SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
หลักสูตรที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร(MIS)
สาหรับผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และ
หลักสูตรที่ 7
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร(MIS)
สาหรับผู้อานวยการโรงเรียน
เรียบเรียงโดยคณะผู้จัดทาจาก
มหาวิทยาลัยนเรศวร
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
กระทรวงศึกษำธิกำร
สารบัญ
1. แผนปฏิบัติราชการและนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ........................................................................................................
2. บทบาทหน้าที่และภาระกิจ.................................................................................................................................................
3. บทบาทผู้บริหารกับเทคโนโลยีสารสนเทศ..........................................................................................................................
4. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารจัดการระบบ......................................................................
5. ระบบ Management Information Systems (MIS) เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ.............................................................
6. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารด้านกลยุทธ์........................................................................
7. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารองค์กรและบุคลากร...........................................................
8. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารกระบวนการและประสิทธิภาพ...........................................
9. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารด้านบัญชีและการเงิน.........................................................
10. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารความเสี่ยง..........................................................................
11. ระบบ Management Information Systems (MIS) เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก สมศ.......................................
คานา
เอกสารฉบับนี้ จัดทาขึ้นใช้ประกอบการฝึกอบรมพัฒนาผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์และครูผู้สอนในสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในแต่ละภูมิภาคตาม “โครงการเพื่อพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศโรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน” โดยมุ่งเน้นให้ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครู
ให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคอมพิวเตอร์ใน
โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสามารถจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับบริบทนักเรียน สถานศึกษา
แต่ละภูมิภาค รวมทั้งเพื่อก่อให้เกิดองค์ความรู้การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อเพื่อการศึกษาแบบบูรณาการผ่านระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ภายใต้บริบททางการศึกษาของประเทศไทย สามารถนาไปขยายผลและพัฒนาต่อยอดได้ตามบริบทของ
สถานศึกษาในแต่ละภูมิภาค
5
1. แผนปฏิบัติราชการและนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
1.1 ภาพรวมการศึกษาในประเทศไทยเมื่อเทียบกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน
จากข้อมูลการประชุมของ World Economic Forum (WEF)-The Global Competitiveness Report
2012-2013 ซึ่งเป็นการประชุม "เวทีเศรษฐกิจโลก" ที่จัดขึ้นเป็นประจาทุกปีโดยองค์กรอิสระที่ไม่หวังผลกาไรและได้รับ
การยอมรับอย่างกว้างขวางในระดับนานาชาติ โดยผลที่ได้จากการประชุมจะมีส่วนสาคัญในการเสนอแนะทิศทาง
กาหนดนโยบายด้านเศรษฐกิจสังคมและการพัฒนาระหว่างประเทศนั้น ได้จัดอันดับคุณภาพการศึกษาของประเทศใน
กลุ่มอาเซียน จากข้อมลการประชุม World Economic Forum (WEF) 2012-2013 ซึ่งแสดงตามลาดับ ดังนี้
รูปที่ 1 คุณภาพการศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน (AEC)
คุณภาพการศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน ผลการจัดอันดับได้สรุปว่า เงินทุนไม่ใช่ปัจจัยสาคัญที่สุด
ของการมีระบบการศึกษาที่ดี และการที่ครูอาจารย์มีเงินเดือนสูงก็ไม่ได้หมายความว่าจะมีความสามารถทางการสอน
สูงตามไปด้วย สาหรับประเทศไทยในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านดาเนินการผลักดันเรื่องเงินเดือนครู ซึ่งเป็นสิ่งที่ดี แต่เราก็ต้อง
เร่งรัดครูในเรื่องประสิทธิภาพในการสอนควบคู่กันไปด้วย
รูปที่ 2 ข้อมูลสะท้อนคุณภาพการศึกษาไทย
จากการเปรียบเทียบดังกล่าว สามารถจาแนกข้อมูลจัดลาดับมหาวิทยาลัยในประเทศอาเซียน 10 ลาดับ
สถานศึกษาแรก ซึ่งแสดงรายชื่อมหาวิทยาลัยได้ ดังนี้
6
รูปที่ 3 ข้อมูลจัดลาดับมหาวิทยาลัยในประเทศอาเซียน 10 ลาดับ
รูปที่ 4 ข้อมูลประธานองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่นประจากรุงเทพ
1.2 จุดมุ่งหมายของการบริหารจัดการนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติให้เป็นไปตาม ICT 2020
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา78(3) ระบุหน้าที่ของรัฐอย่างชัดเจนในการกระจายโครงสร้าง
พื้นฐานสารสนเทศในท้องถิ่นให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกันทั่วประเทศ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้จัดทา
กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ.2554-2563 ของประเทศไทย (ICT 2020) โดยคณะรัฐมนตรี
ได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 2 ก.พ.2553 ซึ่งตามมติคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจโดยมอบหมายให้กระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร พิจารณาข้อเท็จจริง และสถาพปัญหาที่ทาให้อัตราการเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ต(Broadband
7
Internet)ของประชาชนในสภาพปัจจุบันในระดับต่าและแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงบริการ
อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึงซึ่งบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร และกสทช เมื่อวันที่ 21ก.ค. 2553 เพื่อร่วมกันจัดทาร่างนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติซึ่งเป้าหมาย
คือ
รูปที่ 5 นโยบายพัฒนาเทคโนโลบีสารสนเทสและการสื่อสารของไทย
 ให้โครงข่ายบรอดแบนด์ครอบคลุมประชากร ไม่ต่ากว่า 80% ใน ปี 2558 และไม่ต่ากว่า 95% ในปี 2563 โดย
ต้องได้มาตรฐานและราคาเป็นธรรม โดยเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค มี Optical Fiber ไม่ต่ากว่า 100
Mbps
 โดยประชาชนสามารถได้รับบริการบรอดแบนด์อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมในด้านต่างๆ อาทิ
o ด้านการศึกษาปี 2558 ในระดับตาบลและปี 2563 ทั่วประเทศ
o ด้านสาธารณสุขปี 2558 ในระดับตาบล
o ด้านการให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ปี 2558 ในระดับองค์การปกครองท้องถิ่น
o ด้านการเฝ้าระวังและเตือนภัยพิบัติและภัยธรรมชาติให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องอย่างทันท่วงที
 ภาคธุรกิจสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากบรอดแบนด์
o การแข่งขันของประเทศเรื่องโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีให้อยู่ในกลุ่ม TOP 25% (World
Competitiveness Ranking)
o เกิดการขยายตัวของธุรกิจเชิงสร้างสรรค์
o มูลค่า e-Commerce ต่อ GDP เป็น 10% ภายในปี 58
8
 ลดการใช้พลังงานและการใช้ทรัพยากร
 ลดต้นทุนการให้บริการบรอดแบนด์โดยรวม
 เกิดการพัฒนา Content และ Application ที่เป็นประโยชน์
 ประชาชนมีความรู้การเข้าถึงคุณค่าและความเสี่ยงของการใช้ ICT ที่เร่งตัวเร็วขึ้น
 อุตสาหกรรมการผลิต ICT มีการพัฒนาสู่ระดับสากล
ปัจจุบันประเทศไทยเป็น 1 ใน 10 อันดับแรกของประเทศที่มีความพร้อมของโครงข่ายโทรคมนาคมลดลงเป็นอย่าง
มาก โดยจากการศึกษาของ World Economic Forum พบว่าอันดับความพร้อมใช้งานโครงข่ายโทรคมนาคมของประเทศ
ไทยในปี พ.ศ. 2554 อยู่ที่อันดับ 59 ลดลงจากปี พ.ศ. 2549 ที่อยู่ในอันดับ 37 ขณะที่ประเทศเพื่อนบ้านอย่างเวียดนามนั้นมี
อันดับที่ดีขึ้น ประเทศไทยจึงจาเป็นจะต้องพัฒนาด้าน ICT ทั้งในส่วนโครงสร้างพื้นฐาน และรูปแบบการใช้งาน
(Applications) รวมทั้งบริการอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ อย่างเร่งด่วน เนื่องจากเป็นปัจจัยสาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจในยุค
Digital economy
ดังนั้น กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในฐานะหน่วยงานหลักซึ่งทาหน้าที่กาหนดนโยบายเพื่อพัฒนา
ประเทศด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงได้ดาเนินโครงการ SMART THAILAND ซึ่งเป็นโครงการที่สอดรับกับ
นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ และนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยสาหรับปี พ.ศ. 2554-2563
หรือ ICT 2020 รวมถึงนโยบายของรัฐบาล โดยกระทรวงฯ ได้ดาเนินงานหลักๆ ใน 2 ส่วน คือ
o SMART NETWORK เป็นการจัดทาโครงสร้างพื้นฐานของโครงข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ที่เน้น
เทคโนโลยีการเชื่อมต่อผ่านสายเคเบิลใยแก้วนาแสงเป็นหลัก โดยมีเป้าหมายในการขยายโครงข่าย
อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุมประชากรร้อยละ 80 ในอีก 3 ปีข้างหน้า และร้อยละ 95 ภายในปี
พ.ศ. 2563
o SMART GOVERNMENT เป็นการส่งเสริมการให้บริการผ่านโครงข่าย SMART NETWORK ซึ่งบริการ
อิเล็กทรอนิกส์และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์นั้น มีความสาคัญต่อการกระตุ้นความต้องการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงของประชาชนเป็นอย่างยิ่ง กระทรวงฯ จึงได้มอบหมายให้สานักงานพัฒนา
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) เป็นผู้ดูแลและส่งเสริมการเติบโตของธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ในขณะเดียวกันยังจะได้ผลักดันบริการอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ของภาครัฐ โดยใน
ขั้นแรกจะเป็นการผลักดันบริการที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนอย่างทั่วถึง และลดความเหลื่อมล้าในการ
เข้าถึงบริการและโครงข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงของประชาชนในเขตเมืองและชนบท เช่น โครงการ
รักษาพยาบาลทางไกล โครงการศึกษาทางไกล
9
รูปที่ 6 ICT 2020 Framwork
รูปที่ 7 ตาแหน่งในการทดสอบระบบความเร็วเฉลี่ยระบบอินเทอร์เน็ตประเทศไทย
10
รูปที่ 8 ความเร็วเฉลี่ยระบบอินเทอร์เน็ตประเทศไทย
1.2 สาระสาคัญของแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ของกระทรวงศึกษาธิการ
o ตัวชี้วัดตามเป้าประสงค์และค่าเป้าหมาย (Key Performance Indicator : KPI)
ลาดับ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย
1 ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามัคคีปรองดอง และ/หรือกิจกรรม
ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ร้อยละ 100
2 ร้อยละของผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่
ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ร้อยละ 100
3 จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรวัยแรงงาน
- อายุ15-39 ปี
- อายุ15-59 ปี
10.92 ปี
9.1 ปี
4 ร้อยละของกาลังแรงงานมีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายขึ้นไป
เปรียบเทียบกับเปูาหมายการดาเนินงาน
ร้อยละ 42
5 สัดส่วนผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา 45 : 55
6 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษา
ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระในสาขาที่เกี่ยวข้องภายใน 1 ปี
ร้อยละ 76
7 ร้อยละของนักศึกษา มัคคุเทศก์และประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะทางด้านภาษาและ
ความรู้ความเข้าใจประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวของประเทศ
เปรียบเทียบกับเปูาหมายการดาเนินงาน
ร้อยละ 80
8 จานวนผู้มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับ
การพัฒนาและส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง
25,000 คน
9 จานวนผลงานวิจัยด้านการรักษาพยาบาลที่นาไปใช้ประโยชน์ 700 เรื่อง
10 จานวนผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เผยแพร่ในวารสาร หรือนาไปใช้อ้างอิง ในระดับชาติหรือ
นานาชาติ หรือนาไปใช้ประโยชน์หรือต่อยอดในเชิงพาณิชย
2,405 เรื่อง
11
ลาดับ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย
11 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(O-NET) (โดยมีการแบ่งวัด 3 ระดับชั้น คือ ป.6 ม.3 ม.6 และแบ่งตาม
รายวิชาหลัก 8 วิชา)
เพิ่มขึ้นร้อยละ 2
12 ร้อยละของสถานศึกษาทุกระดับและประเภทที่เข้ารับการประเมินและได้รับการรับรอง
คุณภาพจาก สมศ.
- สถานศึกษาระดับปฐมวัย
- สถานศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (ประถมและมัธยม)
- สถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา
- สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ร้อยละ 97
ร้อยละ 87
ร้อยละ 95
ร้อยละ 97
13 ร้อยละของนักเรียน นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดเปรียบเทียบ
กับเปูาหมายการดาเนินงาน
ร้อยละ 100
14 ร้อยละของนักเรียน นักศึกษา ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
ที่ได้รับการปลูกฝังจิตสานึกและค่านิยมให้มีความซื่อสัตย์สุจริตเปรียบเทียบกับเปูาหมายการด
าเนินงาน
ร้อยละ 100
15 ร้อยละของเด็ก เยาวชน และประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการ
อนุรักษ์ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมไทย เปรียบเทียบกับเป้าหมายการ
ดาเนินงาน
ร้อยละ 100
16 ร้อยละของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้รับการส่งเสริมและพัฒนา
ให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ เปรียบเทียบกับเป้าหมายการดาเนินงาน
ร้อยละ 80
17 ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการส่งเสริมสวัสดิการ
และสวัสดิภาพ สิทธิประโยชน์เกื้อกูล ความมั่นคงและผดุงเกียรติ
และความก้าวหน้าในวิชาชีพ เปรียบเทียบกับเป้าหมายการดาเนินงาน
ร้อยละ 80
18 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ
บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนด
ร้อยละ 95
19 ร้อยละของผู้เรียน เยาวชนและประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและทักษะด้านอาชีพ สามารถมีงานทาหรือ
นาไปประกอบอาชีพ หรือมีรายได้เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 80
20 ร้อยละของนักเรียน นักศึกษา ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
หรือผู้ที่เข้ารับการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศ
และ/หรือภาษาของประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคอาเซียน หรือทักษะการค้าและพัฒนา
สามารถผ่านเกณฑ์ที่กาหนด โดยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย การดาเนินงาน
ร้อยละ 80
21 จานวนหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการที่ได้รับการบริการเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
35,022 แห่ง
12
2. บทบาทหน้าที่และภาระกิจ
2.1 การบริหารจัดการการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 ได้บัญญัติถึงงานการ
บริหารจัดการศึกษาประกอบด้วย
 งานวิชาการเป็นงานหลัก
 งบประมาณ
 การบริหารงานบุคคล
 การบริหารทั่วไป
2.2 กฎหมายและระเบียบทางการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2540มาตรา43ความว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” และ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2550มาตรา49ความว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา
ไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายผู้ยากไร้ผู้พิการหรือทุพพลภาพหรือ
ผู้อยู่ในสภาวะยากลาบากต้องได้รับสิทธิตามวรรคหนึ่งและการสนับสนุนจากรัฐเพื่อให้ได้รับการศึกษาโดยทัดเทียมกับ
บุคคลอื่น”
2.3 การบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐแบ่งออกเป็น3ระดับคือ
 ระดับกระทรวงหรือระดับนโยบาย
 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
 ระดับสถานศึกษา
