SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
พระสงฆ์เล่นการเมือง :
ควรหรือไม่?
๑.เพื่อปฏิบัติตนให้พ้นทุกข์ ตามหลักของพระธรรมวินัย
ตามพุทโธวาท
๒. ปฏิสัมพันธ์กับคฤหัสถ์เพื่ออนุเคราะห์สงเคราะห์ตาม
สมควร และโดยไม่ผิดพระธรรมวินัย
หน้าที่ของพระสงฆ์
หน้าที่ของพระสงฆ์
๑. หน้าที่ในการศึกษาธรรม
๒. หน้าที่ในการปฏิบัติธรรม
๓. หน้าที่ในการเผยแผ่ธรรม
๔. หน้าที่ในการรักษาธรรม
“ดูกรภิกษุทั้งหลาย กิจของสมณะที่สมณะควรทา ๓ อย่างนี้
๓ อย่างเป็ นไฉน? คือการสมาทานอธิศีลสิกขา ๑ การ
สมาทานอธิจิตสิกขา ๑ การสมาทานอธิปัญญาสิกขา ๑ ดูกร
ภิกษุทั้งหลาย เพราะฉะนั้นแหละ ท่านทั้งหลาย พึงศึกษา
อย่างนี้ว่า เราจักมีความพอใจอย่างแรงกล้าในการสมาทาน
อธิศีลสิกขา อธิจิตสิกขา อธิปัญญาสิกขา ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ท่านทั้งหลายพึงศึกษาเช่นนี้แล”
(ใน สมณสูตร : องฺ. ติก. ๒๐/๕๒๑/๒๑๘)
๑. หน้าที่ในการศึกษาธรรม
“ภิกษุทั้งหลาย กิจใด ศาสดาผู้แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล ผู้
อนุเคราะห์เอื้อเอ็นดู พึงกระทาแก่สาวก กิจนั้น เรากระทา
แล้วแก่เธอทั้งหลาย ดูกรภิกษุทั้งหลาย นั่นโคนไม้ นั่นเรือน
ว่าง ขอเธอทั้งหลาย จงเพ่งพินิจ อย่าประมาท อย่าต้องเป็ น
ผู้เดือดร้อนใจในภายหลังเลย นี้คืออนุศาสนีของเราสาหรับ
เธอทั้งหลาย
(ในอรกานุสาสนีสูตร : องฺ. สตฺตก. ๒๓/๗๑/๑๐๗-๑๐๙)
๒. หน้าที่ในการปฏิบัติธรรม
“...พวกเธอจงเที่ยวจาริก เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ชน
หมู่มาก เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและ
ความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ พวกเธออย่างได้ไปรวมทาง
เดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามใน
ท่ามกลาง งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถ
ทั้งพยัญชนะครับบริบูรณ์ บริสุทธิ์...”
(วินย. ๔/๓๒/๓๒)
๓. หน้าที่ในการเผยแผ่ธรรม
 “ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพวกที่แสดงธรรมว่า อธรรม ฯลฯที่แสดงสิ่งที่มิใช่วินัย
ว่า วินัย ฯลฯ ที่แสดงวินัยว่า มิใช่วินัย ฯลฯ ที่แสดงพระดารัสอันพระตถาคต
มิได้ทรงภาษิต มิได้ตรัสไว้ว่า พระตถาคตทรงภาษิตไว้ตรัสไว้ ฯลฯ ที่แสดง
พระดารัสอันพระตถาคตได้ทรงภาษิตไว้ ตรัสไว้ว่า พระตถาคตมิได้ทรงภาษิต
ไว้ มิได้ตรัสไว้ ฯลฯ ที่แสดงกรรมอันพระตถาคตมิได้ทรงสั่งสมว่า พระตถาคต
ทรงสั่งสม ฯลฯ ที่แสดงกรรมอันพระตถาคตได้ทรงสั่งสมไว้ว่า พระตถาคต
มิได้ทรงสั่งสมไว้ ฯลฯ ที่แสดงสิ่งอันพระตถาคตมิได้ทรงบัญญัติไว้ว่า พระ
ตถาคตทรงบัญญัติไว้ ฯลฯ ที่แสดงสิ่งอันพระตถาคตทรงบัญญัติไว้ว่า พระ
ตถาคตมิได้ทรงบัญญัติไว้ ภิกษุเหล่านั้นชื่อว่าเป็ นผู้ปฏิบัติเพื่อไม่เป็ ประโยชน์
เกื้อกูล ไม่เป็ นความสุขแก่ชนเป็ นอันมาก เพื่ออนัตถะมิใช่ประโยชน์เกื้อกูลแก่
ชนเป็ นอันมาก เพื่อทุกข์แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ทั้งย่อมประสบบาปมิใช่
บุญเป็ นอันมาก และย่อมยังสัทธรรมนี้ให้อันตรธาน ฯ”
(องฺ. เอก. ๒๐/๑๓๑-๑๓๘/๑๙-๒๑)
๔. หน้าที่ในการรักษาธรรม
๑. ห้ามปรามจากความชั่ว
๒. สั่งสอนให้ตั้งอยู่ในความดี
๓. อนุเคราะห์ด้วยน้าใจอันงาม
๔. ให้ได้ฟังได้รู้สิ่งที่ไม่เคยฟังไม่เคยรู้
๕. บอกทางสวรรค์ให้
(สอนวิธีดาเนินชีวิตให้ประสบความสุข)
(ที.ปา. ๑๑/๒๐๔/๑๔๖)
หน้าที่ของพระสงฆ์ต่อคฤหัสถ์
การเมือง คือ งานของรัฐหรืองานของแผ่นดิน เป็ นงานที่มี
วัตถุประสงค์เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม
สร้างสรรค์ประโยชน์สุขของประชาชน โดยเนื้อแท้จึงเป็ นสิ่ง
