SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
                                            (Exponential Function and Logarithm Function)


ข้อกาหนด                เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก

          บทนิยาม
                                              a
                                                  n
                                                           a  a  a  ...  a   ( n ตัว)   เมื่อ a เป็นจานวนจริงใด ๆ
                                                                                                   n เป็นจานวนเต็มบวก
                                              เรียก              a ว่า ฐาน (base)
                                              เรียก              n ว่า เลขชี้กาลัง ( exponent)
                            เรียก a n                          ว่า เลขยกกาลัง (power)



ทฤษฎีบท (Theorem)
      ถ้า a , b เป็นจานวนจริงที่ไม่เป็น 0 และ m , n เป็นจานวนเต็ม จะได้
         (1) a m  a n  a m  n
         (2) ( a m ) n  a mn
         (3) ( ab )  a b   n               n         n


                            n                 n
              a   a
         (4)    n
              
             b  b
                        m

         (5)    a
                    n
                             a
                                        mn
                                                  
                                                           1
                                                           nm
                a                                     a
                    0
         (6) a  1
                                        1
         (7) a  n                     n
                                                  ; n เป็นจานวนเต็มบวก
                                    a

                                0
                                    0
                                            ไม่นิยาม

ตัวอย่างที่ 2
                                                                            1
         (1) 103.10-4 = 103+(-4) = 10-1 =
                                                                           10
                4 5                           4+5                 9
         (2) X X = X = X
         (3) ถ้า X  0 แล้ว X.X-1 = X1+(-1) = X0 = 1
ตัวอย่างที่ 3
        (1) ( 2 3 ) 2  2 32  2 6  64
                     2 3             (  2 )( 3 )                 6               1            1
         (2)    (3        ) 3                       3                               6
                                                                                            
                                                                                   3            729
                                                                                                                      1
         (3) ถ้า x  0 แล้ว ( x 1 ) 2  x (  1 )( 2 )  x  2                                                          2
                                                                                                                      x

ตัวอย่างที่ 4
        (1) ( 3 x ) 2  3 2  x 2  9 x 2
                     1                       1                            1
        (2) ( 2 x 2 ) 2  2 2 ( x 2 ) 2  4 x ( 2 ) 2  4 x
       (3) (1 .1  10  3 ) 2  (1 .1 ) 2  (10  3 ) 2  1 .21  10  6

ตัวอย่างที่ 5
                                                                               2
                                                     x         2          x
         (1) ถ้า y  0 แล้ว ( )                                               2
                                                     y                    y
                                  2
         (2)     1
                 x2
                              
                              
                                                     1
                                                                 2                     ( 1 )2
                                            (x       2     )                   x         2                   x
                                                    2
                                                                                                   
                 2                               2                                       4                 4
                             


ตัวอย่างที่ 6
                         3
                  10                      3 (  2 )                          3 2                    1       1
        (1)              2
                               10                              10                          10             
                  10                                                                                             10
                     5
                   2                  5 (  2 )                   5 2                 7
        (2)              2
                              2                     2                    2  128
                     2
                                                                   5
                                                         x                         5 3             2
        (3)      ถ้า x  0 แล้ว                              3
                                                                       x                      x
                                                         x
รากที่ n ในระบบจานวนจริง และจานวนจริงในรูปกรณฑ์

บทนิยาม ถ้า n เป็นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 และถ้า a, x เป็นจานวนจริงซึ่งสอดคล้องกับ
       สมการ xn = a แล้วเราเรียก x ว่าเป็นรากที่ n ของ a

