,‛ About.com, About, Inc., 26 Nov. 2006 <http://email.about.com/cs/ freeemailrev iews/tp/free_email.htm>. 36 ‚Truehits 2005 Awards,‛ สานักบริ การเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (สบทร), 26 Nov. 2006 <http://truehits.net/ awards2005/>. 37 ‚Links,‛ 16 ม.ค. 2551<http://www.student.chula.ac.th/~48370768/Link.htm>; ‚ ฟรี อีเมล,‛ องค์การบริ หารส่วนตาบลเขวา สินริ นทร์ ตาบลเขวาสินรินทร์ , 16 ม.ค. 2551 <http://www.geocities.com/kwao_sinnarin/ email.htm>; ‚พรธมลิงค์,‛ 16 ม.ค. 2551 <http://www.oc.sru.ac.th/rPlum/?o=0&c=56>; ‚Search Engine $ Freeware,‛ เสมาทองดอทคอม, 16 ม.ค. 2551 <http://www. semathong.com/ index.php?lay=show&ac=article&Id=200551>. 38 Walter Pfarr, "Email Accounts: Why More Than One," EzineArticles, 27 Dec. 2004, 3 Nov. 2007 <http://ezinearticles.com/ ?Email- Accounts:-Why-More-Than-One&id=7678>. 39 Jakob Nielsen, ‚Email Newsletters: Surviving Inbox Congestion,‛ Jakob Nielsen's Alertbox, 12 Jun. 2006, 3 Nov. 2007 <http://www.useit.com/ alertbox/newsletters.html>. 40 Pfarr.
  • 13. -13- 2.1.2 ข้ อดีของอีเมล เว็บไซต์ Bartleby.com41 ได้ กล่าวถึงจุ ดเด่นของ อีเมล ว่าเป็ น การสื่อสารในลักษณะ Asynchronous สามารถสื่อสารได้ รวดเร็ว และสามารถสื่อสารได้ ในหลายรูปแบบ กล่าวคือ ผู้สงและ ่ ผู้รับข่าวสาร ไม่จาเป็ นต้ องอยูพร้ อมกันในขณะสื่อสารเหมือนการสื่อสารโดยทัวไป ซึงทังผู้รับและผู้สง ่ ่ ่ ้ ่ สารจาเป็ นต้ องอยูพร้ อมกันจึงจะสามารถสื่อสารกันได้ อีกทังการส่ง อีเมลสามารถทาได้ รวดเร็ว โดยใช้ ่ ้ เวลาเป็ นหน่วยวินาทีเท่านันในการ ส่งข่าวสารเชื่อมโยงกัน ทัวทุกมุมโลก ทาให้ คนที่อยูหางไกลกัน ้ ่ ่ ่ ทางานด้ วยกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และนอกจากนี ้ ยังสามารถส่งได้ หลายรูปแบบ เช่น ส่งข่าวสาร รายบุคคล หรื อ จัดส่ง เป็ นกลุมในคราวเดียวกัน โดยไม่จาเป็ นต้ องทาสาเนาส่งไปยังสมาชิกเป็ น ่ รายบุคคล ดังนันจึงเป็ นการสื่อสารที่รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ เช่น การคลิกเมาส์ 1 ครัง สามารถส่ง ้ ้ เอกสารทังเล่มไปยังบุคคลต่าง ๆ จานวนมากได้ จุดเด่นของอีเมลอีกประการหนึงคือ เป็ นรูปแบบหนึง ้ ่ ่ ในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต 42 นอกเหนือไปจากการเรี ยนการสอนในห้ องเรี ยน อีกทังยังสามารถใช้ ้ สาหรับฝึ กทักษะการเขียน มีเวลาเรี ยนไม่จากัด ตลอด 24 ชัวโมง ส่งงานง่าย สามารถเข้ าถึงข่าวสาร ่ ได้ ทวโลก ในทางการค้ า McDonald43 กล่าวว่า อีเมลสามารถให้ ผลตอบกลับทางการลงทุน (ROI: ั่ Return On Investment) ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ Wikipedia44 สรุปข้ อดีของอีเมล ดังนี ้ 1. เสียค่าใช้ จายน้ อยกว่าการใช้ สื่ออย่างอื่น ่ 2. ถ้ าทาอย่างเหมาะสม จะสามารถให้ ผลตอบแทนสูง คุ้มการลงทุน 3. มีความรวดเร็ว กว่าการส่งทางไปรษณีย์ปกติ 4. เป็ นการส่งข่าวสารไปยังผู้รับโดยตรง ซึ่งต่างกับเว็บไซต์ที่รอให้ ผ้ ใช้ เข้ าไปค้ น หา ู ข้ อมูล 5. สามารถติดตามได้ วามีการใช้ อย่างไร โดยใช้ Web bug, Bounce message ่ หรื อ Click-through เป็ นต้ น 7. สามารถเข้ าถึงคนเป็ นจานวนมากได้ โดยให้ สมัครรับจดหมายเวียนทางอีเมล 8. ผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตส่วนใหญ่เมื่อเปิ ดเครื่ องแล้ ว มักจะตรวจอีเมล เป็ นสิ่งแรก 41 ‚Email,‛ The American Heritage® Book of English Usage, 24 Nov. 2006 <http://www.bartleby.com/64/9.html>. 42 Ellen Strenski, ‚Using E-Mail as a Learning Tool: Advantages of email for students,‛ University of California, Irvine, 28 Jul. 1988, UCI, 25 Nov. 2006 <http://eee.uci.edu/faculty/strenski/summer1.html>. 43 Loren McDonald, ‚Using Email Marketing to Enhance the Success of Trade Shows,‛ EmailLabs, 11 Oct. 2002, Lyris, Inc., 7 Dec. 2006 <http://www.emaillabs.com/email_marketing_articles/article_emailandtradeshows.html>. 44 ‚E-mail marketing,‛ Wikipedia:the Free Encyclopedia, 4 Dec. 2006, the Wikimedia Foundation, Inc., 5 Dec. 2006 <http://en.wikipedia.org/wiki/E-mail_marketing>.
  • 14. -14- 9. สามารถสร้ างปฏิสมพันธ์ และนาไปสูขาวสารอื่นได้ โดยอัตโนมัติ ั ่่ ดังนัน จึงอาจกล่าวได้ วา อีเมลมีข้อดี คือช่วยให้ เกิดการสื่อสารที่รวดเร็ว ผู้สงและผู้รับไม่ ้ ่ ่ จาเป็ นต้ องอยูพร้ อ มกัน เพราะสามารถสื่อสารใน ลักษณะ Asynchronous เสียค่าใช้ จายต่า สามารถ ่ ่ ส่งถึงคนจานวนมาก และสามารถนามาใช้ จดการศึกษาตลอดชีวิต ได้ อีกด้ วย ั 2.1.3 ข้ อจากัดของอีเมล การนาอีเมลไปใช้ ในงานเฉพาะด้ าน อาจมี ข้อจากัดตามลักษณะงาน เช่น เมื่อนาไป ใช้ ใน การให้ บริการให้ คาปรึกษา Mulhauser45 พบว่า การใช้ อีเมลไม่สามารถเห็นหน้ ากันได้ ไม่สามารถ สังเกตคาพูด อาการกริยา และโดยเฉพาะการที่ผ้ ูสื่อสารและผู้รับสารไม่ อยูพร้ อมกัน ในการรับส่ง อีเมล ่ ทาให้ ไม่สะดวกใน การนัดหมาย หรื อ ได้ รับคาตอบ ล่าช้ า ดังนัน ถ้ าเป็ นเรื่ องเร่งด่วนจึง ้ ไม่สามารถใช้ อีเมลได้ และนอกจากนี ้ ยังเป็ นการเพิ่ม ความยุงยากซึงมีสาเหตุ มาจากอินเทอร์ เน็ต เช่น ่ ่ ปั ญหาด้ านฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์ แวร์ และการเชื่อมต่อ ซึงบางครังอาจจะทาให้ การให้ คาปรึกษาไม่อาจ ่ ้ กระทาได้ นอกจากนี ้ Strenski46 กล่าวถึงการใช้ อีเมล กับนักเรี ยนว่า อีเมล มีความไม่ ยุตธรรมทาง ิ เศรษฐกิจในด้ าน ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์ แวร์ และ ด้ านผู้ให้ บริการทางอินเทอร์ เน็ต (ISP หรื อ Internet Service Provider) นอกจากนี ้ นักเรี ยนยังต้ องมีความรู้ และทักษะการใช้ เทคโนโลยี อีกด้ วย และ โดยเฉพาะข่าวสารจากอีเมลส่วนใหญ่ไม่มีคณค่า ส่วนใหญ่เป็ นอีเมลขยะ ุ ปั ญหาหลักของอีเมลคือเรื่ อง จดหมายขยะ หรื อ Spam47 ที่ถกส่งไปยังกล่องจดหมาย โดย ู ไม่ได้ รับการเชื ้อเชิญ ในเดือนมิถนายน 2549 มีรายงาน จาก IronPort48 ว่า มีอีเมลขยะถูกส่งถึง ุ 55,000,000,000 (ห้ าหมื่นห้ าพันล้ าน) ฉบับต่อวัน จานวนนี ้ มากกว่า ร้ อยละ 12 เป็ นอีเมลขยะที่สงใน ่ ลักษณะภาพ กราฟิ ก ซึงสามารถหลบรอดการกรองของตัวกรองใน อีเมล ได้ ถึง ร้ อยละ 78 และ ่ ในปั จจุบน พบว่า มีวิธีการหลบหลีกการกรองเพื่อให้ อีเมล ขยะเข้ าถึงเปาหมายได้ มากขึ ้น 49 เช่น ั ้ 45 Greg Mulhauser, ‚Disadvantages of Counselling or Therapy by Email,‛ CounsellingResource.com, 24 Nov. 2006. 25 Nov. 2006 <http://counsellingresource.com/counselling-service/online-disadvantages.html>. 46 Ellen Strenski, ‚Using E-Mail as a Learning Tool: Disadvantages of email for students,‛ University of California, Irvine. 28 Jul. 1988, 25 Nov. 2006 <http://eee.uci.edu/faculty/strenski/summer2.html>. 47 Chris Pirillo, ‚Why is RSS Important?‛ Lockergnome, 1 Dec. 2006 <http://channels.lockergnome.com/rss/ resources/articles/about.phtml>; Knight, Christopher. ‚22 Reasons Why Email Is not Dead.‛ Emailuniverse.com. 21 May 2004. Ezine Publishing. 1 Dec. 2006 <http://emailuniverse.com/ezine-tips/?22-Reasons-Why-Email-Is-Not-Dead&id=1060>; ‚E-mail spam.‛ Wikipedia:the Free Encyclopedia. 29 Nov. 2006. The Wikimedia Foundation, Inc. 1 Dec. 2006 <http://en.wikipedia.org/wiki/E-mail_spam>. 48 ‚Spammers Continue Innovation: IronPort Study Shows Image-based Spam, Hit & Run, and Increased Volumes Latest Threat to Your Inbox,‛ Ironport.com, IronPort Systems, Inc., 1 Dec. 2006 <http://www.ironport.com/company/ironport_pr_2006-06-28.html>. 49 ‚Spammers Continue Innovation: IronPort Study Shows Image-based Spam, Hit & Run, and Increased Volumes Latest Threat to Your Inbox.‛