3. บทบาทผู้บริหารกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในวงการบริหารงานต่างๆ โดยเฉพาะในวงการบริหารงานธุรกิจซึ่งมีการแข่งขันกันสูงได้นาเอานวัตกรรมและ
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารกันเป็นอันมาก เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลและการจัดการข้อมูล ต้องการ
ความถูกต้องและรวดเร็วสูงให้การบริหารมีประสิทธิภาพสูง ประหยัดสุดและได้ประสิทธิผลสูงสุด
 การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการตัดสินใจ
 การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารงานทางไกล
 การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารสถานศึกษา
 การสร้างเครือข่ายข้อมูล (Network) ด้วยระบบสารสนเทศ
 การนานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการศึกษา
13
รูปที่ 9 ประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการบนกระดาน ก่อนนาเข้าระบบ MIS ERP
รูปที่ 10 ประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการบนกระดาน เมื่อนาเข้าระบบ MIS ERP
14
4. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารจัดการระบบ
รูปที่ 11 ระบบ MIS กับการบริหารจัดการองค์กร
4.1 ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ ขบวนการประมวลผลข่าวสารที่มีอยู่ให้อยู่ในรูปของข่าวสาร
ที่เป็นประโยชน์สูงสุดเพื่อเป็นข้อสรุปที่ใช้สนับสนุนการตัดสินใจของบุคคลระดับบริหารขบวนการที่ทาให้เกิดข่าวสาร
สารสนเทศนี้ เรียกว่า การประมวลผลผลสารสนเทศ (Information Processing) และเรียกวิธีการประมวลผล
สารสนเทศด้วยเครื่องมือทางอีเล็กทรอนิกส์ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT)
4.2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หมายถึง ระบบที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทั้ง
ภายใน และภายนอกองค์กรอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อนามาประมวลผลและจัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุน
การทางาน และการตัดสินใจในด้านต่าง ๆ ของผู้บริหารเพื่อให้การดาเนินงานขององค์กรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ ได้ 3 ส่วน คือ
 เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผล
 การแสดงผลลัพธ์ เมื่อข้อมูลได้ผ่านการประมวลผล
15
4.3 คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ปัจจุบันองค์กรสามารถพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยตนเองหรือให้ผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกเข้าดาเนินการ
โดยการออกแบบและพัฒนา MIS ที่สอดคล้องตามหลักการระบบก็จะสามารถอานวยประโยชน์ให้กับองค์กรได้อย่าง
เต็มประสิทธิภาพ โดยที่การพัฒนาระบบสารสนเทศต้องคานึงถึงคุณสมบัติที่สาคัญของ MIS ต่อไปนี้
 ความสามารถในการจัดการข้อมูล (Data Manipulation)
 ความปลอดภัยของข้อมูล (Data Security)
 ความยืดหยุ่น (Flexibility)
 ความพอใจของผู้ใช้ (User Satisfaction)
4.4 ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เนื่องจากข้อมูล
ถูกจัดเก็บและบริหารเป็นระบบ ทาให้ผู้บริหารสามารถจะเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็วในรูปแบบที่
เหมาะสม และสามารถนาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ทันต่อความต้องการ
 ช่วยผู้ใช้ในการกาหนดเป้าหมายกลยุทธ์และการวางแผนปฏิบัติการ โดยผู้บริหารจะสามารถนาข้อมูล
ที่ได้จากระบบ สารสนเทศมาช่วยในการวางแผนและกาหนดเป้าหมายในการดาเนินงาน เนื่องจาก
สารสนเทศถูกเก็บรวบรวมและจัดการอย่างเหมาะสม ทาให้มีประวัติของข้อมูลอย่างต่อเนื่อง สามารถ
ที่จาชี้แนวโน้มของการดาเนินงานได้ว่าน่าจะเป็นไปในลักษณะใด
 ช่วยผู้ใช้ในการตรวจสอบประเมินผลการดาเนินงาน เมื่อแผนงานถูกนาไปปฏิบัติในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
ผู้ควบคุมจะต้องตรวจสอบผลการดาเนินงานโดยนาข้อมูลบางส่วนมาประมวลผลประกอบการ
ประเมิน สารสนเทศที่ได้จะแสดงให้เห็นผลการดาเนินงานว่าสอดคล้องกับเป้าหมายที่ต้องการเพียงไร
 ช่วยผู้ใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ผู้บริหารสามารถใช้ระบบสารสนเทศประกอบ
การศึกษาและการค้นหาสาเหตุหรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการดาเนินงาน ถ้าการดาเนินงานไม่
เป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้ อาจจะเรียกข้อมูลเพิ่มเติมออกมาจากระบบ เพื่อให้ทราบว่าข้อผิดพลาด
ในการทางานเกิดขึ้นมาจากสาเหตุใด หรือจัดรูปแบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ปัญหาใหม่
 ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น เพื่อหาวิธีควบคุม ปรับปรุงและแก้ไขปัญหา
สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลจะช่วยให้ผู้บริหาร วิเคราะห์ว่าการดาเนินงานในแต่ละทางเลือก
จะช่วยแก้ไข หรือควบคุมปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างไร ธุรกิจต้องทาอย่างไรเพื่อปรับเปลี่ยนหรือพัฒนา
ให้การดาเนินงานเป็นไปตามแผนงานหรือเป้าหมาย
 ช่วยลดค่าใช้จ่าย ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ ช่วยให้ธุรกิจลดเวลา แรงงานและค่าใช้จ่ายใน
การทางานลง เนื่องจากระบบสารสนเทศสามารถรับภาระงานที่ต้องใช้แรงงาน จานวนมาก ตลอดจน
ช่วยลดขั้นตอนในการทางาน ส่งผลให้ธุรกิจสามารถลดจานวนคนและระยะเวลาในการประสานงาน
ให้น้อยลง โดยผลงานที่ออกมาอาจเท่าหรือดีกว่าเดิม ซึ่งจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ และศักยภาพ
ในการแข่งขันทางธุรกิจ
16
4.5 ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
รูปทึ่ 12 แสดงส่วนประกอบระบบย่อย MIS
 ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ (Transaction Processing System)
 ระบบจัดทารายงานสาหรับการจัดการ (Management Report System
 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Supporting System)
 ระบบสารสนเทศสานักงาน (Office Information System)
4.6 ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Executive Information Systems)
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Executive Information Systems) หรือที่เรียกว่า EIS หมายถึง ระบบ
สารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการทักษะ และความสามารถในการเข้าถึง
สารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
4.7 คุณสมบัติของระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
เพื่อให้การใช้งานของระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารเกิดประโยชน์สูงสุด ดังนั้นระบบสารสนเทศสาหรับ
ผู้บริหารควรมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
 สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning Support)
 เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร (External Environment Focus)
 มีความสามารถในการคานวณภาพกว้าง (Broad-based Computing Capabilities)
 ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน (Exceptional Ease of Learning and Use)
 พัฒนาเฉพาะสาหรับผู้บริหาร (Customization)
4.8 ข้อดีของระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
 ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง
 ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาสั้น
 ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นาเสนออย่างชัดเจน
 ประหยัดเวลาในการดาเนินงานและการตัดสินใจ
 สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
17
5. ระบบ Management Information Systems (MIS) เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
5.1 ผู้บริหารกับการตัดสินใจ
สามารถจาแนกการตัดสินใจในการทางานของผู้บริหารออกเป็น 4 ลักษณะต่อไปนี้
 การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (Strategic Decision)
 การตัดสินใจทางยุทธวิธี (Tactical Decision)
 การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (Fire-fighting)
 การควบคุม (Control)
5.2 ระบบธุรกิจอัจฉริยะ (Business Intelligence)
Business Intelligence (BI) คือ ซอฟต์แวร์ (Software) ที่นาข้อมูลที่มีอยู่เพื่อจัดทารายงานในรูปแบบต่างๆ
โดยทาหน้าที่ในการดึงข้อมูลจาก Database โดยตรงแล้วนาเสนอในรูปแบบของ Report ชนิดต่างๆที่เหมาะสมกับ
มุมมองในการวิเคราะห์ และตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน การวิเคราะห์ข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบหลายมิติ
(Multidimensional Model) ซึ่งจะทาให้สามารถดูข้อมูลแบบเจาะลึก (Drill-down)
Business Intelligence Tool เครื่องมือที่ใช้ใน Business Intelligence ไว้ 4ประเภทด้วยกันคือ
 รายงาน (Reporting Tools) การแสดงรายงาน โดยดึงข้อมูลในคลังข้อมูลมาแสดง
 การวิเคราะห์ (Analysis Tools) การวิเคราะห์ข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหลายมิติ (Multidimensional
Model) ซึ่งจะทาให้รายงานสามารถเจาะลึก (Drill-down), พลิกแพลง (Slice-and-Dice) ได้
 การพยากรณ Forecasting Tools) เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการทดสอบสมมติฐานโดยอาศัยหลักการ
ทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการคานวณฯ
 การหาความสัมพันธ์ (Mining Tools) เป็นเครื่องมือที่ใช้หาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เก็บอยู่ใน
คลังข้อมูล เช่นการวิเคราะห์ความเสี่ยง, การวิเคราะห์ลูกค้า
 หากสามารถนาเครื่องมือต่างๆ เช่น การจัดทารายงาน การวิเคราะห์รายงาน ซึ่งอาจอยู่ในรูปรายงาน
ผลการดาเนินโครงการ หรือการจาลองสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยใช้ Forecasting
Tool รวมทั้ง Situation Assessment ที่มีความสามารถในการสืบค้นข้อมูลที่ต้องการที่ถูกจัดเก็บอยู่
ในรูปของข้อความผ่านทาง Algorithms ที่ได้ออกแบบไว้ ก็จะทาให้การบริหารโครงการบรรลุ
วัตถุประสงค์ได้
18
6. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารด้านกลยุทธ์
6.1 กลยุทธ์ธุรกิจองค์กร
การจาแนกกลยุทธ์ตามระดับและขอบเขตการดาเนินงานขององค์กรออกเป็น 3 ประเภท ดังต่อไปนี้
 กลยุทธ์ระดับบริษัทหรือองค์กร (Corporate Strategy)
 กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategy)
 กลยุทธ์ระดับหน้าที่ (Functional Strategy)
รูปทึ่ 13 ระดับของกลยุทธ์
การเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันที่รุนแรงของภาคธุรกิจในปัจจุบัน ส่งผลให้องค์กรธุรกิจสมัยใหม่มีการ
ดาเนินการทางกลยุทธ์ตลอดช่วงชีวิตขององค์กร กลยุทธ์สาคัญที่ธุรกิจนิยมนามาประยุกต์ในปัจจุบัน ได้แก่
 แรงหลักดันจากลูกค้า (Customer Driven)
 การแข่งขันระดับโลก (Global Competition)
 การกาหนดขนาดที่เหมาะสม (Rightsizing)
 คุณภาพ (Quality)
 เทคโนโลยี (Technology)
6.2 กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์
กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์จะประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 5 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
 การกาหนดเป้าหมาย (Goal Formulation)
 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (Environmental Analysis)
 ปัจจัยภายในองค์กร ( Internal Factors) หมายถึง ส่วนประกอบขององค์กรที่มีผล
ต่อศักยภาพในการบรรลุเป้าหมายของธุรกิจ ซึ่งนักกลยุทธ์จะต้องพิจารณาทั้งจุดแข็ง
(Strength) และ จุดอ่อน (Weakness) ขององค์กรเพื่อตรวจสอบความพร้อมของ
องค์กรในการดาเนินงานด้านกลยุทธ์
19
 ปัจจัยภายนอกขององค์กร (External Environment) หมายถึง สิ่งแวดล้อม
ภายนอกที่มีผลกระทบต่อการดาเนินงานขององค์กร ซึ่งเราจะต้องพิจารณาถึงโอกาส
(Opportunity) และข้อ จากัด (Threat) ในการดาเนินงานขององค์กร
รูปทึ่ 14 การวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมช่วยให้นักกลยุทธ์รับทราบภาพลักษณ์ขององค์กรทั้งในด้านความสามารถและ
เปรียบเทียบกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับสุภาษิตจีนที่ว่า "รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะ ทั้งร้อยครั้ง" โดยที่นักธุรกิจ
นิยมเรียกวิธีการ วิเคราะห์ สภาพแวดล้อมว่า "การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis)"
 การกาหนดและการวางแผนกลยุทธ์ (Strategy Formulation and Planning)
 การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ (Strategy Implementation)
 การควบคุมกลยุทธ์ (Strategy Control)
รูปที่ 15 กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์
20
6.3 การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับกลยุทธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างแรงผลักดันที่มี ต่อองค์กร 5 ประการ ดังต่อไปนี้
 เทคโนโลยี (Technology)
 บทบาทของบุคคล (Individuals and Roles)
 โครงสร้าง (Structure)
 กระบวนการจัดการ (Management Process)
 กลยุทธ์ (Strategy)
รูปที่ 16 BCG Model ในระบบ MIS ในกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์
ปัจจุบันระบบสารสนเทศเล่นบทบาทสาคัญต่อการดารงอยู่ขององค์กร หลายครั้งชัยชนะหรือความพ่ายแพ้
ของธุรกิจขึ้นอยู่กับความสามารถในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ในการดาเนินงานเพื่อให้ธุรกิจมีความ
ได้เปรียบเหนือคู่แข่งระบบสารสนเทศทาให้การจัดการเชิงกลยุทธ์มีประสิทธิภาพและในทางกลับกันองค์กรต้องมีกล
ยุทธ์ในการพัฒนาระบบสารสนเทศที่เข้มแข็งโดยที่การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์เชิงกลยุทธ์เกิดจาก
แรงผลักดัน 2 ประการ ดังต่อไปนี้
 การผลักของเทคโนโลยี (Technology Push) เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทา
ให้อุปกรณ์ด้านสารสนเทศมีความสามารถสูงขึ้นขณะที่ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานต่าลงนอกจากนี้การ
เชื่อมต่อระบบสารสนเทศเข้าเป็นเครือข่ายทาให้การใช้ทรัพยากรร่วมกันบริหารความเหมาะสม ซึ่งลด
ค่าใช้จ่ายในการทางานที่ซ้าซ้อนส่งผลให้องค์กรสามารถควบคุมค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ
 การดึงของการตลาด (Marketing Pull)เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนามาประยุกต์ในองค์กรทั้งโดย
ทางตรงและทางอ้อม เนื่องจากการแข่งขันที่ทวีความรุนแรงส่งผลให้องค์กรต้องหาเครื่องมือที่สร้าง
ความได้เปรียบในการแข่งขันหรือพยายามสร้างความแตกต่างจากคู่แข่งขันโดยการพัฒนานวัตกรรม
(Innovation) ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ
21
รูปที่ 17 เทคโนโลยีสารสนเทศในฐานะทรัพยากรเชิงกลยุทธ์ขององค์กร
ปัจจุบันการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงกลยุทธ์มิได้เกี่ยวข้องกับการจัดการเชิงกลยุทธ์ภายในแต่ละ
องค์กรเท่านั้น แต่ได้ขยายขอบเขตการดาเนินงานของระบบให้ครอบคลุมการใช้งานของลูกค้า (Customer) ผู้ขาย
วัตถุดิบ (Supplier) และพันธมิตรทางธุรกิจ (Business Alliances) ซึ่งทาให้เกิดการใช้สารสนเทศ ร่วมกันอย่างมี
ประสิทธิภาพ (Effective Information Interdependence) เช่น การสารองที่นั่งของสายการบิน การซื้อ-ขาย
หลักทรัพย์ การสั่งซื้อสินค้า และการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange .EDI) เป็น
ต้น เราเรียกระบบในลักษณะนี้ว่า "ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร (Interorganizational Information System)"
ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กรสามารถประยุกต์ให้เป็นประโยชน์และ ตอบสนองความต้องการของทุกฝ่าย ทั้งในด้าน
ความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และลดความซ้าซ้อนของขั้นตอนในการปฏิบัติงาน ตลอดจนถึงการนาสารสนเทศไป
ประยุกต์เชิงกลยุทธ์
6.4 ระดับของการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
6.5 ระบบสารสนเทศกับการธารงรักษาความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจ
แนวทางในการธารงรักษาความได้เปรียบในการแข่งขัน 4 วิธี ดังต่อไปนี้
 ดาเนินการก่อน (First Mover) ธุรกิจสามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันจากการผลิตสินค้า
หรือให้บริการใหม่ แก่ลูกค้าก่อนคู่แข่ง ตามแนวคิดที่ว่า "การเป็นหนึ่งในตลาดย่อมดีกว่าเป็นที่สองที่
ดีกว่า" ถึงธุรกิจคู่แข่งจะสามารถเข้ามาในตลาดหรือสร้างผลิตภัณฑ์และบริการที่คล้ายคลึงกับเราได้
แต่ธุรกิจสามารถสร้างอิทธิพลในการกาหนดโครงสร้างของตลาดและการแข่งขันสามารถทากาไรที่สูง
และถ้าธุรกิจสามารถสร้างความซื่อสัตย์และบริการขององค์กรขึ้นในกลุ่มลูกค้าก็จะทาให้การ
ดาเนินงานของธุรกิจมีความมั่นคง
 ผู้นาด้านเทคโนโลยี (Technological Leadership)ปัจจุบันเทคโนโลยีสมัยใหม่โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นปัจจัยสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจเราจะพบว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเริ่มมี
บทบาทในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันธุรกิจ จนได้รับการยอมรับว่าเป็นทรัพยากรที่สาคัญ
ฯ เชิงกลยุทธ์ขององค์กร ถ้าธุรกิจสามารถเป็นผู้นาในการนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกต์ในการ
ทางานแล้วนอกจากการพัฒนาผลิตภาพแล้วธุรกิจยังสามารถสร้างภาพลักษณ์ที่ดีในความรู้สึกของ
ผู้บริโภค เช่น ธนาคารไทยพาณิชย์ที่พยายามเป็นผู้นาในการนาเทคโนโลยีมาใช้บริการลูกค้า เป็นต้น
 เสริมสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง (Continuous Innovation)การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วใน
ปัจจุบันส่งผลให้ธุรกิจมีนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์และบริการที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่าง
ต่อเนื่อง ซึ่งจะทาให้ลูกค้าเกิดความพอใจ นอกจากนี้พัฒนาการที่ต่อเนื่องยังทาให้คู่แข่งไม่สามารถ
ลอกเลียนแบบได้ทัน แต่การพัฒนาที่รวดเร็วจะมีค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา (Research and
Development) หรือ R&D สูง ซึ่งผู้บริหารต้องพิจารณาอย่างรอบคอบกับผลได้ ผลเสียของการเป็น
ผู้นาด้านนวตกรรมก่อนตัดสินใจกาหนดตาแหน่งขององค์กร
22
 สร้างต้นทุนที่สูงในการเปลี่ยนแปลง (Create High Switching Cost)บางครั้งธุรกิจอาจพยายาม
สร้างความไม่สะดวกสบายหรือค่าใช้จ่ายที่สูงแก่ลูกค่า ทั้งโดยทางตรงหรือทางอ้อมถ้าเขาต้องการจะ
เปลี่ยนไปใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการของคู่แข่ง ซึ่งจะทาให้ลูกค้าต้องคิดอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจใช้
ผลิตภัณฑ์หรือบริการของคู่แข่ง
7. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารองค์กรและบุคลากร
7.1 เทคโนโลยีสารสนเทศกับองค์กร
7.2 ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อองค์กร
7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานบุคคล
รูปที่ 18 แสดงข้อมูลด้านการการจัดการทรัพยากรบุคคล
การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลต้องพิจารณาปัจจัยสาคัญ 5 ประการ ต่อไปนี้
23
รูปที่ 19 แสดงปัจจัยในการพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับการจัดการทรัพยากรบุคคล
8. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารกระบวนการและประสิทธิภาพ
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยการนาระบบ MISมาใช้การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการ
บริหารสถานศึกษาด้านต่างๆ ทั้งการบริหารงานวิชาการ งานกิจการนักเรียน งานบุคลากร งานธุรการ การเงิน พัสดุ
และครุภัณฑ์ งานอาคารสถานที่ และงานชุมชน ซึ่งงานแต่ละงานจะเกี่ยวข้องกับบุคลากรทั้งในสถานศึกษาและนอก
สถานศึกษาการบริหารงานด้านต่างๆ ดังนั้น จึงควรจะนาโปรแกรม MIS มาใช้เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการบริหาร
ผู้บริหารจาเป็นต้องดาเนินการให้เป็นระบบ และพัฒนาให้ครบทั้ง 3 ด้าน คือ Hardware Software และ Content
พร้อมทั้งออนไลน์ไปยังส่วนต่างๆ
รูปที่ 20 แสดงปัจจัยในการพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับการจัดการทรัพยากรบุคคล
24
9. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารด้านบัญชีและการเงิน
รูปที่ 21 แสดงระบบสารสนเทศด้านการบัญชี
 ระบบสารสนเทศด้านการเงิน
ระบบการเงิน (Financial System) เปรียบเสมือนระบบหมุนเวียนโลหิต ของร่างกายที่สูบฉีดโลหิต ไปยัง
อวัยวะต่างๆ เพื่อให้การทางานของอวัยวะแต่ละส่วนเป็นปกติ ถ้าระบบหมุนเวียนโลหิตไม่ดีการ ทางานของอวัยวะก็
บกพร่อง ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบร่างกายระบบการเงินจะเกี่ยวกับสภาพคล่อง (Liquidity) ในการดาเนิน
งานเกี่ยวข้องกับการจัดการเงินสดหมุนเวียน ถ้าธุรกิจขาดเงินทุนอาจก่อให้เกิดปัญหาทั้งโดยตรงและอ้อม โดยที่การ
จัดการทางการเงินจะมีหน้าที่สาคัญ 3ประการ ดังต่อไปนี้
 การพยากรณ์ (Forecast)
 การจัดการด้านการเงิน (Financial Management)
 การควบคุมทางการเงิน (Financial Control)
รูปที่ 22 แสดงการจัดการด้านการเงิน
25
10. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง เหตุการณ์ใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และจะส่งผล
กระทบหรือสร้างความเสียหาย (ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน) หรือก่อให้เกิดความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุ
เป้าหมายตามภารกิจหลักขององค์กร หรือหน่วยงานต่างๆ
11. ระบบ Management Informations Systems (MIS) เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก สมศ.
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) เรียกโดยย่อว่า สมศ.จัดตั้งตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 6ว่าด้วยมาตรฐานและการ
ประกันคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรมหาชนทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทา
การประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษาโดยคานึงถึงความมุ่งหมาย หลักการ
และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ
สมศ. ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ. 2544 - 2548) โดยไม่มีการตัดสินผลการ
ประเมิน แต่เป็นการประเมินเพื่อยืนยันสภาพจริงของสถานศึกษา ขณะเดียวกันถือเป็นการสร้างความเข้าใจกับ
สถานศึกษา เพื่อให้ปฏิบัติได้ถูกต้องตามหลักการประกันคุณภาพการศึกษา สาหรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ
สอง (พ.ศ. 2549 - 2553) เป็นการประเมินตามวัตถุประสงค์ของ สมศ. ที่ระบุไว้ในพระราชกฤษฎีกาของการจัดตั้ง สม
ศ. โดยนาผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งประเมินผลสัมฤทธิ์ที่
เกิดขึ้นเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษา และการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554 - 2558) เป็นการ
ประเมินเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา โดยพิจารณาจากผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบมากกว่า
กระบวนการโดยคานึงถึงความแตกต่างของแต่ละสถานศึกษาซึ่งการประเมินคุณภาพภายนอกและการประเมินซ้า
สาหรับสถานศึกษาในรอบสามนี้จะต้องดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 เท่านั้น
ตามหมวด 6 ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก
อย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุก5 ปีนับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ
สาธารณชน ซึ่ง สมศ. ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ. 2544 -2548) และประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบสอง (พ.ศ. 2549 - 2553) เสร็จสิ้นไปแล้ว ขณะนี้ อยู่ระหว่างการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
(พ.ศ. 2554 - 2558) ซึ่งยังคงหลักการสาคัญของการประเมินคุณภาพภายนอกตามที่กาหนดในกฎกระทรวงว่าด้วย
ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 หมวด 3 ที่ได้ระบุว่าการประกันคุณภาพภายนอก
ให้คานึงถึงจุดมุ่งหมายและหลักการ ดังต่อไปนี้
 เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
 ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็นธรรม และโปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริงและมีความ
รับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
 สร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของชาติโดยให้มี
เอกภาพเชิงนโยบาย ซึ่งสถานศึกษาสามารถกาหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้
เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผู้เรียน
 ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษา
26
 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพ และพัฒนาการจัดการศึกษาของรัฐ เอกชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
 คานึงถึงความเป็นอิสระ เสรีภาพทางวิชาการ เอกลักษณ์ ปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์พันธกิจ และ
เป้าหมายของสถานศึกษา
ทั้งนี้ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553กาหนดให้ สม
ศ. ทาการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์
ในเรื่องต่างๆ ดังนี้
 มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา
 มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา
 มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
 มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน
 ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับภายนอก
ตามมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2545 ระบุ
ว่า “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษาและให้ถือว่าการ
ประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง” ในขณะที่
มาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมินคุณภาพภายนอกไว้ว่า “ให้มีสานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรมหาชนทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพ
ภายนอก และทาการประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา”
จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาปกติที่
ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ มีการตรวจสอบ ติดตาม และ
ประเมินผลการดาเนินงานเพื่อนาไปสู่การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ ด้วยเหตุนี้ระบบการ
ประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้งปัจจัยนาเข้า กระบวนการ และผลผลิตหรือผลลัพธ์ ซึ่งต่างจากการประเมิน
คุณภาพภายนอกที่เน้นการประเมินผลการจัดการศึกษา ดังนั้นความเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับ
การประเมินคุณภาพภายนอกจึงเป็นสิ่งจาเป็น ได้แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงตามแผนภาพที่ 1 ดังนี้
27
รูปที่ 23 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับภายนอก
จากแผนภาพที่ 23 จะเห็นว่าเมื่อสถานศึกษามีการดาเนินการประกันคุณภาพภายในแล้วจาเป็นต้องจัดทา
รายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในซึ่งเป็นผลจากการประกันคุณภาพภายในหรือเรียกว่ารายงาน
การประเมินตนเอง (SAR) เพื่อนาเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผย
ต่อสาธารณชนเอกสารดังกล่าวจะเป็นเอกสารเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาการติดตาม
ตรวจสอบโดยหน่วยงานต้นสังกัดและการประเมินคุณภาพภายนอกโดยสมศ. ดังนั้นสถานศึกษาจาเป็นต้องจัดทา
รายงานการประเมินตนเองที่มีความลุ่มลึกสะท้อนภาพที่แท้จริงของสถานศึกษาในทุกองค์ประกอบคุณภาพ
 ตัวบ่งชี้
1. แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา
- ประเมินจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลัก ตามมาตรา 51 ของพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ โดยให้น้าหนักร้อยละ 75 และใช้ข้อมูล 3 ปีการศึกษาล่าสุด
- ประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และ พัฒนาการ โดยพิชญ
พิจารณ์ (Peer Review)
- ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่อกระตุ้นให้การ
ประกันคุณภาพภายในมีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น
- ประเมินในเชิงกระบวนการ โดยให้น้าหนักร้อยละ 25 ให้ความสาคัญ กับกรรมการ
สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู เครื่องมืออุปกรณ์ คุณภาพและความพร้อมของ
ผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ การบริหารจัดการที่ใช้โรงเรียน
เป็นฐาน และ การประกันคุณภาพภายใน
- ลดจานวนตัวบ่งชี้และจานวนมาตรฐานสาหรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยถ่าย
โอนตัวบ่งชี้และมาตรฐานเกี่ยวกับปัจจัยนาเข้าและกระบวนการให้อยู่ในระบบการ
ประกันคุณภาพภายใน
28
2. คานิยามของกลุ่มตัวบ่งชี้แบ่งเป็น 3 กลุ่มตัวบ่งชี้ จานวนทั้งหมด 12 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
- กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ 1-8
- กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ 9 และ 10
- กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ที่ 11 และ 12
3. หลักเกณฑ์การกาหนดตัวบ่งชี้ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2553 ข้อ 38 กาหนดให้ สมศ. ทาการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ละ
แห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่องดังต่อไปนี้ คือ
- มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา
- มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา
- มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
- มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน
4. มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษา การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประเมินมาตรฐาน
นี้ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 5 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 2 ตัวบ่งชี้และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 1 ตัว
บ่งชี้ ดังนี้
- ตัวบ่งชี้พื้นฐาน
 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
 ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น
 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
- ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์
 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์พันธกิจ และ
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
 ลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ
สถานศึกษา
- ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
 ผลการดาเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
5. มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษาการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประเมิน
มาตรฐานนี้ด้วยตัวบ่งชี้ พื้นฐาน 1 ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
- ตัวบ่งชี้พื้นฐาน
 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
- ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐานรักษามาตรฐาน และ
พัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
6. มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญการประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบสามประเมินมาตรฐานนี้ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
- ตัวบ่งชี้พื้นฐาน
 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
7. มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประเมิน
มาตรฐานนี้ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
- ตัวบ่งชี้พื้นฐาน
 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด
29
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสมศ. ได้กาหนดตัวบ่งชี้จานวน 12 ตัวบ่งชี้
ซึ่งครอบคลุมทั้ง 4 มาตรฐานตามที่กฎกระทรวงฯกาหนดโดยแบ่งเป็น3กล่มุตัวบ่งชี้ได้แก่กล่มุตัวบ่งชี้พื้นฐานจานวน8
ตัวบ่งชีกลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์จานวน2ตัวบ่งชี้และกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริมจานวน2ตัวบ่งชี้ ซึ่งแสดงรายละเอียด
ดังนี้
กลุ่มตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ น้าหนักคะแนน
กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 10
2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 10
3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 10
4 ผู้เรียนคิดเป็นทาเป็น 10
5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 20
6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 10
7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา 5
8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้น
สังกัด
5
รวมน้าหนัก 80
กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ
และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
5
10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์
ของสถานศึกษา
5
รวมน้าหนัก 10
กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการ
ส่งเสริม
11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ
สถานศึกษา
5
12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา
มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการ
ปฏิรูปการศึกษา
5
รวมน้าหนัก 10
รวมน้าหนักทั้ง 12 ตัวบ่งชี้ 80
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร

More Related Content

What's hot

Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...Noppakhun Suebloei
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6oraya-s
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictsarayuttong
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 
งานนำเสนอ1 253801
งานนำเสนอ1 253801งานนำเสนอ1 253801
งานนำเสนอ1 253801Pawarat Panyati
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)Chantana Papattha
 
09552062 e learning
09552062 e   learning09552062 e   learning
09552062 e learningKaow Oath
 

What's hot (19)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
 
Online learning lms
Online learning lms Online learning lms
Online learning lms
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
 
Ict
IctIct
Ict
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Planict2552 2556
Planict2552 2556Planict2552 2556
Planict2552 2556
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
งานนำเสนอ1 253801
งานนำเสนอ1 253801งานนำเสนอ1 253801
งานนำเสนอ1 253801
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
 
Project Com1
Project Com1Project Com1
Project Com1
 
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Lms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs suraponLms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs surapon
 
09552062 e learning
09552062 e   learning09552062 e   learning
09552062 e learning
 

Similar to หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThawatchai2541
 
สำนักปลัดIct
สำนักปลัดIctสำนักปลัดIct
สำนักปลัดIctkaran boobpahom
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาNaitbuu
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...Boonlert Aroonpiboon
 
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master planBen Cybergigz
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...Boonlert Aroonpiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์สราวุฒิ จบศรี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นssuser741b9d
 
วิชาโครงงาน
วิชาโครงงานวิชาโครงงาน
วิชาโครงงานAjBenny Pong
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดMaykin Likitboonyalit
 
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 PradittaPraditta Siripan
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

Similar to หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
สำนักปลัดIct
สำนักปลัดIctสำนักปลัดIct
สำนักปลัดIct
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
 
Natthayathip
NatthayathipNatthayathip
Natthayathip
 
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
 
วิชาโครงงาน
วิชาโครงงานวิชาโครงงาน
วิชาโครงงาน
 
2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
 
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

More from Duangnapa Inyayot

ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560Duangnapa Inyayot
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ นาฬิกาคีย์บอร์ด
โครงงานคอมพิวเตอร์  นาฬิกาคีย์บอร์ดโครงงานคอมพิวเตอร์  นาฬิกาคีย์บอร์ด
โครงงานคอมพิวเตอร์ นาฬิกาคีย์บอร์ดDuangnapa Inyayot
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่ลับมีด
โครงงานคอมพิวเตอร์  ที่ลับมีดโครงงานคอมพิวเตอร์  ที่ลับมีด
โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่ลับมีดDuangnapa Inyayot
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ยามหัสจรรย์
โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ยามหัสจรรย์โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ยามหัสจรรย์
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ยามหัสจรรย์Duangnapa Inyayot
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ปลารักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ปลารักษ์โลกโครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ปลารักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ปลารักษ์โลกDuangnapa Inyayot
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลกโครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลกDuangnapa Inyayot
 