ตัวอย่างที่ 1     (1)   รากที่ 2 ของ 4 คือ 2 และ -2 เพราะว่า (2)2 = 4 และ (-2)2 = 4
                  (2)   รากที่ 3 ของ -8 คือ -2 เพราะว่า (-2)3 = -8
                  (3)   รากที่ 6 ของ 64 มีสองจานวนคือ 2 หรือ -2
                  (4)   รากที่ 6 ของ -64 ที่เป็นจานวนจริงไม่มีเลย
                  (5)   รากที่ 3 ของ 64 มีจานวนเดียวคือ 4
                  (6)   รากที่ 3 ของ -64 มีจานวนเดียวคือ -4
ข้อสังเกต
                  (1) ถ้า n เป็นจานวนเต็มคู่แล้ว จานวนบวกแต่ละจานวนจะมีรากที่ n เป็น
                      จานวนจริงสองจานวน รากหนึ่งจะเป็นจานวนบวก และอีกรากหนึ่งเป็น
                      จานวนลบ
                  (2) ถ้า n เป็นจานวนเต็มคู่ แล้วจานวนลบแต่ละจานวนจะไม่มีรากที่ n ที่เป็น
                      จานวนจริง
                  (3) ถ้า n เป็นจานวนเต็มคี่ แล้ว จานวนจริงแต่ละจานวนจะมีรากที่ n เป็นจานวน
                      จริงเพียงจานวนเดียว รากที่ n ของจานวนบวกเป็นจานวนบวกและรากที่ n
                      ของจานวนลบก็เป็นจานวนลบ

บทนิยาม ถ้า n เป็นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 และ a เป็นจานวนจริง ( ยกเว้นกรณีที่ n เป็น
         จานวนคู่ และ a เป็นจานวนลบ ) แล้วเรากาหนดความหมายของ n a ดังนี้

                                                             1
                                        n
                                            a       =    a   n




สัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับรากที่ n ของจานวนจริง
       (ก) เครื่องหมาย n เรียกว่า เครื่องหมาย กรณฑ์ ( Radical) และเรียก n ว่าเป็นอันดับ
                ของกรณฑ์ ( อันดับของ กรณฑ์)
         (ข) n a อ่านว่า กรณฑ์อันดับที่ n ของ a หรือรากที่ n ของ a
         (ค) 2 a นิยมเขียนแทนด้วย               a
ทฤษฎีบทเกี่ยวกับรากที่ n ของจานวนจริง
         ถ้า a และ b เป็นจานวนจริง และ m ; n เป็นจานวนเต็มบวกที่มีค่ามากกว่า 1 โดยที่ n a
และ n b หาค่าได้แล้ว
         1.  n a 
                    n
                                 =a
         2. n ab                 = n a n b
                         a           n    a
         3. n                    =                            ; b0
                         b           nb
                n            n      a ; nเปนจำนวน คู่
                                              ็
         4.              a       = 
                                    a ; nเปนจำนวน คี่
                                            ็
         5. m n a                = mn a
                                     n        m
         6.     kn
                     a
                         km
                                 =        a                   ; k เป็นจานวนเต็มบวก
                                                      m
                                             1
                                                                   m

         7.     n
                     a
                         m
                                 =       a
                                         
                                              n   
                                                  
                                                          =     a   n


                                                 

         8. n 0                  = 0
         9. n 1                  = 1



การบวกและการลบของจานวนที่ติดกรณฑ์
      ข้อตกลง
      จะนาจานวนที่ติดกรณฑ์ มาบวกหรือลบกันได้ต่อเมื่อจานวนนั้น ๆ ต้องมีคุณสมบัติครบ 2
ประการ คือ
      1. อันดับของกรณฑ์ต้องเท่ากัน
      2. จานวนที่อยู่ภายใต้กรณฑ์ต้องเท่ากัน
      และเวลาบวกหรือลบกันให้นา " สัมประสิทธิ์หน้ากรณฑ์มาบวกหรือลบ " เท่านั้น

ตัวอย่างที่ 3             จงหาค่าของ 5 3  3 3  2 3
แนวคิด                   นาสัมประสิทธิ์หน้ากรณฑ์มาบวก ลบ กัน
                         5 3  3 3  2 3 = 5 3 2 3
                                                                        =   6 3
ตัวอย่างที่ 4        จงหาค่าของ 12  27  3
แนวคิด               จะต้องทาตัวเลขภายใต้กรณฑ์ให้เท่ากันเสียก่อน แล้วจึงนามาบวกลบกัน
จะได้                  12  27  3                 =           4 .3  9 .3  3
                                                   =        2 33 3 3
                                                   =         2  3  1 3
                                                                     =   4 3