ที่ทั้งดีงามและมีความสาคัญมาก พร้อมกันนั้น ก็เป็ นสิ่งที่
เกี่ยวข้องมีผลกระทบ ถึงบุคคลทุกคนในชาติบ้านเมืองนั้นๆ
ด้วยเหตุนี้ การเมืองจึงเกี่ยวข้องกับทุกคน
(พระพรหมคุณาภรณ์)
การเมืองคืออะไร?
การเมือง เป็ นเรื่องของการแสวงหาอานาจทางการปกครอง
ระดับระดับหนึ่งเพื่อพิทักษ์ผลประโยชน์ของแต่ละกลุ่ม
พระสงฆ์ไม่ใช่กลุ่มผลประโยชน์ในสังคม ดังนั้น พระสงฆ์จึง
ไม่ควรเกี่ยวข้องกับการแสวงหาอานาจทางการเมืองไม่ว่า
โดยตรงหรือโดยอ้อม
พระพรหมบัณฑิต
การเมืองคืออะไร?
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี กล่าวว่า
หลักการของพระสงฆ์ที่เกี่ยวกับการเมืองมี 2 หลักการ คือ
1.พระสงฆ์ไม่ควรเล่นการเมือง หรือมีส่วนได้ส่วนเสียกับ
ผลประโยชน์ทางการเมือง
2. ถ้าจะเกี่ยวข้องทางการเมืองจริงก็สามารถเกี่ยวได้กรณี
เดียวเท่านั้นคือ การแสดงธรรมหรือว่ากล่าวตักเตือน
นักการเมือง หากกระทาเกินกว่านี้ จะถือว่าผิดธรรมวินัย
บทบาทและหน้าที่ของพระสงฆ์ในทางการเมือง
คือ การแนะนาสั่งสอนธรรมเกี่ยวกับการเมือง โดยเฉพาะการแสดง
หลักการปกครองที่ดีงาม ชอบธรรม และเป็ นธรรม สอนให้
นักการเมืองมีคุณธรรม
 เมื่อพระสงฆ์ทาหน้าที่นี้ พระสงฆ์เองจาจะต้องตั้งอยู่ในธรรม คือมี
ความเป็ นกลาง ที่จะแสดงธรรมเพื่อมุ่งประโยชน์ของประชาชน มิใช่
เพื่อมุ่งให้เกิดผลประโยชน์ส่วนตัว แก่กลุ่มคน หรือฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใด
และก็มิใช่ได้รับผลประโยชน์ทางการเมืองแก่ตนเอง และหน้าที่อีก
ประการหนึ่งที่สาคัญอย่างยิ่ง ก็คือ การที่ต้องรักษาความเป็ นอิสระ
ของสถาบันของตนไว้ในระยะยาว เพื่อเป็ นหลักประกันให้พระสงฆ์
ยุคสมัยต่อไปสามารถปฏิบัติหน้าที่ทางการเมืองของตนสืบไปได้
อย่างราบรื่น (พระพรหมคุณาภรณ์)
บทบาทและหน้าที่ของพระสงฆ์ในทางการเมือง
 การแสดงบทบาทและหน้าที่ตามความหมายของ
พระพรหมคุณาภรณ์ คือให้พระสงฆ์ดารงอยู่ในหลักพระ
ธรรมวินัยพร้อมๆ กับให้สั่งสอนธรรมะที่เป็ นไปเพื่อ
ประโยชน์ในทางปกครอง เพื่อความเป็ นอยู่ในสังคมร่วมกัน
อย่างชอบธรรมและเป็ นธรรม มิให้พระสงฆ์ลงมือในทาง
กายกรรม แต่จะเน้นหนักไปทางวจีกรรมคือการเทศนา
สั่งสอนธรรม
บทบาทและหน้าที่ของพระสงฆ์ในทางการเมือง
“ไม่มีศาสนาใดในโลกที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อสังคมและการเมือง
ศาสนาจึงไม่อาจปลีกตัวเองออกจากขอบข่ายทางการเมืองได้
เพราะชนชั้นปกครองนั้น นอกจากจะเป็ นกลุ่มชนที่มีอานาจ
ควบคุมระบบการเมืองแล้ว ยังมีอิทธิพลเหนือสถาบันอื่นด้วย
ประกอบกับระบบการเมืองดั้งเดิมส่วนใหญ่เป็ นทั้งระบบ
“ศาสนาและการเมือง” พร้อมๆ กันไป กล่าวได้ว่า ศาสนาเป็ น
อุดมการณ์รูปแบบเดียวของสังคมโบราณ ความคิดทางศาสนา
จึงเป็ นเครื่องมือสาคัญในการธารงรักษาความชอบธรรมของ
ระบบการเมือง”
(ปิ ยนาถ วงศิริ)
ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับการเมือง
พระพุทธศาสนามีความเกี่ยวข้องกับการเมืองในแง่ของหลัก
คาสอน เพราะคาสอนในพระพุทธศาสนานั้นมีปรารถถึง
การเมือง และพระพุทธองค์ได้ตรัสเพื่อความร่มเย็นของ
ชาวเมือง ซึ่งคาสอนในลักษณะนี้มีอยู่มากในพระไตรปิ ฎก
ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับการเมือง
พระองค์ตั้งสถาบันอุดมคติ คือ สังคมสงฆ์ เพื่อเป็ นแม่แบบ
แก่สังคมฆราวาส เป็ นสังคมในอุดมคติที่ดีงาม อยู่กันอย่าง
สันติ มีกติกาของสังคม
แต่พระองค์ไม่ได้นาสถาบันที่ตัวเองตั้งขึ้นมา มาใช้เป็ น
กระแสหรือกลุ่มพลังทางการเมือง ที่จะกลับเข้าไปเปลี่ยน
สังคม คณะสงฆ์ไม่ได้เป็ นพลังอันนั้น เป็ นแต่เพียงแม่แบบ
เท่านั้น
บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
 ในอรรถกถาธรรมบท เรื่อง “ภูเขาทอง” มีอยู่ว่า ครั้งหนึ่ง
พระพุทธเจ้าเห็นการปกครองของบ้านเมืองไม่เป็ นธรรม ก็มี
ความดาริว่าทาไม ไม่เข้าไปยุ่ง เข้าไปจัดการปรับสภาพ
สังคม แล้วตั้งตัวเองเป็ นพระราชาปกครองเสียเองเพื่อให้คน
อยู่ดีมีสุข
พอมารทราบความคิดของพระพุทธเจ้า ก็เข้าทูลยุยงว่า
“ท่านมีอานาจ มีอิทธิฤทธิ์ ท่านทาได้ ขอได้ออกไปจัดการ
ปกครองบ้านเมืองเสียเถิด”
บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
 พระพุทธเจ้าก็ตรัสตอบว่า “ไม่ต้องมายุเราหรอก ต่อให้
เนรมิตภูเขาล้วนด้วยทองคาขึ้นมา มันก็ไม่สามารถสนอง
ความต้องการของมนุษย์อันไม่รู้จบได้ วิธีแก้ปัญหา มันควร
แก่ที่ใจคือแก้ความทุกข์ที่ใจ เราก็จะทาในลักษณะที่เคยทา
มา จะไม่ไปเกี่ยวของในลักษณะที่เพิ่มความโลภ ความโกรธ
ความหลงของคน คือ ออกไปยุ่ง ไปจัดการ เหมือนกับ
นักการเมืองเองหรอก”
บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง จึงมีลักษณะ
เหมือนกับ “ปุโรหิต”
บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
พระพรหมบัณฑิต ได้ให้ทัศนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า
พระสงฆ์มีบทบาทแค่การแนะนา ไม่มีบทบาทเข้าไปจัดการ
ซึ่งเมื่อพิจารณาจากคาสอนหรือข้อปฏิบัติของพระพุทธเจ้า
เอง จะพบว่ามีขอบเขตของพระวินัยอยู่ในเรื่องนี้ เพราะว่า
การเข้าไปใกล้ชิดสนิทสนมกับกลุ่มนั้นๆ เป็ นเรื่องของการ
ประจบตระกูล เป็ นฝักเป็ นฝ่ าย กลายเป็ นว่า ตัวเองได้
ผลประโยชน์ พระสงฆ์จึงอยู่ในบทบาทแค่การให้คาสอน
แนะนา
บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
 ดังกรณี มหาปรินิพานสูตร ที่พระเจ้าอชาตศัตรูมีความ
ปรารถนาจะส่งกองทัพไปตีเมืองวัชชี จึงส่งพราหมณ์มาทูล
ถามพระพุทธเจ้าว่าสมควรจะตีเมืองวัชชีขณะนี้ดีหรือไม่
ในสถานการณ์นี้ถ้าพระพุทธเจ้ามีความสัมพันธ์ทางการเมือง
ก็จะต้องพูดชัดเจนออกไปว่าได้หรือเสียอย่างไร บางทีถ้า
เกิดชนะตัวเองอาจจะมีผลประโยชน์
แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่ได้ห้ามตรงๆ กลับตรัสถามพระอานนท์
ว่า
บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
 พระพุทธเจ้าตรัสถามพระอานนท์ว่า “เดี๋ยวนี้เจ้าลิจฉวี
ผู้ปกครองเมืองวัชชี ยังปฏิบัติธรรมะ ที่เราสอนไว้แต่ก่อนได้
หรือไม่ ธรรมนั้นเรียกว่า “วัชชีอปริหานิยธรรม”
พระอานนท์ตอบว่า “ยังยึดมั่นอยู่”
พระพุทธเจ้าตรัสกลับไปว่า “ถ้ายังยึดมั่นอยู่ ก็มีแต่ความ
เจริญไม่มีเสื่อม” ท่านตรัสเพียงแค่นี้
การพูดของพระพุทธเจ้าไม่ได้เป็ นการเข้าไปเกี่ยวข้องอย่าง
ชัดเจนอย่างที่พระเจ้าอชาตศัตรูคาดหวัง เพราะฉะนั้น
จุดยืนของพระพุทธเจ้าจึงชัดเจนตรงที่การให้คาแนะนา
ไม่สาคัญว่าจะได้ผลประโยชน์หรือไม่ แต่เอาธรรมะเป็ น
ตัวกาหนดชี้นา
บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
ลักษณะเช่นที่กล่าวมาของพระพุทธเจ้า เป็ นการมุ่งสอนให้
ทั้งผู้ปกครองและผู้ถูกปกครองอยู่อย่างมีธรรมะ เป็ น
ลักษณะของ “ธรรมาธิปไตย” นั่นเอง เมื่อมีธรรมะแล้วคนใน
สังคมจะอยู่เป็ นสุข พระองค์ไม่ได้เข้าไปจัดการเงื่อนไข
ในทางสังคม หรือไม่ได้เป็ นพลังทางสังคมที่จะทาการ
เปลี่ยนแปลงโดยตรง จึงทาให้บทบาทของพระองค์อยู่ใน
ลักษณะที่เหมือนกับผู้ชี้นาทาง โดยตรัสไว้ชัดเจนว่า
บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
“ตุมเห หิ กิจจัง อาตัปปัง อักขาตาโร ตถาคตา”
“ความเพียรเป็ นกิจที่ท่านทั้งหลายจะต้องทา
พระตถาคตเป็ นแต่เพียงผู้ชี้ทาง” ในเรื่องทุกเรื่อง
 เพระฉะนั้น แนวทางของพระพุทธเจ้าคือการปฏิรูปสังคม