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนคู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนDuangnapa Inyayot
 
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น สำหรับครู
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น  สำหรับครูคู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น  สำหรับครู
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น สำหรับครูDuangnapa Inyayot
 
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559Duangnapa Inyayot
 
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558Duangnapa Inyayot
 
E-book ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
E-book  ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด E-book  ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
E-book ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด Duangnapa Inyayot
 
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยาเกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยาDuangnapa Inyayot
 
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13 มีนา 59
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13  มีนา 59เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13  มีนา 59
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13 มีนา 59Duangnapa Inyayot
 
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558  ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558 Duangnapa Inyayot
 
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภาประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภาDuangnapa Inyayot
 
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558   โรงเรียนสบป้าดวิทยารายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558   โรงเรียนสบป้าดวิทยา
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยาDuangnapa Inyayot
 
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558Duangnapa Inyayot
 
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.orgเกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.orgDuangnapa Inyayot
 
การสร้างเกมส์ง่าย ๆ ด้วย Kahoot .it
การสร้างเกมส์ง่าย  ๆ ด้วย Kahoot .itการสร้างเกมส์ง่าย  ๆ ด้วย Kahoot .it
การสร้างเกมส์ง่าย ๆ ด้วย Kahoot .itDuangnapa Inyayot
 
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for eduการใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for eduDuangnapa Inyayot
 

More from Duangnapa Inyayot (20)

ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ นาฬิกาคีย์บอร์ด
โครงงานคอมพิวเตอร์  นาฬิกาคีย์บอร์ดโครงงานคอมพิวเตอร์  นาฬิกาคีย์บอร์ด
โครงงานคอมพิวเตอร์ นาฬิกาคีย์บอร์ด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่ลับมีด
โครงงานคอมพิวเตอร์  ที่ลับมีดโครงงานคอมพิวเตอร์  ที่ลับมีด
โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่ลับมีด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ยามหัสจรรย์
โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ยามหัสจรรย์โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ยามหัสจรรย์
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ยามหัสจรรย์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ปลารักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ปลารักษ์โลกโครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ปลารักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ปลารักษ์โลก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลกโครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
 
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนคู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
 
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น สำหรับครู
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น  สำหรับครูคู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น  สำหรับครู
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น สำหรับครู
 
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
 
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
 
E-book ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
E-book  ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด E-book  ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
E-book ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
 
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยาเกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
 
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13 มีนา 59
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13  มีนา 59เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13  มีนา 59
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13 มีนา 59
 
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558  ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
 
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภาประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
 
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558   โรงเรียนสบป้าดวิทยารายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558   โรงเรียนสบป้าดวิทยา
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
 
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
 
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.orgเกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
 
การสร้างเกมส์ง่าย ๆ ด้วย Kahoot .it
การสร้างเกมส์ง่าย  ๆ ด้วย Kahoot .itการสร้างเกมส์ง่าย  ๆ ด้วย Kahoot .it
การสร้างเกมส์ง่าย ๆ ด้วย Kahoot .it
 
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for eduการใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
 

หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร

  • 3. สารบัญ 1. แผนปฏิบัติราชการและนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ........................................................................................................ 2. บทบาทหน้าที่และภาระกิจ................................................................................................................................................. 3. บทบาทผู้บริหารกับเทคโนโลยีสารสนเทศ.......................................................................................................................... 4. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารจัดการระบบ...................................................................... 5. ระบบ Management Information Systems (MIS) เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ............................................................. 6. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารด้านกลยุทธ์........................................................................ 7. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารองค์กรและบุคลากร........................................................... 8. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารกระบวนการและประสิทธิภาพ........................................... 9. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารด้านบัญชีและการเงิน......................................................... 10. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารความเสี่ยง.......................................................................... 11. ระบบ Management Information Systems (MIS) เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก สมศ.......................................
  • 4. คานา เอกสารฉบับนี้ จัดทาขึ้นใช้ประกอบการฝึกอบรมพัฒนาผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์และครูผู้สอนในสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในแต่ละภูมิภาคตาม “โครงการเพื่อพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศโรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน” โดยมุ่งเน้นให้ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครู ให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคอมพิวเตอร์ใน โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสามารถจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับบริบทนักเรียน สถานศึกษา แต่ละภูมิภาค รวมทั้งเพื่อก่อให้เกิดองค์ความรู้การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อเพื่อการศึกษาแบบบูรณาการผ่านระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ภายใต้บริบททางการศึกษาของประเทศไทย สามารถนาไปขยายผลและพัฒนาต่อยอดได้ตามบริบทของ สถานศึกษาในแต่ละภูมิภาค
  • 5. 5 1. แผนปฏิบัติราชการและนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 1.1 ภาพรวมการศึกษาในประเทศไทยเมื่อเทียบกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน จากข้อมูลการประชุมของ World Economic Forum (WEF)-The Global Competitiveness Report 2012-2013 ซึ่งเป็นการประชุม "เวทีเศรษฐกิจโลก" ที่จัดขึ้นเป็นประจาทุกปีโดยองค์กรอิสระที่ไม่หวังผลกาไรและได้รับ การยอมรับอย่างกว้างขวางในระดับนานาชาติ โดยผลที่ได้จากการประชุมจะมีส่วนสาคัญในการเสนอแนะทิศทาง กาหนดนโยบายด้านเศรษฐกิจสังคมและการพัฒนาระหว่างประเทศนั้น ได้จัดอันดับคุณภาพการศึกษาของประเทศใน กลุ่มอาเซียน จากข้อมลการประชุม World Economic Forum (WEF) 2012-2013 ซึ่งแสดงตามลาดับ ดังนี้ รูปที่ 1 คุณภาพการศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน (AEC) คุณภาพการศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน ผลการจัดอันดับได้สรุปว่า เงินทุนไม่ใช่ปัจจัยสาคัญที่สุด ของการมีระบบการศึกษาที่ดี และการที่ครูอาจารย์มีเงินเดือนสูงก็ไม่ได้หมายความว่าจะมีความสามารถทางการสอน สูงตามไปด้วย สาหรับประเทศไทยในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านดาเนินการผลักดันเรื่องเงินเดือนครู ซึ่งเป็นสิ่งที่ดี แต่เราก็ต้อง เร่งรัดครูในเรื่องประสิทธิภาพในการสอนควบคู่กันไปด้วย รูปที่ 2 ข้อมูลสะท้อนคุณภาพการศึกษาไทย จากการเปรียบเทียบดังกล่าว สามารถจาแนกข้อมูลจัดลาดับมหาวิทยาลัยในประเทศอาเซียน 10 ลาดับ สถานศึกษาแรก ซึ่งแสดงรายชื่อมหาวิทยาลัยได้ ดังนี้
  • 6. 6 รูปที่ 3 ข้อมูลจัดลาดับมหาวิทยาลัยในประเทศอาเซียน 10 ลาดับ รูปที่ 4 ข้อมูลประธานองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่นประจากรุงเทพ 1.2 จุดมุ่งหมายของการบริหารจัดการนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติให้เป็นไปตาม ICT 2020 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา78(3) ระบุหน้าที่ของรัฐอย่างชัดเจนในการกระจายโครงสร้าง พื้นฐานสารสนเทศในท้องถิ่นให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกันทั่วประเทศ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้จัดทา กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ.2554-2563 ของประเทศไทย (ICT 2020) โดยคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 2 ก.พ.2553 ซึ่งตามมติคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจโดยมอบหมายให้กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร พิจารณาข้อเท็จจริง และสถาพปัญหาที่ทาให้อัตราการเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ต(Broadband
  • 7. 7 Internet)ของประชาชนในสภาพปัจจุบันในระดับต่าและแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงบริการ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึงซึ่งบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และกสทช เมื่อวันที่ 21ก.ค. 2553 เพื่อร่วมกันจัดทาร่างนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติซึ่งเป้าหมาย คือ รูปที่ 5 นโยบายพัฒนาเทคโนโลบีสารสนเทสและการสื่อสารของไทย  ให้โครงข่ายบรอดแบนด์ครอบคลุมประชากร ไม่ต่ากว่า 80% ใน ปี 2558 และไม่ต่ากว่า 95% ในปี 2563 โดย ต้องได้มาตรฐานและราคาเป็นธรรม โดยเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค มี Optical Fiber ไม่ต่ากว่า 100 Mbps  โดยประชาชนสามารถได้รับบริการบรอดแบนด์อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมในด้านต่างๆ อาทิ o ด้านการศึกษาปี 2558 ในระดับตาบลและปี 2563 ทั่วประเทศ o ด้านสาธารณสุขปี 2558 ในระดับตาบล o ด้านการให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ปี 2558 ในระดับองค์การปกครองท้องถิ่น o ด้านการเฝ้าระวังและเตือนภัยพิบัติและภัยธรรมชาติให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องอย่างทันท่วงที  ภาคธุรกิจสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากบรอดแบนด์ o การแข่งขันของประเทศเรื่องโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีให้อยู่ในกลุ่ม TOP 25% (World Competitiveness Ranking) o เกิดการขยายตัวของธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ o มูลค่า e-Commerce ต่อ GDP เป็น 10% ภายในปี 58
  • 8. 8  ลดการใช้พลังงานและการใช้ทรัพยากร  ลดต้นทุนการให้บริการบรอดแบนด์โดยรวม  เกิดการพัฒนา Content และ Application ที่เป็นประโยชน์  ประชาชนมีความรู้การเข้าถึงคุณค่าและความเสี่ยงของการใช้ ICT ที่เร่งตัวเร็วขึ้น  อุตสาหกรรมการผลิต ICT มีการพัฒนาสู่ระดับสากล ปัจจุบันประเทศไทยเป็น 1 ใน 10 อันดับแรกของประเทศที่มีความพร้อมของโครงข่ายโทรคมนาคมลดลงเป็นอย่าง มาก โดยจากการศึกษาของ World Economic Forum พบว่าอันดับความพร้อมใช้งานโครงข่ายโทรคมนาคมของประเทศ ไทยในปี พ.ศ. 2554 อยู่ที่อันดับ 59 ลดลงจากปี พ.ศ. 2549 ที่อยู่ในอันดับ 37 ขณะที่ประเทศเพื่อนบ้านอย่างเวียดนามนั้นมี อันดับที่ดีขึ้น ประเทศไทยจึงจาเป็นจะต้องพัฒนาด้าน ICT ทั้งในส่วนโครงสร้างพื้นฐาน และรูปแบบการใช้งาน (Applications) รวมทั้งบริการอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ อย่างเร่งด่วน เนื่องจากเป็นปัจจัยสาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจในยุค Digital economy ดังนั้น กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในฐานะหน่วยงานหลักซึ่งทาหน้าที่กาหนดนโยบายเพื่อพัฒนา ประเทศด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงได้ดาเนินโครงการ SMART THAILAND ซึ่งเป็นโครงการที่สอดรับกับ นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ และนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยสาหรับปี พ.ศ. 2554-2563 หรือ ICT 2020 รวมถึงนโยบายของรัฐบาล โดยกระทรวงฯ ได้ดาเนินงานหลักๆ ใน 2 ส่วน คือ o SMART NETWORK เป็นการจัดทาโครงสร้างพื้นฐานของโครงข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ที่เน้น เทคโนโลยีการเชื่อมต่อผ่านสายเคเบิลใยแก้วนาแสงเป็นหลัก โดยมีเป้าหมายในการขยายโครงข่าย อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุมประชากรร้อยละ 80 ในอีก 3 ปีข้างหน้า และร้อยละ 95 ภายในปี พ.ศ. 2563 o SMART GOVERNMENT เป็นการส่งเสริมการให้บริการผ่านโครงข่าย SMART NETWORK ซึ่งบริการ อิเล็กทรอนิกส์และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์นั้น มีความสาคัญต่อการกระตุ้นความต้องการใช้งาน อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงของประชาชนเป็นอย่างยิ่ง กระทรวงฯ จึงได้มอบหมายให้สานักงานพัฒนา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) เป็นผู้ดูแลและส่งเสริมการเติบโตของธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ในขณะเดียวกันยังจะได้ผลักดันบริการอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ของภาครัฐ โดยใน ขั้นแรกจะเป็นการผลักดันบริการที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนอย่างทั่วถึง และลดความเหลื่อมล้าในการ เข้าถึงบริการและโครงข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงของประชาชนในเขตเมืองและชนบท เช่น โครงการ รักษาพยาบาลทางไกล โครงการศึกษาทางไกล
  • 9. 9 รูปที่ 6 ICT 2020 Framwork รูปที่ 7 ตาแหน่งในการทดสอบระบบความเร็วเฉลี่ยระบบอินเทอร์เน็ตประเทศไทย
  • 10. 10 รูปที่ 8 ความเร็วเฉลี่ยระบบอินเทอร์เน็ตประเทศไทย 1.2 สาระสาคัญของแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ของกระทรวงศึกษาธิการ o ตัวชี้วัดตามเป้าประสงค์และค่าเป้าหมาย (Key Performance Indicator : KPI) ลาดับ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย 1 ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามัคคีปรองดอง และ/หรือกิจกรรม ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ร้อยละ 100 2 ร้อยละของผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร้อยละ 100 3 จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรวัยแรงงาน - อายุ15-39 ปี - อายุ15-59 ปี 10.92 ปี 9.1 ปี 4 ร้อยละของกาลังแรงงานมีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายขึ้นไป เปรียบเทียบกับเปูาหมายการดาเนินงาน ร้อยละ 42 5 สัดส่วนผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา 45 : 55 6 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษา ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระในสาขาที่เกี่ยวข้องภายใน 1 ปี ร้อยละ 76 7 ร้อยละของนักศึกษา มัคคุเทศก์และประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะทางด้านภาษาและ ความรู้ความเข้าใจประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวของประเทศ เปรียบเทียบกับเปูาหมายการดาเนินงาน ร้อยละ 80 8 จานวนผู้มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับ การพัฒนาและส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง 25,000 คน 9 จานวนผลงานวิจัยด้านการรักษาพยาบาลที่นาไปใช้ประโยชน์ 700 เรื่อง 10 จานวนผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เผยแพร่ในวารสาร หรือนาไปใช้อ้างอิง ในระดับชาติหรือ นานาชาติ หรือนาไปใช้ประโยชน์หรือต่อยอดในเชิงพาณิชย 2,405 เรื่อง
  • 11. 11 ลาดับ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย 11 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) (โดยมีการแบ่งวัด 3 ระดับชั้น คือ ป.6 ม.3 ม.6 และแบ่งตาม รายวิชาหลัก 8 วิชา) เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 12 ร้อยละของสถานศึกษาทุกระดับและประเภทที่เข้ารับการประเมินและได้รับการรับรอง คุณภาพจาก สมศ. - สถานศึกษาระดับปฐมวัย - สถานศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (ประถมและมัธยม) - สถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา - สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ร้อยละ 97 ร้อยละ 87 ร้อยละ 95 ร้อยละ 97 13 ร้อยละของนักเรียน นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดเปรียบเทียบ กับเปูาหมายการดาเนินงาน ร้อยละ 100 14 ร้อยละของนักเรียน นักศึกษา ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ที่ได้รับการปลูกฝังจิตสานึกและค่านิยมให้มีความซื่อสัตย์สุจริตเปรียบเทียบกับเปูาหมายการด าเนินงาน ร้อยละ 100 15 ร้อยละของเด็ก เยาวชน และประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการ อนุรักษ์ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมไทย เปรียบเทียบกับเป้าหมายการ ดาเนินงาน ร้อยละ 100 16 ร้อยละของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้รับการส่งเสริมและพัฒนา ให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ เปรียบเทียบกับเป้าหมายการดาเนินงาน ร้อยละ 80 17 ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการส่งเสริมสวัสดิการ และสวัสดิภาพ สิทธิประโยชน์เกื้อกูล ความมั่นคงและผดุงเกียรติ และความก้าวหน้าในวิชาชีพ เปรียบเทียบกับเป้าหมายการดาเนินงาน ร้อยละ 80 18 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนด ร้อยละ 95 19 ร้อยละของผู้เรียน เยาวชนและประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและทักษะด้านอาชีพ สามารถมีงานทาหรือ นาไปประกอบอาชีพ หรือมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 20 ร้อยละของนักเรียน นักศึกษา ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา หรือผู้ที่เข้ารับการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศ และ/หรือภาษาของประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคอาเซียน หรือทักษะการค้าและพัฒนา สามารถผ่านเกณฑ์ที่กาหนด โดยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย การดาเนินงาน ร้อยละ 80 21 จานวนหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการที่ได้รับการบริการเครือข่าย อินเทอร์เน็ต 35,022 แห่ง
  • 12. 12 2. บทบาทหน้าที่และภาระกิจ 2.1 การบริหารจัดการการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 ได้บัญญัติถึงงานการ บริหารจัดการศึกษาประกอบด้วย  งานวิชาการเป็นงานหลัก  งบประมาณ  การบริหารงานบุคคล  การบริหารทั่วไป 2.2 กฎหมายและระเบียบทางการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2540มาตรา43ความว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับ การศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” และ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2550มาตรา49ความว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา ไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายผู้ยากไร้ผู้พิการหรือทุพพลภาพหรือ ผู้อยู่ในสภาวะยากลาบากต้องได้รับสิทธิตามวรรคหนึ่งและการสนับสนุนจากรัฐเพื่อให้ได้รับการศึกษาโดยทัดเทียมกับ บุคคลอื่น” 2.3 การบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐาน การบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐแบ่งออกเป็น3ระดับคือ  ระดับกระทรวงหรือระดับนโยบาย  ระดับเขตพื้นที่การศึกษา  ระดับสถานศึกษา 3. บทบาทผู้บริหารกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ในวงการบริหารงานต่างๆ โดยเฉพาะในวงการบริหารงานธุรกิจซึ่งมีการแข่งขันกันสูงได้นาเอานวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารกันเป็นอันมาก เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลและการจัดการข้อมูล ต้องการ ความถูกต้องและรวดเร็วสูงให้การบริหารมีประสิทธิภาพสูง ประหยัดสุดและได้ประสิทธิผลสูงสุด  การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการตัดสินใจ  การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารงานทางไกล  การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารสถานศึกษา  การสร้างเครือข่ายข้อมูล (Network) ด้วยระบบสารสนเทศ  การนานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการศึกษา
  • 13. 13 รูปที่ 9 ประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการบนกระดาน ก่อนนาเข้าระบบ MIS ERP รูปที่ 10 ประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการบนกระดาน เมื่อนาเข้าระบบ MIS ERP
  • 14. 14 4. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารจัดการระบบ รูปที่ 11 ระบบ MIS กับการบริหารจัดการองค์กร 4.1 ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ ขบวนการประมวลผลข่าวสารที่มีอยู่ให้อยู่ในรูปของข่าวสาร ที่เป็นประโยชน์สูงสุดเพื่อเป็นข้อสรุปที่ใช้สนับสนุนการตัดสินใจของบุคคลระดับบริหารขบวนการที่ทาให้เกิดข่าวสาร สารสนเทศนี้ เรียกว่า การประมวลผลผลสารสนเทศ (Information Processing) และเรียกวิธีการประมวลผล สารสนเทศด้วยเครื่องมือทางอีเล็กทรอนิกส์ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) 4.2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หมายถึง ระบบที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทั้ง ภายใน และภายนอกองค์กรอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อนามาประมวลผลและจัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุน การทางาน และการตัดสินใจในด้านต่าง ๆ ของผู้บริหารเพื่อให้การดาเนินงานขององค์กรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ ได้ 3 ส่วน คือ  เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ  วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผล  การแสดงผลลัพธ์ เมื่อข้อมูลได้ผ่านการประมวลผล
  • 15. 15 4.3 คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ปัจจุบันองค์กรสามารถพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยตนเองหรือให้ผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกเข้าดาเนินการ โดยการออกแบบและพัฒนา MIS ที่สอดคล้องตามหลักการระบบก็จะสามารถอานวยประโยชน์ให้กับองค์กรได้อย่าง เต็มประสิทธิภาพ โดยที่การพัฒนาระบบสารสนเทศต้องคานึงถึงคุณสมบัติที่สาคัญของ MIS ต่อไปนี้  ความสามารถในการจัดการข้อมูล (Data Manipulation)  ความปลอดภัยของข้อมูล (Data Security)  ความยืดหยุ่น (Flexibility)  ความพอใจของผู้ใช้ (User Satisfaction) 4.4 ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ  ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เนื่องจากข้อมูล ถูกจัดเก็บและบริหารเป็นระบบ ทาให้ผู้บริหารสามารถจะเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็วในรูปแบบที่ เหมาะสม และสามารถนาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ทันต่อความต้องการ  ช่วยผู้ใช้ในการกาหนดเป้าหมายกลยุทธ์และการวางแผนปฏิบัติการ โดยผู้บริหารจะสามารถนาข้อมูล ที่ได้จากระบบ สารสนเทศมาช่วยในการวางแผนและกาหนดเป้าหมายในการดาเนินงาน เนื่องจาก สารสนเทศถูกเก็บรวบรวมและจัดการอย่างเหมาะสม ทาให้มีประวัติของข้อมูลอย่างต่อเนื่อง สามารถ ที่จาชี้แนวโน้มของการดาเนินงานได้ว่าน่าจะเป็นไปในลักษณะใด  ช่วยผู้ใช้ในการตรวจสอบประเมินผลการดาเนินงาน เมื่อแผนงานถูกนาไปปฏิบัติในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ผู้ควบคุมจะต้องตรวจสอบผลการดาเนินงานโดยนาข้อมูลบางส่วนมาประมวลผลประกอบการ ประเมิน สารสนเทศที่ได้จะแสดงให้เห็นผลการดาเนินงานว่าสอดคล้องกับเป้าหมายที่ต้องการเพียงไร  ช่วยผู้ใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ผู้บริหารสามารถใช้ระบบสารสนเทศประกอบ การศึกษาและการค้นหาสาเหตุหรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการดาเนินงาน ถ้าการดาเนินงานไม่ เป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้ อาจจะเรียกข้อมูลเพิ่มเติมออกมาจากระบบ เพื่อให้ทราบว่าข้อผิดพลาด ในการทางานเกิดขึ้นมาจากสาเหตุใด หรือจัดรูปแบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ปัญหาใหม่  ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น เพื่อหาวิธีควบคุม ปรับปรุงและแก้ไขปัญหา สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลจะช่วยให้ผู้บริหาร วิเคราะห์ว่าการดาเนินงานในแต่ละทางเลือก จะช่วยแก้ไข หรือควบคุมปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างไร ธุรกิจต้องทาอย่างไรเพื่อปรับเปลี่ยนหรือพัฒนา ให้การดาเนินงานเป็นไปตามแผนงานหรือเป้าหมาย  ช่วยลดค่าใช้จ่าย ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ ช่วยให้ธุรกิจลดเวลา แรงงานและค่าใช้จ่ายใน การทางานลง เนื่องจากระบบสารสนเทศสามารถรับภาระงานที่ต้องใช้แรงงาน จานวนมาก ตลอดจน ช่วยลดขั้นตอนในการทางาน ส่งผลให้ธุรกิจสามารถลดจานวนคนและระยะเวลาในการประสานงาน ให้น้อยลง โดยผลงานที่ออกมาอาจเท่าหรือดีกว่าเดิม ซึ่งจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ และศักยภาพ ในการแข่งขันทางธุรกิจ
  • 16. 16 4.5 ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ รูปทึ่ 12 แสดงส่วนประกอบระบบย่อย MIS  ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ (Transaction Processing System)  ระบบจัดทารายงานสาหรับการจัดการ (Management Report System  ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Supporting System)  ระบบสารสนเทศสานักงาน (Office Information System) 4.6 ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Executive Information Systems) ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Executive Information Systems) หรือที่เรียกว่า EIS หมายถึง ระบบ สารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการทักษะ และความสามารถในการเข้าถึง สารสนเทศสาหรับผู้บริหาร 4.7 คุณสมบัติของระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร เพื่อให้การใช้งานของระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารเกิดประโยชน์สูงสุด ดังนั้นระบบสารสนเทศสาหรับ ผู้บริหารควรมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้  สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning Support)  เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร (External Environment Focus)  มีความสามารถในการคานวณภาพกว้าง (Broad-based Computing Capabilities)  ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน (Exceptional Ease of Learning and Use)  พัฒนาเฉพาะสาหรับผู้บริหาร (Customization) 4.8 ข้อดีของระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร  ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง  ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ  ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาสั้น  ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นาเสนออย่างชัดเจน  ประหยัดเวลาในการดาเนินงานและการตัดสินใจ  สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 17. 17 5. ระบบ Management Information Systems (MIS) เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ 5.1 ผู้บริหารกับการตัดสินใจ สามารถจาแนกการตัดสินใจในการทางานของผู้บริหารออกเป็น 4 ลักษณะต่อไปนี้  การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (Strategic Decision)  การตัดสินใจทางยุทธวิธี (Tactical Decision)  การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (Fire-fighting)  การควบคุม (Control) 5.2 ระบบธุรกิจอัจฉริยะ (Business Intelligence) Business Intelligence (BI) คือ ซอฟต์แวร์ (Software) ที่นาข้อมูลที่มีอยู่เพื่อจัดทารายงานในรูปแบบต่างๆ โดยทาหน้าที่ในการดึงข้อมูลจาก Database โดยตรงแล้วนาเสนอในรูปแบบของ Report ชนิดต่างๆที่เหมาะสมกับ มุมมองในการวิเคราะห์ และตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน การวิเคราะห์ข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบหลายมิติ (Multidimensional Model) ซึ่งจะทาให้สามารถดูข้อมูลแบบเจาะลึก (Drill-down) Business Intelligence Tool เครื่องมือที่ใช้ใน Business Intelligence ไว้ 4ประเภทด้วยกันคือ  รายงาน (Reporting Tools) การแสดงรายงาน โดยดึงข้อมูลในคลังข้อมูลมาแสดง  การวิเคราะห์ (Analysis Tools) การวิเคราะห์ข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบหลายมิติ (Multidimensional Model) ซึ่งจะทาให้รายงานสามารถเจาะลึก (Drill-down), พลิกแพลง (Slice-and-Dice) ได้  การพยากรณ Forecasting Tools) เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการทดสอบสมมติฐานโดยอาศัยหลักการ ทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการคานวณฯ  การหาความสัมพันธ์ (Mining Tools) เป็นเครื่องมือที่ใช้หาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เก็บอยู่ใน คลังข้อมูล เช่นการวิเคราะห์ความเสี่ยง, การวิเคราะห์ลูกค้า  หากสามารถนาเครื่องมือต่างๆ เช่น การจัดทารายงาน การวิเคราะห์รายงาน ซึ่งอาจอยู่ในรูปรายงาน ผลการดาเนินโครงการ หรือการจาลองสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยใช้ Forecasting Tool รวมทั้ง Situation Assessment ที่มีความสามารถในการสืบค้นข้อมูลที่ต้องการที่ถูกจัดเก็บอยู่ ในรูปของข้อความผ่านทาง Algorithms ที่ได้ออกแบบไว้ ก็จะทาให้การบริหารโครงการบรรลุ วัตถุประสงค์ได้
  • 18. 18 6. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารด้านกลยุทธ์ 6.1 กลยุทธ์ธุรกิจองค์กร การจาแนกกลยุทธ์ตามระดับและขอบเขตการดาเนินงานขององค์กรออกเป็น 3 ประเภท ดังต่อไปนี้  กลยุทธ์ระดับบริษัทหรือองค์กร (Corporate Strategy)  กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategy)  กลยุทธ์ระดับหน้าที่ (Functional Strategy) รูปทึ่ 13 ระดับของกลยุทธ์ การเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันที่รุนแรงของภาคธุรกิจในปัจจุบัน ส่งผลให้องค์กรธุรกิจสมัยใหม่มีการ ดาเนินการทางกลยุทธ์ตลอดช่วงชีวิตขององค์กร กลยุทธ์สาคัญที่ธุรกิจนิยมนามาประยุกต์ในปัจจุบัน ได้แก่  แรงหลักดันจากลูกค้า (Customer Driven)  การแข่งขันระดับโลก (Global Competition)  การกาหนดขนาดที่เหมาะสม (Rightsizing)  คุณภาพ (Quality)  เทคโนโลยี (Technology) 6.2 กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์จะประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 5 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้  การกาหนดเป้าหมาย (Goal Formulation)  การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (Environmental Analysis)  ปัจจัยภายในองค์กร ( Internal Factors) หมายถึง ส่วนประกอบขององค์กรที่มีผล ต่อศักยภาพในการบรรลุเป้าหมายของธุรกิจ ซึ่งนักกลยุทธ์จะต้องพิจารณาทั้งจุดแข็ง (Strength) และ จุดอ่อน (Weakness) ขององค์กรเพื่อตรวจสอบความพร้อมของ องค์กรในการดาเนินงานด้านกลยุทธ์
  • 19. 19  ปัจจัยภายนอกขององค์กร (External Environment) หมายถึง สิ่งแวดล้อม ภายนอกที่มีผลกระทบต่อการดาเนินงานขององค์กร ซึ่งเราจะต้องพิจารณาถึงโอกาส (Opportunity) และข้อ จากัด (Threat) ในการดาเนินงานขององค์กร รูปทึ่ 14 การวิเคราะห์ SWOT การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมช่วยให้นักกลยุทธ์รับทราบภาพลักษณ์ขององค์กรทั้งในด้านความสามารถและ เปรียบเทียบกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับสุภาษิตจีนที่ว่า "รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะ ทั้งร้อยครั้ง" โดยที่นักธุรกิจ นิยมเรียกวิธีการ วิเคราะห์ สภาพแวดล้อมว่า "การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis)"  การกาหนดและการวางแผนกลยุทธ์ (Strategy Formulation and Planning)  การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ (Strategy Implementation)  การควบคุมกลยุทธ์ (Strategy Control) รูปที่ 15 กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์
  • 20. 20 6.3 การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับกลยุทธ์ เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างแรงผลักดันที่มี ต่อองค์กร 5 ประการ ดังต่อไปนี้  เทคโนโลยี (Technology)  บทบาทของบุคคล (Individuals and Roles)  โครงสร้าง (Structure)  กระบวนการจัดการ (Management Process)  กลยุทธ์ (Strategy) รูปที่ 16 BCG Model ในระบบ MIS ในกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ ปัจจุบันระบบสารสนเทศเล่นบทบาทสาคัญต่อการดารงอยู่ขององค์กร หลายครั้งชัยชนะหรือความพ่ายแพ้ ของธุรกิจขึ้นอยู่กับความสามารถในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ในการดาเนินงานเพื่อให้ธุรกิจมีความ ได้เปรียบเหนือคู่แข่งระบบสารสนเทศทาให้การจัดการเชิงกลยุทธ์มีประสิทธิภาพและในทางกลับกันองค์กรต้องมีกล ยุทธ์ในการพัฒนาระบบสารสนเทศที่เข้มแข็งโดยที่การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์เชิงกลยุทธ์เกิดจาก แรงผลักดัน 2 ประการ ดังต่อไปนี้  การผลักของเทคโนโลยี (Technology Push) เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทา ให้อุปกรณ์ด้านสารสนเทศมีความสามารถสูงขึ้นขณะที่ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานต่าลงนอกจากนี้การ เชื่อมต่อระบบสารสนเทศเข้าเป็นเครือข่ายทาให้การใช้ทรัพยากรร่วมกันบริหารความเหมาะสม ซึ่งลด ค่าใช้จ่ายในการทางานที่ซ้าซ้อนส่งผลให้องค์กรสามารถควบคุมค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ  การดึงของการตลาด (Marketing Pull)เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนามาประยุกต์ในองค์กรทั้งโดย ทางตรงและทางอ้อม เนื่องจากการแข่งขันที่ทวีความรุนแรงส่งผลให้องค์กรต้องหาเครื่องมือที่สร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขันหรือพยายามสร้างความแตกต่างจากคู่แข่งขันโดยการพัฒนานวัตกรรม (Innovation) ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ
  • 21. 21 รูปที่ 17 เทคโนโลยีสารสนเทศในฐานะทรัพยากรเชิงกลยุทธ์ขององค์กร ปัจจุบันการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงกลยุทธ์มิได้เกี่ยวข้องกับการจัดการเชิงกลยุทธ์ภายในแต่ละ องค์กรเท่านั้น แต่ได้ขยายขอบเขตการดาเนินงานของระบบให้ครอบคลุมการใช้งานของลูกค้า (Customer) ผู้ขาย วัตถุดิบ (Supplier) และพันธมิตรทางธุรกิจ (Business Alliances) ซึ่งทาให้เกิดการใช้สารสนเทศ ร่วมกันอย่างมี ประสิทธิภาพ (Effective Information Interdependence) เช่น การสารองที่นั่งของสายการบิน การซื้อ-ขาย หลักทรัพย์ การสั่งซื้อสินค้า และการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange .EDI) เป็น ต้น เราเรียกระบบในลักษณะนี้ว่า "ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร (Interorganizational Information System)" ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กรสามารถประยุกต์ให้เป็นประโยชน์และ ตอบสนองความต้องการของทุกฝ่าย ทั้งในด้าน ความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และลดความซ้าซ้อนของขั้นตอนในการปฏิบัติงาน ตลอดจนถึงการนาสารสนเทศไป ประยุกต์เชิงกลยุทธ์ 6.4 ระดับของการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ 6.5 ระบบสารสนเทศกับการธารงรักษาความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจ แนวทางในการธารงรักษาความได้เปรียบในการแข่งขัน 4 วิธี ดังต่อไปนี้  ดาเนินการก่อน (First Mover) ธุรกิจสามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันจากการผลิตสินค้า หรือให้บริการใหม่ แก่ลูกค้าก่อนคู่แข่ง ตามแนวคิดที่ว่า "การเป็นหนึ่งในตลาดย่อมดีกว่าเป็นที่สองที่ ดีกว่า" ถึงธุรกิจคู่แข่งจะสามารถเข้ามาในตลาดหรือสร้างผลิตภัณฑ์และบริการที่คล้ายคลึงกับเราได้ แต่ธุรกิจสามารถสร้างอิทธิพลในการกาหนดโครงสร้างของตลาดและการแข่งขันสามารถทากาไรที่สูง และถ้าธุรกิจสามารถสร้างความซื่อสัตย์และบริการขององค์กรขึ้นในกลุ่มลูกค้าก็จะทาให้การ ดาเนินงานของธุรกิจมีความมั่นคง  ผู้นาด้านเทคโนโลยี (Technological Leadership)ปัจจุบันเทคโนโลยีสมัยใหม่โดยเฉพาะ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นปัจจัยสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจเราจะพบว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเริ่มมี บทบาทในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันธุรกิจ จนได้รับการยอมรับว่าเป็นทรัพยากรที่สาคัญ ฯ เชิงกลยุทธ์ขององค์กร ถ้าธุรกิจสามารถเป็นผู้นาในการนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกต์ในการ ทางานแล้วนอกจากการพัฒนาผลิตภาพแล้วธุรกิจยังสามารถสร้างภาพลักษณ์ที่ดีในความรู้สึกของ ผู้บริโภค เช่น ธนาคารไทยพาณิชย์ที่พยายามเป็นผู้นาในการนาเทคโนโลยีมาใช้บริการลูกค้า เป็นต้น  เสริมสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง (Continuous Innovation)การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วใน ปัจจุบันส่งผลให้ธุรกิจมีนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์และบริการที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งจะทาให้ลูกค้าเกิดความพอใจ นอกจากนี้พัฒนาการที่ต่อเนื่องยังทาให้คู่แข่งไม่สามารถ ลอกเลียนแบบได้ทัน แต่การพัฒนาที่รวดเร็วจะมีค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) หรือ R&D สูง ซึ่งผู้บริหารต้องพิจารณาอย่างรอบคอบกับผลได้ ผลเสียของการเป็น ผู้นาด้านนวตกรรมก่อนตัดสินใจกาหนดตาแหน่งขององค์กร