การคูณกรณฑ์ด้วยกรณฑ์
ข้อตกลง
       1. จะนากรณฑ์มาคูณกันได้ก็ต่อเมื่ออันดับกรณฑ์ต้องเท่ากัน
       2. เมื่ออันดับกรณฑ์เท่ากันก็ให้นาตัวเลขภายใต้กรณฑ์มาคูณกัน
       3. นาสัมประสิทธิ์หน้ากรณฑ์มาคูณกัน

ตัวอย่างที่ 5        จงหาค่าของ  3 7  2 5  2 2 
แนวคิด               จะเห็นว่าคูณกันได้เลยตามข้อตกลง
จะได้                 3 7  2 5  2 2  =          3 .2 .2   7 .5 .2 
                                                   = 12 70

ตัวอย่างที่ 6        จงหาค่าของ  5                         3  5     3
แนวคิด
 5  3  5  3  =  5 5    5 3    3 5    3 3 
                                                       =5-3
                                                       =2

ตัวอย่างที่ 7        จงหาค่าของ            2      3
                                                        
                                                       2 5 3   
แนวคิด จะเห็นว่าโจทย์ที่ให้อันดับของกรณฑ์ตัวตั้งกับตัวคูณไม่เท่ากัน ต้องทาให้เท่ากันเสียก่อน
โดยนาอันดับของกรณฑ์ที่ทั้งตัวตั้งและตัวคูณมาหา ค.ร.น. โดยใช้ทฤษฎีบทข้อ 6 เข้าช่วย
          km        kn          m          n
                a           =          a
                                3 .2           2
จะได้ 3 2                   =          2                     = 6 4
                                2 .3 3
                3           =          3                     = 6 27
 2 3 2  5 3  = 2 6 4 5 6 27 
                        =  2 . 5  6 4 . 27
                      = 10 6 108
การคูณโดยอาศัยรูปผลต่างกาลังสอง
       ( a  b )( a  b )  a  b )
                           2    2



ดังนั้น        ( a  b )( a  b )  a  b

รูปผลต่างกาลังสองจะนามาใช้ในการแก้ปัญหาโจทย์เกี่ยวกับกรณฑ์ในกรณีที่ตัวส่วนติดกรณฑ์


การหารกรณฑ์ด้วยกรณฑ์
                                           ข้อตกลง
       1. จะนากรณฑ์มาหารกันได้ก็ต่อเมื่ออันดับของกรณฑ์ต้องเท่ากัน
       2. เมื่ออันดับของกรณฑ์เท่ากันก็ให้นาตัวเลขภายใต้กรณฑ์มาหารกัน
       3. ถ้าตัวส่วนติดกรณฑ์ต้องใช้รูปผลต่างกาลังสองแก้ปัญหา

ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าของผลหารต่อไปนี้
            32
(1)
             2
แนวคิด จากโจทย์จะเห็นว่าอันดับของกรณฑ์เท่ากัน สามารถกระทากันได้เลย
             32              32
จะได้                   =             = 16         =4
              2             2

       15
(2)
         2
แนวคิด จะเห็นว่าอันดับของกรณฑ์เท่ากัน แต่ผลหารไม่ลงตัว จะต้องทากรณฑ์ของตัวส่วนให้
หมดไป
        โดยนา 2 คูณทั้งตัวเศษและตัวส่วน
          15         15  2          30
จะได้          =             
           2          2 2          2
      3
         2
(3)
         3
แนวคิด จะเห็นว่าอันดับกรณฑ์ไม่เท่ากันต้องเปลี่ยนเป็นกรณฑ์อันดับ 6
        3              3 .2       2           6
             2                2                       4
จะได้              =                  
                       2 .3 3                 6       3
             3                3                   3
                       6          6   3               6  4  27 
                              4 3
                   =                              
                       6      3 6         3               6       6
                           3  3                              3
                       6
                              108
                   =
                              3

ตัวอย่างที่ 9 จงทาให้ส่วนไม่มีเครื่องหมายกรณฑ์
             1                        1 5  3 
(1)                      =
         5 3               5  3  5                              3
                                5 3
                         =
                                53
                                5 3
                         =
                                    2