ด้วยคาสอน โดยจะชี้นาเป็ นแบบอย่าง
บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
พระพรหมคุณาภรณ์ได้แสดงทัศนะไว้ว่า
เมื่อพระรูปหนึ่ง หรือกลุ่มหนึ่งไปเข้าฝักฝ่ ายกับนักการเมือง
กลุ่มหนึ่งแล้ว ในไม่ช้านัก ก็จะมีพระรูปอื่นกลุ่มอื่น ไปเข้า
ฝักผ่ายสนับสนุนนักการเมืองกลุ่มอื่นบ้าง ต่อมา ไม่เฉพาะ
วงการเมืองเท่านั้นที่จะวุ่นวาย สถาบันสงฆ์เองก็จะแตกเป็ น
ฝักฝ่ ายวุ่นวายด้วย และในยามที่ฝ่ ายบ้านเมืองระส่าระสาย
กระจัดกระจาย สถาบันสงฆ์ก็จะพลอยตกอยู่ในสภาพ
เดียวกัน โดยไม่มีสถาบันใดเหลืออยู่เป็ นหลักยึดเหนี่ยว
ให้แก่ประชาชน
อะไรจะเกิดขึ้นหากพระเล่นการเมือง !
อะไรจะเกิดขึ้นหากพระเล่นการเมือง !
 เรื่ อง ห้ามพระภิกษุสามเณรเกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ. ๒๕๓๘
 อาศัย อานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ แก้ไข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ มหาเถรสมาคมจึงออกคาสั่ง
ไว้ ดังต่อไปนี้
 ข้อ ๑ คาสั่งมหาเถรสมาคมนี้เรียกว่า "คาสั่งมหาเถรสมาคม เรื่ อง ห้ามพระภิกษุ
สามเณรเกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ.๒๕๓๘"
 ข้อ ๒ คาสั่งมหาเถรสมาคมนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์
คณะสงฆ์ เป็ นต้นไป
 ข้อ ๓ ตั้งแต่วันใช้คาสั่งมหาเถรสมาคมนี้ ให้ยกเลิกคาสั่งมหาเถรสมาคม เรื่ อง ห้าม
พระสงฆ์เกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ.๒๕๑๗
 ข้อ ๔ ห้ามพระภิกษุสามเณรเข้าไปในที่ชุมนุม หรือบริเวณสภาเทศบาล หรื อสภา
การเมืองอื่นใด หรือในที่ชุมนุมทางการเมือง ไม่ว่ากรณีใดๆ
 ข้อ ๕ ห้ามพระภิกษุสามเณรทาการใดๆ อันเป็ นการสนับสนุนช่วยเหลือโดยตรง
หรือโดยอ้อมแก่การหาเสียง เพื่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสภาเทศบาล
หรือสภาการเมืองอื่นใด แก่บุคคลหรือคณะบุคคลใดๆ
กฎหมายของมหาเถรสมาคมว่าอย่างไร
เกี่ยวกับเรื่องการเมือง?
 เรื่ อง ห้ามพระภิกษุสามเณรเกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ. ๒๕๓๘
 อาศัย อานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ แก้ไข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ มหาเถรสมาคมจึงออกคาสั่ง
ไว้ ดังต่อไปนี้
 ข้อ ๖ ห้ามพระภิกษุสามเณรร่ วมชุมนุมในการเรียกร้ องสิทธิของบุคคลหรือคณะ
บุคคลใดๆ
 ข้อ ๗ ห้ามพระภิกษุสามเณรร่ วมอภิปราย หรือบรรยายเรื่ องเกี่ยวกับการเมือง ซึ่ง
จัดตั้งขึ้นทั้งในวัดหรือนอกวัด
 ข้อ ๘ ให้พระสังฆาธิการตั้งแต่ชั้นเจ้าอาวาสขึ้นไป ผู้มีอานาจหน้าที่ในการปกครอง
ชี้แจงแนะนาผู้อยู่ในปกครองของตน ให้ทราบคาสั่งมหาเถรสมาคมนี้ และกวดขันอย่าให้มี
การฝ่ าฝื นละเมิด
 ข้อ ๙ พระภิกษุสามเณรรูปใด ฝ่ าฝื น ละเมิด คาสั่งมหาเถรสมาคมนี้ ให้พระสังฆาธิ
การปกครองใกล้ชิดดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของตน
 ถ้า ความผิดเกิดขึ้นนอกเขตสังกัด ให้เจ้าคณะเจ้าของเขตที่ความผิดเกิดขึ้น ว่า
กล่าวตักเตือน แล้วแจ้งให้พระสังฆาธิการผู้ปกครองใกล้ชิดดาเนินการ
กฎหมายของมหาเถรสมาคมว่าอย่างไร
เกี่ยวกับเรื่องการเมือง?
บทสรุป
 พระสงฆ์กับการเมืองแยกออกจากกันไม่ได้ แต่จะทา
อย่างไรให้พระสงฆ์แสดงบทบาททางการเมืองที่เหมาะสม
ประชาชนไม่เอือมระอา ไม่เบื่อหน่ายในการแสดงบทบาท
ของท่านบางรูป
 พระสงฆ์ควรเป็ นที่พึ่งทางจิตวิญญาณ ให้คาแนะนาและ
เสนอแนวทางในการแก้ปัญหาเมื่อบ้านเมืองมีปัญหา
มากกว่า ไม่ควรลงไปดาเนินการเอง
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
Padvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 