  • 22. 22  สร้างต้นทุนที่สูงในการเปลี่ยนแปลง (Create High Switching Cost)บางครั้งธุรกิจอาจพยายาม สร้างความไม่สะดวกสบายหรือค่าใช้จ่ายที่สูงแก่ลูกค่า ทั้งโดยทางตรงหรือทางอ้อมถ้าเขาต้องการจะ เปลี่ยนไปใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการของคู่แข่ง ซึ่งจะทาให้ลูกค้าต้องคิดอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจใช้ ผลิตภัณฑ์หรือบริการของคู่แข่ง 7. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารองค์กรและบุคลากร 7.1 เทคโนโลยีสารสนเทศกับองค์กร 7.2 ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อองค์กร 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานบุคคล รูปที่ 18 แสดงข้อมูลด้านการการจัดการทรัพยากรบุคคล การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลต้องพิจารณาปัจจัยสาคัญ 5 ประการ ต่อไปนี้
  • 23. 23 รูปที่ 19 แสดงปัจจัยในการพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับการจัดการทรัพยากรบุคคล 8. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารกระบวนการและประสิทธิภาพ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยการนาระบบ MISมาใช้การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการ บริหารสถานศึกษาด้านต่างๆ ทั้งการบริหารงานวิชาการ งานกิจการนักเรียน งานบุคลากร งานธุรการ การเงิน พัสดุ และครุภัณฑ์ งานอาคารสถานที่ และงานชุมชน ซึ่งงานแต่ละงานจะเกี่ยวข้องกับบุคลากรทั้งในสถานศึกษาและนอก สถานศึกษาการบริหารงานด้านต่างๆ ดังนั้น จึงควรจะนาโปรแกรม MIS มาใช้เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการบริหาร ผู้บริหารจาเป็นต้องดาเนินการให้เป็นระบบ และพัฒนาให้ครบทั้ง 3 ด้าน คือ Hardware Software และ Content พร้อมทั้งออนไลน์ไปยังส่วนต่างๆ รูปที่ 20 แสดงปัจจัยในการพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับการจัดการทรัพยากรบุคคล
  • 24. 24 9. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารด้านบัญชีและการเงิน รูปที่ 21 แสดงระบบสารสนเทศด้านการบัญชี  ระบบสารสนเทศด้านการเงิน ระบบการเงิน (Financial System) เปรียบเสมือนระบบหมุนเวียนโลหิต ของร่างกายที่สูบฉีดโลหิต ไปยัง อวัยวะต่างๆ เพื่อให้การทางานของอวัยวะแต่ละส่วนเป็นปกติ ถ้าระบบหมุนเวียนโลหิตไม่ดีการ ทางานของอวัยวะก็ บกพร่อง ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบร่างกายระบบการเงินจะเกี่ยวกับสภาพคล่อง (Liquidity) ในการดาเนิน งานเกี่ยวข้องกับการจัดการเงินสดหมุนเวียน ถ้าธุรกิจขาดเงินทุนอาจก่อให้เกิดปัญหาทั้งโดยตรงและอ้อม โดยที่การ จัดการทางการเงินจะมีหน้าที่สาคัญ 3ประการ ดังต่อไปนี้  การพยากรณ์ (Forecast)  การจัดการด้านการเงิน (Financial Management)  การควบคุมทางการเงิน (Financial Control) รูปที่ 22 แสดงการจัดการด้านการเงิน
  • 25. 25 10. ระบบ Management Information Systems (MIS) บริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง เหตุการณ์ใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และจะส่งผล กระทบหรือสร้างความเสียหาย (ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน) หรือก่อให้เกิดความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุ เป้าหมายตามภารกิจหลักขององค์กร หรือหน่วยงานต่างๆ 11. ระบบ Management Informations Systems (MIS) เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก สมศ. สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) เรียกโดยย่อว่า สมศ.จัดตั้งตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 6ว่าด้วยมาตรฐานและการ ประกันคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรมหาชนทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทา การประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษาโดยคานึงถึงความมุ่งหมาย หลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ สมศ. ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ. 2544 - 2548) โดยไม่มีการตัดสินผลการ ประเมิน แต่เป็นการประเมินเพื่อยืนยันสภาพจริงของสถานศึกษา ขณะเดียวกันถือเป็นการสร้างความเข้าใจกับ สถานศึกษา เพื่อให้ปฏิบัติได้ถูกต้องตามหลักการประกันคุณภาพการศึกษา สาหรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ สอง (พ.ศ. 2549 - 2553) เป็นการประเมินตามวัตถุประสงค์ของ สมศ. ที่ระบุไว้ในพระราชกฤษฎีกาของการจัดตั้ง สม ศ. โดยนาผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งประเมินผลสัมฤทธิ์ที่ เกิดขึ้นเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษา และการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554 - 2558) เป็นการ ประเมินเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา โดยพิจารณาจากผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบมากกว่า กระบวนการโดยคานึงถึงความแตกต่างของแต่ละสถานศึกษาซึ่งการประเมินคุณภาพภายนอกและการประเมินซ้า สาหรับสถานศึกษาในรอบสามนี้จะต้องดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 เท่านั้น ตามหมวด 6 ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก อย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุก5 ปีนับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ สาธารณชน ซึ่ง สมศ. ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ. 2544 -2548) และประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสอง (พ.ศ. 2549 - 2553) เสร็จสิ้นไปแล้ว ขณะนี้ อยู่ระหว่างการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554 - 2558) ซึ่งยังคงหลักการสาคัญของการประเมินคุณภาพภายนอกตามที่กาหนดในกฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 หมวด 3 ที่ได้ระบุว่าการประกันคุณภาพภายนอก ให้คานึงถึงจุดมุ่งหมายและหลักการ ดังต่อไปนี้  เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา  ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็นธรรม และโปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริงและมีความ รับผิดชอบที่ตรวจสอบได้  สร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของชาติโดยให้มี เอกภาพเชิงนโยบาย ซึ่งสถานศึกษาสามารถกาหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผู้เรียน  ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา
  • 26. 26  ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพ และพัฒนาการจัดการศึกษาของรัฐ เอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น  คานึงถึงความเป็นอิสระ เสรีภาพทางวิชาการ เอกลักษณ์ ปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์พันธกิจ และ เป้าหมายของสถานศึกษา ทั้งนี้ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553กาหนดให้ สม ศ. ทาการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ ในเรื่องต่างๆ ดังนี้  มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา  มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา  มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ  มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน  ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับภายนอก ตามมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2545 ระบุ ว่า “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษาและให้ถือว่าการ ประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง” ในขณะที่ มาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมินคุณภาพภายนอกไว้ว่า “ให้มีสานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรมหาชนทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพ ภายนอก และทาการประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา” จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาปกติที่ ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ มีการตรวจสอบ ติดตาม และ ประเมินผลการดาเนินงานเพื่อนาไปสู่การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ ด้วยเหตุนี้ระบบการ ประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้งปัจจัยนาเข้า กระบวนการ และผลผลิตหรือผลลัพธ์ ซึ่งต่างจากการประเมิน คุณภาพภายนอกที่เน้นการประเมินผลการจัดการศึกษา ดังนั้นความเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับ การประเมินคุณภาพภายนอกจึงเป็นสิ่งจาเป็น ได้แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงตามแผนภาพที่ 1 ดังนี้
  • 27. 27 รูปที่ 23 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับภายนอก จากแผนภาพที่ 23 จะเห็นว่าเมื่อสถานศึกษามีการดาเนินการประกันคุณภาพภายในแล้วจาเป็นต้องจัดทา รายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในซึ่งเป็นผลจากการประกันคุณภาพภายในหรือเรียกว่ารายงาน การประเมินตนเอง (SAR) เพื่อนาเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผย ต่อสาธารณชนเอกสารดังกล่าวจะเป็นเอกสารเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาการติดตาม ตรวจสอบโดยหน่วยงานต้นสังกัดและการประเมินคุณภาพภายนอกโดยสมศ. ดังนั้นสถานศึกษาจาเป็นต้องจัดทา รายงานการประเมินตนเองที่มีความลุ่มลึกสะท้อนภาพที่แท้จริงของสถานศึกษาในทุกองค์ประกอบคุณภาพ  ตัวบ่งชี้ 1. แนวคิดและทิศทางในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน - ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา - ประเมินจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลัก ตามมาตรา 51 ของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ โดยให้น้าหนักร้อยละ 75 และใช้ข้อมูล 3 ปีการศึกษาล่าสุด - ประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และ พัฒนาการ โดยพิชญ พิจารณ์ (Peer Review) - ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่อกระตุ้นให้การ ประกันคุณภาพภายในมีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น - ประเมินในเชิงกระบวนการ โดยให้น้าหนักร้อยละ 25 ให้ความสาคัญ กับกรรมการ สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู เครื่องมืออุปกรณ์ คุณภาพและความพร้อมของ ผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ การบริหารจัดการที่ใช้โรงเรียน เป็นฐาน และ การประกันคุณภาพภายใน - ลดจานวนตัวบ่งชี้และจานวนมาตรฐานสาหรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยถ่าย โอนตัวบ่งชี้และมาตรฐานเกี่ยวกับปัจจัยนาเข้าและกระบวนการให้อยู่ในระบบการ ประกันคุณภาพภายใน
  • 28. 28 2. คานิยามของกลุ่มตัวบ่งชี้แบ่งเป็น 3 กลุ่มตัวบ่งชี้ จานวนทั้งหมด 12 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ - กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ 1-8 - กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ 9 และ 10 - กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ที่ 11 และ 12 3. หลักเกณฑ์การกาหนดตัวบ่งชี้ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2553 ข้อ 38 กาหนดให้ สมศ. ทาการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ละ แห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่องดังต่อไปนี้ คือ - มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา - มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา - มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ - มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน 4. มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษา การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประเมินมาตรฐาน นี้ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 5 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 2 ตัวบ่งชี้และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 1 ตัว บ่งชี้ ดังนี้ - ตัวบ่งชี้พื้นฐาน  ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี  ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์  ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง  ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน - ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์  ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา  ลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา - ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม  ผลการดาเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา 5. มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษาการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประเมิน มาตรฐานนี้ด้วยตัวบ่งชี้ พื้นฐาน 1 ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ - ตัวบ่งชี้พื้นฐาน  ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา - ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม  ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐานรักษามาตรฐาน และ พัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา 6. มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสามประเมินมาตรฐานนี้ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ - ตัวบ่งชี้พื้นฐาน  ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 7. มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประเมิน มาตรฐานนี้ด้วยตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ - ตัวบ่งชี้พื้นฐาน  พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด
  • 29. 29 การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสมศ. ได้กาหนดตัวบ่งชี้จานวน 12 ตัวบ่งชี้ ซึ่งครอบคลุมทั้ง 4 มาตรฐานตามที่กฎกระทรวงฯกาหนดโดยแบ่งเป็น3กล่มุตัวบ่งชี้ได้แก่กล่มุตัวบ่งชี้พื้นฐานจานวน8 ตัวบ่งชีกลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์จานวน2ตัวบ่งชี้และกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริมจานวน2ตัวบ่งชี้ ซึ่งแสดงรายละเอียด ดังนี้ กลุ่มตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ น้าหนักคะแนน กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 10 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 10 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 10 4 ผู้เรียนคิดเป็นทาเป็น 10 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 20 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 10 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา 5 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้น สังกัด 5 รวมน้าหนัก 80 กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา 5 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา 5 รวมน้าหนัก 10 กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการ ส่งเสริม 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ สถานศึกษา 5 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการ ปฏิรูปการศึกษา 5 รวมน้าหนัก 10 รวมน้าหนักทั้ง 12 ตัวบ่งชี้ 80