ข้อสังเกต จากตัวอย่างข้างต้น  5  3  5  3  เราสามารถใช้
        รูปผลต่างกาลังสองมาใช้แก้ปัญหา
                          a  b  a  b   a  b


สรุป
            1. กรณฑ์ เหมือนกันเท่านั้นจึงจะบวกลบกันได้
            2. กรณฑ์ อันดับเดียวกันเท่านั้น จึงจะคูณ หารกันได้
            3. การเปรียบเทียบ กรณฑ์ จะเปรียบเทียบได้ก็ต่อเมื่อเป็นกรณฑ์อันดับเดียวกัน
การหารากที่สองของจานวนที่อยู่ในรูป x  2 y

นักเรียนพิจารณาการกระจายต่อไปนี้
                           2     2                  2        2            2
                  ( a  b )  a  2 ab  b  ( a  b )  2 ab
                                 2              2                                         2
                  ( a         b )  ( a )  2 a . b  ( b )  ( a  b )  2 ab
        ดังนั้น
                                                                      2
                       ( a  b )  2 ab            ( a          b)                     a   b
                     
        ถ้า a , b  R ซึ่ง x = a + b และ y = ab ;
                  1.     ( a  b )  2 ab =             a        b
                                                                                       a b       เมือa  b
                                                                                                      ่
                  2.     ( a  b )  2 ab =             a            b           =
                                                            b a                                  เมือb  0
                                                                                                      ่
                  3. รากที่สองของ ( a  b )  2 ab   ( a  b )
                  4. รากที่สองของ ( a  b )  2 ab   ( a  b )
                                                                  2
                  5. ( a  b )  2 ab  ( a                 b)

ตัวอย่างที่ 1 จงหารากที่สองของ 10  96
แนวคิด        1. พยายามแยกตัวประกอบ(Facter)ตัวที่อยู่ในกรณฑ์
              2. หน้ากรณฑ์สัมประสิทธิ์ต้องเป็น 2
จะได้             10  96                =       10  4 . 24
                                         =       10  2 24
                                         =       ( 6  4 )  2 6 .4
                                                                                  2
                                            =           ( 6              4)
                                                                              2
                                            =           ( 6  2)
ดังนั้น รากที่สองของ 10  96                =                   10  2 24
                                                                                      2
                                            =                   ( 6  2)
                                            =            ( 6  2)
ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ     5 2 6
แนวคิด             5 2 6               =           ( 3  2 )  2 3 .2
                                                                  2
                                        =           ( 3  2)
                                        =           3        2

ตัวอย่างที่ 3 จงหารากที่สองของ 18  8 5
แนวคิด          18  8 5                =               18  8 5
                                                                      2
                                        =        18  2 4 . 5
                                        =        18  2 80
                                        =               (10  8 )  2 10 . 8
                                        =        ( 10  8 )
                                        =        ( 10  2 2




การแก้สมการจานวนที่อยู่ในรูปเครื่องหมายกรณฑ์

หลักการแก้สมการ ( การหาเซตคาตอบ)

              เป้าหมายหลัก คือ ต้องทาให้ตัวแปรและตัวเลขในสมการไม่ติดกรณฑ์

         1. ถ้ามีเพียงหนึ่งกรณฑ์ ให้ย้ายข้างให้เหลือกรณฑ์ตัวเดียว
         2. ถ้ามีกรณฑ์ 2 ตัว ให้ย้ายไปอยู่ข้างละ 1 ตัว
         3. ในกรณฑ์ที่มีกรณฑ์มากให้แบ่งกรณฑ์ไปอยู่แต่ละข้างให้ยึดหลักว่า " ผลบวกของ
            สัมประสิทธิ์ของตัวแปรทั้งสองข้างนั้นต้องเท่ากันหรือใกล้เคียงกันมากที่สุด "
                                                     n
         4. ยกกาลังเพื่อให้กรณฑ์หมด โดยนา ( n a )  a มาใช้
         5. แก้สมการตามปกติ
         6. ตรวจคาตอบที่ได้ว่าสมการเป็นจริงหรือไม่
ตัวอย่างที่ 1 จงหาเซตคาตอบจากสมการ x  9  11  x
แนวคิด              x9       =   x - 11
                             2                      2
               ( x  9)          =     ( x  11 )               (ยกกาลังสองทั้งสองข้าง)
                                           2
                   x+9           =     x  22 x  121
        2
       x  23 x  112            =     0
       ( x  7 )( x  16 )       =     0
            x  7 ,16