What's hot (20)

พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 

Viewers also liked

อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
Padvee Academy
 
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสาการบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
Padvee Academy
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
Padvee Academy
 
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
Padvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
Padvee Academy
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
Padvee Academy
 

Viewers also liked (20)

อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
 
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสาการบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโล
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 

Similar to พระสงฆ์กับการเมือง

บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
pentanino
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
dentyomaraj
 
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
Narongchai Wanmanee
 

Similar to พระสงฆ์กับการเมือง (20)

บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
San
SanSan
San
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
 
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

พระสงฆ์กับการเมือง

  • 3. หน้าที่ของพระสงฆ์ ๑. หน้าที่ในการศึกษาธรรม ๒. หน้าที่ในการปฏิบัติธรรม ๓. หน้าที่ในการเผยแผ่ธรรม ๔. หน้าที่ในการรักษาธรรม
  • 4. “ดูกรภิกษุทั้งหลาย กิจของสมณะที่สมณะควรทา ๓ อย่างนี้ ๓ อย่างเป็ นไฉน? คือการสมาทานอธิศีลสิกขา ๑ การ สมาทานอธิจิตสิกขา ๑ การสมาทานอธิปัญญาสิกขา ๑ ดูกร ภิกษุทั้งหลาย เพราะฉะนั้นแหละ ท่านทั้งหลาย พึงศึกษา อย่างนี้ว่า เราจักมีความพอใจอย่างแรงกล้าในการสมาทาน อธิศีลสิกขา อธิจิตสิกขา อธิปัญญาสิกขา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ท่านทั้งหลายพึงศึกษาเช่นนี้แล” (ใน สมณสูตร : องฺ. ติก. ๒๐/๕๒๑/๒๑๘) ๑. หน้าที่ในการศึกษาธรรม
  • 5. “ภิกษุทั้งหลาย กิจใด ศาสดาผู้แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล ผู้ อนุเคราะห์เอื้อเอ็นดู พึงกระทาแก่สาวก กิจนั้น เรากระทา แล้วแก่เธอทั้งหลาย ดูกรภิกษุทั้งหลาย นั่นโคนไม้ นั่นเรือน ว่าง ขอเธอทั้งหลาย จงเพ่งพินิจ อย่าประมาท อย่าต้องเป็ น ผู้เดือดร้อนใจในภายหลังเลย นี้คืออนุศาสนีของเราสาหรับ เธอทั้งหลาย (ในอรกานุสาสนีสูตร : องฺ. สตฺตก. ๒๓/๗๑/๑๐๗-๑๐๙) ๒. หน้าที่ในการปฏิบัติธรรม
  • 6. “...พวกเธอจงเที่ยวจาริก เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ชน หมู่มาก เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและ ความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ พวกเธออย่างได้ไปรวมทาง เดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามใน ท่ามกลาง งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถ ทั้งพยัญชนะครับบริบูรณ์ บริสุทธิ์...” (วินย. ๔/๓๒/๓๒) ๓. หน้าที่ในการเผยแผ่ธรรม
  • 7.  “ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพวกที่แสดงธรรมว่า อธรรม ฯลฯที่แสดงสิ่งที่มิใช่วินัย ว่า วินัย ฯลฯ ที่แสดงวินัยว่า มิใช่วินัย ฯลฯ ที่แสดงพระดารัสอันพระตถาคต มิได้ทรงภาษิต มิได้ตรัสไว้ว่า พระตถาคตทรงภาษิตไว้ตรัสไว้ ฯลฯ ที่แสดง พระดารัสอันพระตถาคตได้ทรงภาษิตไว้ ตรัสไว้ว่า พระตถาคตมิได้ทรงภาษิต ไว้ มิได้ตรัสไว้ ฯลฯ ที่แสดงกรรมอันพระตถาคตมิได้ทรงสั่งสมว่า พระตถาคต ทรงสั่งสม ฯลฯ ที่แสดงกรรมอันพระตถาคตได้ทรงสั่งสมไว้ว่า พระตถาคต มิได้ทรงสั่งสมไว้ ฯลฯ ที่แสดงสิ่งอันพระตถาคตมิได้ทรงบัญญัติไว้ว่า พระ ตถาคตทรงบัญญัติไว้ ฯลฯ ที่แสดงสิ่งอันพระตถาคตทรงบัญญัติไว้ว่า พระ ตถาคตมิได้ทรงบัญญัติไว้ ภิกษุเหล่านั้นชื่อว่าเป็ นผู้ปฏิบัติเพื่อไม่เป็ ประโยชน์ เกื้อกูล ไม่เป็ นความสุขแก่ชนเป็ นอันมาก เพื่ออนัตถะมิใช่ประโยชน์เกื้อกูลแก่ ชนเป็ นอันมาก เพื่อทุกข์แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ทั้งย่อมประสบบาปมิใช่ บุญเป็ นอันมาก และย่อมยังสัทธรรมนี้ให้อันตรธาน ฯ” (องฺ. เอก. ๒๐/๑๓๑-๑๓๘/๑๙-๒๑) ๔. หน้าที่ในการรักษาธรรม