  • 15. -15- มีการหมุนเวียนใช้ URL ในการส่งอีเมลขยะ โดยแอบใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ อื่น เป็ นฐานในการส่ง อีเมล ขยะ โดยใช้ IP address และ URL ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ นน ๆ และจะหมุนเวียนไปยังเครื่ อง ั้ คอมพิวเตอร์ อื่น ๆ IronPort รายงานว่า ระยะเวลาในการใช้ URL หนึง ๆ เพื่อส่ง อีเมลขยะในเดือน ่ มิถนายน 2549 ลดลงเหลือ 4 ชัวโมง จาก 48 ชัวโมง ในเดือนมิถนา ยน 2548 ก่อนที่จะเปลี่ยนไปใช้ ุ ่ ่ ุ URL อื่น การลดเวลาลง เช่นนี ้ ทาให้ สามารถหลุดรอดจากการถูกจับได้ และการถูก ขึ ้นบัญชีดาเป็ น อีเมลขยะ รัฐบาลอเมริกน ได้ ออกกฎหมาย ชื่อ CAN Spam Act ซึง เป็ นกฎหมาย เกี่ยวกับการส่ง ั ่ จดหมายเวียนเพื่อการค้ าทางอีเมล และกาหนดให้ จดหมายเวียนทางอีเมล มีลกษณะ ดังนี ้ 50 ั 1. ให้ มีข้อความบอกยกเลิกการรับจดหมายเวียนทางอีเมล ในตัวจดหมาย 2. ให้ มีข้อมูลที่ถกต้ องในบรรทัดหัวข้ อเรื่ อง (Subject) และส่วนหัว (Header) ู 3. ให้ มีที่อยูอีเมลของผู้สง ่ ่ 4. ให้ มีปายบอกแจ้ งเตือนถ้ าเป็ นเนื ้อหาเกี่ยวกับทางเพศ ้ ทังนี ้ ยกเว้ นข้ อมูลเกี่ยวกับ ศาสนา การโฆษณาที่เ ป็ นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง หรื อความ ้ มันคงของชาติ ่ กล่าวโดยสรุป ปั ญหาของ อีเมลได้ แก่ ปั ญหาด้ านฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และความเร็วในการ เชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ต ปั ญหาเกี่ยวกับ อีเมล ขยะ ตลอดจนไม่เหมาะสมกับเรื่ องเร่งด่วน และการ นัดหมาย เนื่องจากผู้รับและผู้สงข่าวไม่ได้ อยูพร้ อมกัน ณ ขณะนัน จึงอาจทาให้ การนัดหมายล่าช้ า ่ ่ ้ 2.1.4 อีเมลขยะ หรื อ Spam ThaiCERT51 ให้ คาจากัดความของคาว่า จดหมายขยะ หรื อ Spam ว่า หมายถึง การส่ง จดหมายอีเมลแต่ละฉบับไปหาคน จานวนมาก Mueller52 ให้ คาจากัดความ อีเมลขยะ ว่า เป็ น อีเมลที่ บังคับส่งไปยังอีเมลของผู้รับ โดยผู้รับไม่ต้องการ Office of the Attorney General53 เรี ยกอีเมลขยะว่า 50 ‚The Can-Spam Act 2003,‛ Legalarchiver.org, 5 Dec. 2006 <http://www.legalarchiver.org/cs.htm>; ‚CAN-SPAM ACT OF 2003,‛ Wikipedia:the Free Encyclopedia, 1 Dec. 2006, the Wikimedia Foundation, Inc., 05 Dec. 2006 <http://en.wikipedia.org/wiki/CAN- SPAM_Act_of_2003>. 51 ‚mail spam/bomb คืออะไร,‛ ThaiCERT: Thai Computer Emergency Response Team (ศูนย์ประสานงานการรักษาความ ปลอดภัยคอมพิวเตอร์ ประเทศไทย, 7 ธ.ค. 2549 <http://www.thaicert.nectec.or.th/paper/email/prevention.php>. 52 Scott Hazen Mueller, ‚What is spam?‛ Spam.abuse.net, Barracuda Networks, 8 Dec. 2006 <http://spam.abuse.net/ ov erview/whatisspam.shtml>. 53 ‚Junk Email,‛ Washington State Office of the Attorney General, 9 Dec. 2006 <http://www.atg.wa.gov/junkemail/>.