                                       ตรวจคาตอบ

       1. กรณี x = 7 จะได้ 7  9  11  7 เป็นเท็จ ดังนั้น 7 ไม่เป็นคาตอบของสมการ
       2. กรณี x = 16 จะได้ 16  9  11  16 เป็นจริง ดังนั้น 16 เป็นคาตอบของสมการ

       ดังนั้น เซตคาตอบของสมการ คือ  16 

ตัวอย่างที่ 2 จงหาเซตคาตอบของสมการ          x8         x 1 1  0
แนวคิด              x8      =                 x 1 1
               ( 8 x )
                             2
                                 =      x  1  1 2           (ยกกาลังสองทั้งสองข้าง)
                x8              =     x 1 2 x 1 1
                2 x 1           =     8
                   x 1          =     4                      ( ย้าย 2 มาหาร 8)
                             2             2                                  n
               ( x  1)          =     4                       ( ใช้กฎ ( n a )  a )
                         x-1     =     16
                         x       =     17

                                       ตรวจคาตอบ

                             17  8  17  1  1          =     0
                                  9  16  1              =     0
                                    3-4+1                 =     0
                                       0                  =     0      สมการเป็นจริง
 เซตคาตอบคือ  17 


ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ 2 x  1  3 x  2  4 x  3  5 x  4
แนวคิด จะเห็นว่าโจทย์ข้อนี้มี 4 กรณฑ์ ให้แบ่งเป็นข้างละ 2 กรณฑ์ โดยพยายามให้ผลบวกของ
        สัมประสิทธิ์ของ x ทั้ง 2 ข้างเท่ากันหรือใกล้เคียงกัน แล้วยกกาลังสองทั้งสองข้าง 2
ครั้ง

จะได้                   2x  1         5x  4                =          4 x  3  3x  2
                                                     2                                                2
                    ( 2x  1            5x 4 )               =      ( 4x  3            3x  2 )
( 2 x  1 )  ( 5 x  4 )  2 ( 2 x 1 )( 5 x  4 )            =
( 4 x  3 )  ( 3 x  2 )  2 ( 4 x  3 )( 3 x  2 )
                         ( 2 x  1 )( 5 x  4 )               =          ( 4 x  3 )( 3 x  2 )
                       ( 2 x  1 )( 5 x  4 )   
                                                 2
                                                              =         ( 4 x  3 )( 3 x  2 )   
                                                                                                  2



                             2                                             2
                    10 x  13 x  4                           =      12 x  17 x  6
                         2
                    2x  4x  2                               =      0                  ( นา 2 มาหารทุก
เทอม)
                        x2 - 2x + 1                           =      0
                        (x-1) (x-1)                           =      0
                                                         x    =      1



                                                         ตรวจคาตอบ

                        2 (1 )  1  5 (1 )  4               =          4 (1 )  3      3 (1 )  2
                               1 1                           =          1 1
                                 1- 1        =                1-1
                                      0                       =      0      สมการเป็นจริง

                  เซตคาตอบ = { 1 }
กราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล

       นิยาม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป

                         f   x , y   R  R y  a , a  0 , a  1
                                                          x




จากสมการ y = ax จะเรียก a ว่า ฐาน ( base) ซึ่งแบ่งการพิจารณาค่าของ a ออกได้ 2 ช่วง
เมื่อนามาเขียนกราฟได้ดังนี้

       กรณี 0 < a < 1                                               กรณี a > 1

                              y                                                  y



                              (0,1)                                      (0,1)
                                                       x                                     x
                         0                                                  0