  • 8. ๑. ห้ามปรามจากความชั่ว ๒. สั่งสอนให้ตั้งอยู่ในความดี ๓. อนุเคราะห์ด้วยน้าใจอันงาม ๔. ให้ได้ฟังได้รู้สิ่งที่ไม่เคยฟังไม่เคยรู้ ๕. บอกทางสวรรค์ให้ (สอนวิธีดาเนินชีวิตให้ประสบความสุข) (ที.ปา. ๑๑/๒๐๔/๑๔๖) หน้าที่ของพระสงฆ์ต่อคฤหัสถ์
  • 9.
  • 10.
  • 11. การเมือง คือ งานของรัฐหรืองานของแผ่นดิน เป็ นงานที่มี วัตถุประสงค์เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม สร้างสรรค์ประโยชน์สุขของประชาชน โดยเนื้อแท้จึงเป็ นสิ่ง ที่ทั้งดีงามและมีความสาคัญมาก พร้อมกันนั้น ก็เป็ นสิ่งที่ เกี่ยวข้องมีผลกระทบ ถึงบุคคลทุกคนในชาติบ้านเมืองนั้นๆ ด้วยเหตุนี้ การเมืองจึงเกี่ยวข้องกับทุกคน (พระพรหมคุณาภรณ์) การเมืองคืออะไร?
  • 12. การเมือง เป็ นเรื่องของการแสวงหาอานาจทางการปกครอง ระดับระดับหนึ่งเพื่อพิทักษ์ผลประโยชน์ของแต่ละกลุ่ม พระสงฆ์ไม่ใช่กลุ่มผลประโยชน์ในสังคม ดังนั้น พระสงฆ์จึง ไม่ควรเกี่ยวข้องกับการแสวงหาอานาจทางการเมืองไม่ว่า โดยตรงหรือโดยอ้อม พระพรหมบัณฑิต การเมืองคืออะไร?
  • 13. พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี กล่าวว่า หลักการของพระสงฆ์ที่เกี่ยวกับการเมืองมี 2 หลักการ คือ 1.พระสงฆ์ไม่ควรเล่นการเมือง หรือมีส่วนได้ส่วนเสียกับ ผลประโยชน์ทางการเมือง 2. ถ้าจะเกี่ยวข้องทางการเมืองจริงก็สามารถเกี่ยวได้กรณี เดียวเท่านั้นคือ การแสดงธรรมหรือว่ากล่าวตักเตือน นักการเมือง หากกระทาเกินกว่านี้ จะถือว่าผิดธรรมวินัย บทบาทและหน้าที่ของพระสงฆ์ในทางการเมือง
  • 14. คือ การแนะนาสั่งสอนธรรมเกี่ยวกับการเมือง โดยเฉพาะการแสดง หลักการปกครองที่ดีงาม ชอบธรรม และเป็ นธรรม สอนให้ นักการเมืองมีคุณธรรม  เมื่อพระสงฆ์ทาหน้าที่นี้ พระสงฆ์เองจาจะต้องตั้งอยู่ในธรรม คือมี ความเป็ นกลาง ที่จะแสดงธรรมเพื่อมุ่งประโยชน์ของประชาชน มิใช่ เพื่อมุ่งให้เกิดผลประโยชน์ส่วนตัว แก่กลุ่มคน หรือฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใด และก็มิใช่ได้รับผลประโยชน์ทางการเมืองแก่ตนเอง และหน้าที่อีก ประการหนึ่งที่สาคัญอย่างยิ่ง ก็คือ การที่ต้องรักษาความเป็ นอิสระ ของสถาบันของตนไว้ในระยะยาว เพื่อเป็ นหลักประกันให้พระสงฆ์ ยุคสมัยต่อไปสามารถปฏิบัติหน้าที่ทางการเมืองของตนสืบไปได้ อย่างราบรื่น (พระพรหมคุณาภรณ์) บทบาทและหน้าที่ของพระสงฆ์ในทางการเมือง
  • 15.  การแสดงบทบาทและหน้าที่ตามความหมายของ พระพรหมคุณาภรณ์ คือให้พระสงฆ์ดารงอยู่ในหลักพระ ธรรมวินัยพร้อมๆ กับให้สั่งสอนธรรมะที่เป็ นไปเพื่อ ประโยชน์ในทางปกครอง เพื่อความเป็ นอยู่ในสังคมร่วมกัน อย่างชอบธรรมและเป็ นธรรม มิให้พระสงฆ์ลงมือในทาง กายกรรม แต่จะเน้นหนักไปทางวจีกรรมคือการเทศนา สั่งสอนธรรม บทบาทและหน้าที่ของพระสงฆ์ในทางการเมือง
  • 16. “ไม่มีศาสนาใดในโลกที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อสังคมและการเมือง ศาสนาจึงไม่อาจปลีกตัวเองออกจากขอบข่ายทางการเมืองได้ เพราะชนชั้นปกครองนั้น นอกจากจะเป็ นกลุ่มชนที่มีอานาจ ควบคุมระบบการเมืองแล้ว ยังมีอิทธิพลเหนือสถาบันอื่นด้วย ประกอบกับระบบการเมืองดั้งเดิมส่วนใหญ่เป็ นทั้งระบบ “ศาสนาและการเมือง” พร้อมๆ กันไป กล่าวได้ว่า ศาสนาเป็ น อุดมการณ์รูปแบบเดียวของสังคมโบราณ ความคิดทางศาสนา จึงเป็ นเครื่องมือสาคัญในการธารงรักษาความชอบธรรมของ ระบบการเมือง” (ปิ ยนาถ วงศิริ) ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับการเมือง
  • 18. พระองค์ตั้งสถาบันอุดมคติ คือ สังคมสงฆ์ เพื่อเป็ นแม่แบบ แก่สังคมฆราวาส เป็ นสังคมในอุดมคติที่ดีงาม อยู่กันอย่าง สันติ มีกติกาของสังคม แต่พระองค์ไม่ได้นาสถาบันที่ตัวเองตั้งขึ้นมา มาใช้เป็ น กระแสหรือกลุ่มพลังทางการเมือง ที่จะกลับเข้าไปเปลี่ยน สังคม คณะสงฆ์ไม่ได้เป็ นพลังอันนั้น เป็ นแต่เพียงแม่แบบ เท่านั้น บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
  • 19.  ในอรรถกถาธรรมบท เรื่อง “ภูเขาทอง” มีอยู่ว่า ครั้งหนึ่ง พระพุทธเจ้าเห็นการปกครองของบ้านเมืองไม่เป็ นธรรม ก็มี ความดาริว่าทาไม ไม่เข้าไปยุ่ง เข้าไปจัดการปรับสภาพ สังคม แล้วตั้งตัวเองเป็ นพระราชาปกครองเสียเองเพื่อให้คน อยู่ดีมีสุข พอมารทราบความคิดของพระพุทธเจ้า ก็เข้าทูลยุยงว่า “ท่านมีอานาจ มีอิทธิฤทธิ์ ท่านทาได้ ขอได้ออกไปจัดการ ปกครองบ้านเมืองเสียเถิด” บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
  • 20.  พระพุทธเจ้าก็ตรัสตอบว่า “ไม่ต้องมายุเราหรอก ต่อให้ เนรมิตภูเขาล้วนด้วยทองคาขึ้นมา มันก็ไม่สามารถสนอง ความต้องการของมนุษย์อันไม่รู้จบได้ วิธีแก้ปัญหา มันควร แก่ที่ใจคือแก้ความทุกข์ที่ใจ เราก็จะทาในลักษณะที่เคยทา มา จะไม่ไปเกี่ยวของในลักษณะที่เพิ่มความโลภ ความโกรธ ความหลงของคน คือ ออกไปยุ่ง ไปจัดการ เหมือนกับ นักการเมืองเองหรอก” บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง จึงมีลักษณะ เหมือนกับ “ปุโรหิต” บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
  • 21. พระพรหมบัณฑิต ได้ให้ทัศนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า พระสงฆ์มีบทบาทแค่การแนะนา ไม่มีบทบาทเข้าไปจัดการ ซึ่งเมื่อพิจารณาจากคาสอนหรือข้อปฏิบัติของพระพุทธเจ้า เอง จะพบว่ามีขอบเขตของพระวินัยอยู่ในเรื่องนี้ เพราะว่า การเข้าไปใกล้ชิดสนิทสนมกับกลุ่มนั้นๆ เป็ นเรื่องของการ ประจบตระกูล เป็ นฝักเป็ นฝ่ าย กลายเป็ นว่า ตัวเองได้ ผลประโยชน์ พระสงฆ์จึงอยู่ในบทบาทแค่การให้คาสอน แนะนา บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
  • 22.  ดังกรณี มหาปรินิพานสูตร ที่พระเจ้าอชาตศัตรูมีความ ปรารถนาจะส่งกองทัพไปตีเมืองวัชชี จึงส่งพราหมณ์มาทูล ถามพระพุทธเจ้าว่าสมควรจะตีเมืองวัชชีขณะนี้ดีหรือไม่ ในสถานการณ์นี้ถ้าพระพุทธเจ้ามีความสัมพันธ์ทางการเมือง ก็จะต้องพูดชัดเจนออกไปว่าได้หรือเสียอย่างไร บางทีถ้า เกิดชนะตัวเองอาจจะมีผลประโยชน์ แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่ได้ห้ามตรงๆ กลับตรัสถามพระอานนท์ ว่า บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
  • 23.  พระพุทธเจ้าตรัสถามพระอานนท์ว่า “เดี๋ยวนี้เจ้าลิจฉวี ผู้ปกครองเมืองวัชชี ยังปฏิบัติธรรมะ ที่เราสอนไว้แต่ก่อนได้ หรือไม่ ธรรมนั้นเรียกว่า “วัชชีอปริหานิยธรรม” พระอานนท์ตอบว่า “ยังยึดมั่นอยู่” พระพุทธเจ้าตรัสกลับไปว่า “ถ้ายังยึดมั่นอยู่ ก็มีแต่ความ เจริญไม่มีเสื่อม” ท่านตรัสเพียงแค่นี้ การพูดของพระพุทธเจ้าไม่ได้เป็ นการเข้าไปเกี่ยวข้องอย่าง ชัดเจนอย่างที่พระเจ้าอชาตศัตรูคาดหวัง เพราะฉะนั้น จุดยืนของพระพุทธเจ้าจึงชัดเจนตรงที่การให้คาแนะนา ไม่สาคัญว่าจะได้ผลประโยชน์หรือไม่ แต่เอาธรรมะเป็ น ตัวกาหนดชี้นา บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
  • 24. ลักษณะเช่นที่กล่าวมาของพระพุทธเจ้า เป็ นการมุ่งสอนให้ ทั้งผู้ปกครองและผู้ถูกปกครองอยู่อย่างมีธรรมะ เป็ น ลักษณะของ “ธรรมาธิปไตย” นั่นเอง เมื่อมีธรรมะแล้วคนใน สังคมจะอยู่เป็ นสุข พระองค์ไม่ได้เข้าไปจัดการเงื่อนไข ในทางสังคม หรือไม่ได้เป็ นพลังทางสังคมที่จะทาการ เปลี่ยนแปลงโดยตรง จึงทาให้บทบาทของพระองค์อยู่ใน ลักษณะที่เหมือนกับผู้ชี้นาทาง โดยตรัสไว้ชัดเจนว่า บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