  • 16. -16- เป็ นข่าวสารการพาณิชย์ที่ไม่ได้ รับการเชื ้อเชิญ Chang54 กล่าวว่า ผู้ใช้ อีเมลของอเมริกาจานวน 126 ล้ านคน ลดความเชื่อถือ อีเมลลง มีสาเหตุเนื่องมาจาก อีเมลขยะ ที่ เข้ าไปอยูในกล่องจดหมายจานวน ่ มาก ยิ่งกว่านัน ผู้ใช้ อีเมล จานวน 1 ใน 4 คน ลดการใช้ อีเมลลงเพราะอีเมลขยะ มีผ้ ใช้ กรองปองกัน ้ ู ้ อีเมลขยะมากขึ ้น แต่การกรองขยะ มีผลเสีย ทาให้ อีเมลดี ๆ ไม่สามารถเข้ าไปยังกล่องจดหมาย ได้ เช่นเดียวกัน นอกจากนี ้ การมีอีเมลขยะมาก ๆ ในกล่องจดหมาย ทาให้ มองข้ ามจดหมายที่ดี Chang55 กล่าวถึงอีเมลขยะที่มีผลต่ออีเมล ดังนี ้ 1. ผู้ใช้ อีเมล ร้ อยละ 75 มีความวิตกว่าไม่สามารถหยุดการเข้ ามาของ อีเมลขยะได้ ไม่วาจะใช้ มาตรการใด ๆ ก็ตาม ่ 2. ผู้ใช้ อีเมล ร้ อยละ 70 กล่าวว่าอีเมลขยะ ทาความราคาญในการใช้ อีเมล 3. ผู้ใช้ อีเมล ร้ อยละ 55 กล่าวว่า อีเมล ขยะเป็ นอุปสรรคในการค้ นหา อีเมล ที่ ต้ องการ 4. ผู้ใช้ อีเมล จานวน 1 ใน 3 คน กล่าวว่า อีเมลร้ อยละ 80 ในกล่องจดหมายเข้ า เป็ น อีเมลขยะ Chang56 กล่าวว่า อีเมลขยะจะยังคงอยูคกบโลกอินเทอร์ เน็ต เพราะยังมีผ้ คลิก อีเมลขยะ ซึง ่ ู่ ั ู ่ เป็ นการบอกผู้สง อีเมลขยะ ว่าการส่ง อีเมลขยะสามารถไปถึงกลุมเปาหมายได้ ผู้ใช้ อีเมลของอเมริกา ่ ่ ้ จานวน ร้ อยละ 7 หรื อประมาณ 8 ล้ านคน เคยซื ้อสินค้ าหรื อบริการจาก อีเมลขยะ ผู้ใช้ จานวน 1 ใน 3 คน เคยคลิกการเชื่อมโยงในอีเมลขยะเพื่อขอดูข้อมูลเพิ่มเติม Office of the Attorney General57 แบ่งประเภทของอีเมลขยะเป็ น 2 ประเภทคือ ถูกต้ อง ตามกฎหมาย และผิดกฎหมาย อีเมลขยะที่ผิดกฎหมาย ได้ แก่อีเมลขยะที่มีชื่อผู้สงไม่ถกต้ อง หรื อมุงที่ ่ ู ่ จะให้ เข้ าใจผิด เช่น ทาเสมือนกับส่งมาจากบริษัทที่มีชื่อเสียง โดยมีจดประสงค์ที่จะทาลายชื่อเสียง ุ ของบริษัท หรื อ ต้ องการหลอกเอาข้ อมูลส่วนบุคคลของผู้รับ อีเมล เป็ นต้ น กฎหมาย CAN Spam Act ของอเมริกา ระบุวา อีเมลขยะเพื่อการพาณิชย์เป็ นสิ่งถูกต้ อง ถ้ าหากมีการระบุ ว่าเป็ น อีเมลที่สงมาใน ่ ่ ลักษณะนี ้ และ สามารถให้ ผ้ รับบอกยกเลิกการรับได้ อย่างชัดเจน ู 54 Rita Chang, ‚Could Spam Kill Off E-Mail?‛ PCWorld, 22 Oct. 2003, PC World Communications, Inc., 9 Dec. 2006 <http://www.pcworld.com/article/id,113061-page,1/article.html>. 55 Chang. 56 Chang. 57 ‚Junk Email.‛
  • 17. -17- โดยสรุป อีเมลขยะได้ แก่ อีเมลที่สงไปถึงคนจานวนมาก โดยที่ไม่ได้ รับการเชื ้อเชิญ สร้ าง ่ ความราคาญให้ แก่ผ้ รับจดหมายเวียนทางอีเมล อีเมลขยะบางอย่างมีเจตนาหลอกลวง ทาให้ ผ้ อื่นเสีย ู ู ชื่อเสียง หรื อมีเจตนาหลอกเอาข้ อมูลส่วนตัวของผู้รับอีเมล 2.1.5 การส่งจดหมายเวียนทางอีเมล เว็บไซต์ Melissanorfolk.net.au58 กล่าวว่า การส่ง จดหมายเวียนทาง อีเมลจากเว็บไซต์ ไป ยังสมาชิก เป็ นบริการหนึงที่เว็บ ไซต์ จานวนมากนิยมใช้ เป็ นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการติดต่อกับ ่ ลูกค้ าอีกทังยังทาให้ ผ้ ใช้ มีความรู้สกเป็ นส่วนตัวมากกว่ าการใช้ เว็บไซต์ตามปกติทวไป จากการศึกษา ้ ู ึ ั่ ของ Nielsen59 พบว่า การใช้ จดหมายเวียนทางอีเมลช่วยสร้ างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้ เว็บ ทาให้ เกิด ความรู้สกผูกพัน และเป็ นส่วนตัวมากกว่าการใช้ เว็บไซต์ โด ยกล่าวว่า การใช้ เว็บไซต์ผ้ ใช้ มุงที่จะหา ึ ู ่ ข้ อมูลข่าวสารตามต้ องการ เป็ นการใช้ เว็บไซต์เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการค้ นหาข่าวสารข้ อมู ล เมื่อได้ ข้ อมูลตามต้ องการแล้ ว จะออกจากเว็บ ไซต์ นน ซึงต่างจากการใช้ จดหมายเวียนทาง อีเมล ที่ทาให้ มี ั้ ่ ความรู้สกเป็ นส่วนตัวและมีความเป็ นเจ้ าของ เพราะ จดหมายเวียนทางอีเมล ไปปรากฏ ในกล่อง ึ จดหมายอีเมลของผู้ใช้ อีเมลแต่ละคน แต่เว็บไซต์เป็ นหน้ าเว็บของผู้อื่น ดังนันการใช้ จดหมายเวียนทาง ้ อีเมลจึงเป็ นการสร้ างความผูกพันระหว่างผู้ใช้ กบบริษัทได้ มากกว่าเว็บไซต์ ความผูกพันนี ้ ในทางดี ั ช่วยให้ ผ้ รับ จดหมายเวียนทางอีเมล และผู้สงมีความรู้สกใกล้ ชิดกัน แต่หากมีปัญหาเกิดขึ ้นจะส่งผล ู ่ ึ กระทบมากกว่าปกติ Roberts60 อธิบายเพิ่มเติมว่า ความผูกพันนี ้เป็ นสิ่งมีคณค่ามาก หาก จดหมาย ุ เวียนทางอีเมลนันได้ ผล แต่ถ้า จดหมายเวียนทาง อีเมลไม่ประสบผลจะส่งผลรุนแรงต่อ ความสัมพันธ์ ้ ระหว่างผู้รับ จดหมายเวีย นทางอีเมล และผู้จดทา จดหมายเวียนทาง อีเมล นอกจากนี ้ Roberts61 ให้ ั เหตุผลความผูกพันที่เกิดขึ ้นว่า ส่วนหนึงเกิดจากการที่ผ้ รับ จดหมายเวียนทาง อีเมลต้ องลงทุนสมัคร ่ ู เป็ นสมาชิก ซึงผิดกับการใช้ เว็บไซต์ที่ไม่ต้องลงทุน เหมือนการ ชมสินค้ าที่จดวางไว้ ในร้ านค้ า จึงไม่เกิด ่ ั ความผูกพัน Pollard62 มีความเห็นสอดคล้ องกับ Roberts63 ในด้ านความผูกพัน โดยเฉพาะมีความ 58 ‚Email Marketing,‛ Melissa Norfolk Web Design, 25 Nov. 2006 <http://www.melissanorfolk.net.au/internetmarketing/ emailmarketing.html>; Loren McDonald, ‚Permission Email Marketing:’Permission’ is Not Optional,‛ EmailLabs, 30 Nov. 2005, Lyris, Inc., 5 Dec. 2006 <http://www.emaillabs.com/email_marketing_articles/ permission_email_marketing_matters.html>. 59 Jakob Nielsen, ‚Email Newsletters Pick Up Where Websites Leave Off,‛ Jakob Nielsen’s Alertbox, 30 Sept. 2002, Nielsen Norman Group, 25 Nov. 2006 <http://www.useit.com/alertbox/20020930.html>. 60 Janet Roberts, ‚Email Newsletter Publishing Strategies: Making the Emotional Connection with Readers,‛ Email Universe.com, 1 Oct. 2002, Ezine Publishing, 26 Nov. 2006 <http://emailuniverse.com/ezine-tips/?Making-the-Emotional-Connection-with-Readers&id=771> 61 Roberts. 62 Stefan Pollard, ‚The 5 Biggest email Brand-Killers,‛ EmailLabs, 1 Sept. 2006, Lyris, Inc., 5 Dec. 2006 <http://www.emaillabs.com/email_marketing_articles/biggest_email_brand_killers.html>.