ข้อสังเกตจากกราฟ
        1. กราฟของฟังก์ชัน y =ax , a > 0 , a  1 จะผ่านจุด (0,1)
        2. ถ้า 0 < a < 1 โดเมนเพิ่มขึ้น เรนจ์จะลดลง
            เรียก y = ax เป็นฟังก์ชันลด ( Decreasing Function)
        3. ถ้า a > 1 โดเมนเพิ่มขึ้น เรนจ์จะเพิ่มขึ้น
            เรียก y = ax เป็นฟังก์ชันเพิ่ม ( Increasing Function)
        4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เป็นฟังก์ชัน 1 - 1 จาก R ไปทั่วถึง R+ (one to one onto)
            ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เป็นฟังก์ชัน 1 - 1 หมายความว่า ถ้า ax = ay แล้ว x = y

                                                   R                       R+

                        11        
           f : R               R
                     ทัวถึง
                       ่
ตัวอย่างที่ 1 ฟังก์ชันที่กาหนดให้ต่อไปนี้ เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลด
                                                      x
                                               1 
                1.        y          =          
                                               5 
                2.        y          =         3x
                3.        y          =         3-x
แนวคิด
                1. ฟังก์ชันลด เพราะ        1
                                                เป็นฐาน ซึ่ง 0< 1 <1
                                           5                   5
                2. ฟังก์ชันเพิ่ม เพราะ 3 เป็นฐาน ซึ่ง 3 > 1
                                                                   x
                                                 1        11
                3. ฟังก์ชันลด เพราะ y = 3 = x    ดังนั้น เป็นฐาน
                                                 -x
                                                 
                                            3   3        3
                     ซึ่ง 0 < 1 <1
                              3




                                         สมการเอกซ์โพเนนเชียล

สมการเอกซ์โพเนนเชียล คือ สมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กาลัง โดยที่ฐานเป็นค่าคงตัว

หลักการทั่วไปในการแก้สมการ
       1. ถ้าโจทย์มี 2 พจน์ ให้จัดพจน์แต่ละพจน์ไว้คนละข้างของสมการ ทาฐานของเลขยก
            กาลังให้เท่ากัน แล้วเทียบเลขชี้กาลัง
       2. ถ้าโจทย์มีมากกว่า 2 พจน์ ให้จัดข้างใดข้างหนึ่งของสมการให้เท่ากับศูนย์ แยกตัว
            ประกอบ ( factor) แล้วพิจารณาค่าของตัวแปร

ตัวอย่างที่ 1   จงแก้สมการ 2x = 8
แนวคิด          ทาฐานให้เท่ากัน แล้วเทียบเลขชี้กาลัง
จะได้                  2x      =        23
                      x       =        3
1
ตัวอย่างที่ 2   จงแก้สมการ 5x =
                                        125
แนวคิด          ทาฐานให้เท่ากัน แล้วเทียบเลขชี้กาลัง
                                               1
จะได้                   5x          =             3
                                              5
                        5x          =         53
                       x           =         -3

ตัวอย่างที่ 3จงหาเซตคาตอบของสมการ 2   64           x   x 1




แนวคิด       โจทย์ข้อนี้ เป็นลักษณะโจทย์ 2 พจน์ ต้องทาฐานให้เท่ากัน เทียบเลขชี้กาลัง
            แล้วแก้สมการปกติ
จะได้                 (2x)x-1 =     64
                              =     64      =       26
                              2
                             x x
                       2

                     x2 – x =      6
                    2
                   x –x–6 =         0
                (x-3)(x+2) =        0
      จะได้           x       =     3, -2
              เซตคาตอบของสมการคือ { -2 , 3 }

More Related Content

What's hot

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
sontayath
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ทับทิม เจริญตา
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
Ritthinarongron School
 

What's hot (20)

กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
บทที่ 2 พหุนาม
บทที่ 2  พหุนามบทที่ 2  พหุนาม
บทที่ 2 พหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553
 
เมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdfเมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdf
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันสรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วนชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 

Viewers also liked

เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
Jiraprapa Suwannajak
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
Suputtra Panam
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
sawed kodnara
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
Chay Nyx
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5
krurutsamee
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
aass012
 

Viewers also liked (15)

ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
Log
LogLog
Log
 
Expolog clipvidva
Expolog clipvidvaExpolog clipvidva
Expolog clipvidva
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
 
ชุดที่5
ชุดที่5 ชุดที่5
ชุดที่5
 
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติสรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
 