  • 25. “ตุมเห หิ กิจจัง อาตัปปัง อักขาตาโร ตถาคตา” “ความเพียรเป็ นกิจที่ท่านทั้งหลายจะต้องทา พระตถาคตเป็ นแต่เพียงผู้ชี้ทาง” ในเรื่องทุกเรื่อง  เพระฉะนั้น แนวทางของพระพุทธเจ้าคือการปฏิรูปสังคม ด้วยคาสอน โดยจะชี้นาเป็ นแบบอย่าง บทบาทของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการเมือง
  • 26. พระพรหมคุณาภรณ์ได้แสดงทัศนะไว้ว่า เมื่อพระรูปหนึ่ง หรือกลุ่มหนึ่งไปเข้าฝักฝ่ ายกับนักการเมือง กลุ่มหนึ่งแล้ว ในไม่ช้านัก ก็จะมีพระรูปอื่นกลุ่มอื่น ไปเข้า ฝักผ่ายสนับสนุนนักการเมืองกลุ่มอื่นบ้าง ต่อมา ไม่เฉพาะ วงการเมืองเท่านั้นที่จะวุ่นวาย สถาบันสงฆ์เองก็จะแตกเป็ น ฝักฝ่ ายวุ่นวายด้วย และในยามที่ฝ่ ายบ้านเมืองระส่าระสาย กระจัดกระจาย สถาบันสงฆ์ก็จะพลอยตกอยู่ในสภาพ เดียวกัน โดยไม่มีสถาบันใดเหลืออยู่เป็ นหลักยึดเหนี่ยว ให้แก่ประชาชน อะไรจะเกิดขึ้นหากพระเล่นการเมือง !
  • 28.  เรื่ อง ห้ามพระภิกษุสามเณรเกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ. ๒๕๓๘  อาศัย อานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ แก้ไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ มหาเถรสมาคมจึงออกคาสั่ง ไว้ ดังต่อไปนี้  ข้อ ๑ คาสั่งมหาเถรสมาคมนี้เรียกว่า "คาสั่งมหาเถรสมาคม เรื่ อง ห้ามพระภิกษุ สามเณรเกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ.๒๕๓๘"  ข้อ ๒ คาสั่งมหาเถรสมาคมนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์ คณะสงฆ์ เป็ นต้นไป  ข้อ ๓ ตั้งแต่วันใช้คาสั่งมหาเถรสมาคมนี้ ให้ยกเลิกคาสั่งมหาเถรสมาคม เรื่ อง ห้าม พระสงฆ์เกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ.๒๕๑๗  ข้อ ๔ ห้ามพระภิกษุสามเณรเข้าไปในที่ชุมนุม หรือบริเวณสภาเทศบาล หรื อสภา การเมืองอื่นใด หรือในที่ชุมนุมทางการเมือง ไม่ว่ากรณีใดๆ  ข้อ ๕ ห้ามพระภิกษุสามเณรทาการใดๆ อันเป็ นการสนับสนุนช่วยเหลือโดยตรง หรือโดยอ้อมแก่การหาเสียง เพื่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสภาเทศบาล หรือสภาการเมืองอื่นใด แก่บุคคลหรือคณะบุคคลใดๆ กฎหมายของมหาเถรสมาคมว่าอย่างไร เกี่ยวกับเรื่องการเมือง?
  • 29.  เรื่ อง ห้ามพระภิกษุสามเณรเกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ. ๒๕๓๘  อาศัย อานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ แก้ไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ มหาเถรสมาคมจึงออกคาสั่ง ไว้ ดังต่อไปนี้  ข้อ ๖ ห้ามพระภิกษุสามเณรร่ วมชุมนุมในการเรียกร้ องสิทธิของบุคคลหรือคณะ บุคคลใดๆ  ข้อ ๗ ห้ามพระภิกษุสามเณรร่ วมอภิปราย หรือบรรยายเรื่ องเกี่ยวกับการเมือง ซึ่ง จัดตั้งขึ้นทั้งในวัดหรือนอกวัด  ข้อ ๘ ให้พระสังฆาธิการตั้งแต่ชั้นเจ้าอาวาสขึ้นไป ผู้มีอานาจหน้าที่ในการปกครอง ชี้แจงแนะนาผู้อยู่ในปกครองของตน ให้ทราบคาสั่งมหาเถรสมาคมนี้ และกวดขันอย่าให้มี การฝ่ าฝื นละเมิด  ข้อ ๙ พระภิกษุสามเณรรูปใด ฝ่ าฝื น ละเมิด คาสั่งมหาเถรสมาคมนี้ ให้พระสังฆาธิ การปกครองใกล้ชิดดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของตน  ถ้า ความผิดเกิดขึ้นนอกเขตสังกัด ให้เจ้าคณะเจ้าของเขตที่ความผิดเกิดขึ้น ว่า กล่าวตักเตือน แล้วแจ้งให้พระสังฆาธิการผู้ปกครองใกล้ชิดดาเนินการ กฎหมายของมหาเถรสมาคมว่าอย่างไร เกี่ยวกับเรื่องการเมือง?
  • 30.
  • 31.
  • 32. บทสรุป  พระสงฆ์กับการเมืองแยกออกจากกันไม่ได้ แต่จะทา อย่างไรให้พระสงฆ์แสดงบทบาททางการเมืองที่เหมาะสม ประชาชนไม่เอือมระอา ไม่เบื่อหน่ายในการแสดงบทบาท ของท่านบางรูป  พระสงฆ์ควรเป็ นที่พึ่งทางจิตวิญญาณ ให้คาแนะนาและ เสนอแนวทางในการแก้ปัญหาเมื่อบ้านเมืองมีปัญหา มากกว่า ไม่ควรลงไปดาเนินการเอง
  • 33.
  • 34.