Similar to Expo

คณิต มข
คณิต มขคณิต มข
คณิต มข
aom08
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
Ritthinarongron School
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Ritthinarongron School
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
eakbordin
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Suwaraporn Chaiyajina
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Theyok Tanya
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53
DearPR
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Majolica-g
 

Similar to Expo (20)

คณิต มข
คณิต มขคณิต มข
คณิต มข
 
Expo panom2
Expo panom2Expo panom2
Expo panom2
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
Matrix3
Matrix3Matrix3
Matrix3
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
Ch3 high order_od_es
Ch3 high order_od_esCh3 high order_od_es
Ch3 high order_od_es
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
 
Pat1 53
Pat1 53Pat1 53
Pat1 53
 
9789740329183
97897403291839789740329183
9789740329183
 
การอินทีเกรต
การอินทีเกรตการอินทีเกรต
การอินทีเกรต
 
Pat 1
Pat 1Pat 1
Pat 1
 
Math8
Math8Math8
Math8
 

More from Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Jiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
Jiraprapa Suwannajak
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษา
Jiraprapa Suwannajak
 
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
Jiraprapa Suwannajak
 

More from Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษา
 
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
 

Expo

  • 1. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม (Exponential Function and Logarithm Function) ข้อกาหนด เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก บทนิยาม a n  a  a  a  ...  a ( n ตัว) เมื่อ a เป็นจานวนจริงใด ๆ n เป็นจานวนเต็มบวก เรียก a ว่า ฐาน (base) เรียก n ว่า เลขชี้กาลัง ( exponent) เรียก a n ว่า เลขยกกาลัง (power) ทฤษฎีบท (Theorem) ถ้า a , b เป็นจานวนจริงที่ไม่เป็น 0 และ m , n เป็นจานวนเต็ม จะได้ (1) a m  a n  a m  n (2) ( a m ) n  a mn (3) ( ab )  a b n n n n n a a (4)    n   b b m (5) a n  a mn  1 nm a a 0 (6) a  1 1 (7) a  n  n ; n เป็นจานวนเต็มบวก a 0 0 ไม่นิยาม ตัวอย่างที่ 2 1 (1) 103.10-4 = 103+(-4) = 10-1 = 10 4 5 4+5 9 (2) X X = X = X (3) ถ้า X  0 แล้ว X.X-1 = X1+(-1) = X0 = 1
  • 2. ตัวอย่างที่ 3 (1) ( 2 3 ) 2  2 32  2 6  64 2 3 (  2 )( 3 ) 6 1 1 (2) (3 ) 3 3  6  3 729 1 (3) ถ้า x  0 แล้ว ( x 1 ) 2  x (  1 )( 2 )  x  2  2 x ตัวอย่างที่ 4 (1) ( 3 x ) 2  3 2  x 2  9 x 2 1 1 1 (2) ( 2 x 2 ) 2  2 2 ( x 2 ) 2  4 x ( 2 ) 2  4 x (3) (1 .1  10  3 ) 2  (1 .1 ) 2  (10  3 ) 2  1 .21  10  6 ตัวอย่างที่ 5 2 x 2 x (1) ถ้า y  0 แล้ว ( )  2 y y 2 (2)  1  x2   1 2 ( 1 )2 (x 2 ) x 2 x    2    2  2 4 4   ตัวอย่างที่ 6 3 10  3 (  2 )  3 2 1 1 (1) 2  10  10  10  10 10 5 2 5 (  2 ) 5 2 7 (2) 2 2 2  2  128 2 5 x 5 3 2 (3) ถ้า x  0 แล้ว 3 x x x
  • 3. รากที่ n ในระบบจานวนจริง และจานวนจริงในรูปกรณฑ์ บทนิยาม ถ้า n เป็นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 และถ้า a, x เป็นจานวนจริงซึ่งสอดคล้องกับ สมการ xn = a แล้วเราเรียก x ว่าเป็นรากที่ n ของ a ตัวอย่างที่ 1 (1) รากที่ 2 ของ 4 คือ 2 และ -2 เพราะว่า (2)2 = 4 และ (-2)2 = 4 (2) รากที่ 3 ของ -8 คือ -2 เพราะว่า (-2)3 = -8 (3) รากที่ 6 ของ 64 มีสองจานวนคือ 2 หรือ -2 (4) รากที่ 6 ของ -64 ที่เป็นจานวนจริงไม่มีเลย (5) รากที่ 3 ของ 64 มีจานวนเดียวคือ 4 (6) รากที่ 3 ของ -64 มีจานวนเดียวคือ -4 ข้อสังเกต (1) ถ้า n เป็นจานวนเต็มคู่แล้ว จานวนบวกแต่ละจานวนจะมีรากที่ n เป็น จานวนจริงสองจานวน รากหนึ่งจะเป็นจานวนบวก และอีกรากหนึ่งเป็น จานวนลบ (2) ถ้า n เป็นจานวนเต็มคู่ แล้วจานวนลบแต่ละจานวนจะไม่มีรากที่ n ที่เป็น จานวนจริง (3) ถ้า n เป็นจานวนเต็มคี่ แล้ว จานวนจริงแต่ละจานวนจะมีรากที่ n เป็นจานวน จริงเพียงจานวนเดียว รากที่ n ของจานวนบวกเป็นจานวนบวกและรากที่ n ของจานวนลบก็เป็นจานวนลบ บทนิยาม ถ้า n เป็นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 และ a เป็นจานวนจริง ( ยกเว้นกรณีที่ n เป็น จานวนคู่ และ a เป็นจานวนลบ ) แล้วเรากาหนดความหมายของ n a ดังนี้ 1 n a = a n สัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับรากที่ n ของจานวนจริง (ก) เครื่องหมาย n เรียกว่า เครื่องหมาย กรณฑ์ ( Radical) และเรียก n ว่าเป็นอันดับ ของกรณฑ์ ( อันดับของ กรณฑ์) (ข) n a อ่านว่า กรณฑ์อันดับที่ n ของ a หรือรากที่ n ของ a (ค) 2 a นิยมเขียนแทนด้วย a
  • 4. ทฤษฎีบทเกี่ยวกับรากที่ n ของจานวนจริง ถ้า a และ b เป็นจานวนจริง และ m ; n เป็นจานวนเต็มบวกที่มีค่ามากกว่า 1 โดยที่ n a และ n b หาค่าได้แล้ว 1.  n a  n =a 2. n ab = n a n b a n a 3. n = ; b0 b nb n n  a ; nเปนจำนวน คู่ ็ 4. a =   a ; nเปนจำนวน คี่ ็ 5. m n a = mn a n m 6. kn a km = a ; k เป็นจานวนเต็มบวก m  1  m 7. n a m = a  n   = a n   8. n 0 = 0 9. n 1 = 1 การบวกและการลบของจานวนที่ติดกรณฑ์ ข้อตกลง จะนาจานวนที่ติดกรณฑ์ มาบวกหรือลบกันได้ต่อเมื่อจานวนนั้น ๆ ต้องมีคุณสมบัติครบ 2 ประการ คือ 1. อันดับของกรณฑ์ต้องเท่ากัน 2. จานวนที่อยู่ภายใต้กรณฑ์ต้องเท่ากัน และเวลาบวกหรือลบกันให้นา " สัมประสิทธิ์หน้ากรณฑ์มาบวกหรือลบ " เท่านั้น ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ 5 3  3 3  2 3 แนวคิด นาสัมประสิทธิ์หน้ากรณฑ์มาบวก ลบ กัน 5 3  3 3  2 3 = 5 3 2 3 = 6 3
  • 5. ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าของ 12  27  3 แนวคิด จะต้องทาตัวเลขภายใต้กรณฑ์ให้เท่ากันเสียก่อน แล้วจึงนามาบวกลบกัน จะได้ 12  27  3 = 4 .3  9 .3  3 = 2 33 3 3 =  2  3  1 3 = 4 3 การคูณกรณฑ์ด้วยกรณฑ์ ข้อตกลง 1. จะนากรณฑ์มาคูณกันได้ก็ต่อเมื่ออันดับกรณฑ์ต้องเท่ากัน 2. เมื่ออันดับกรณฑ์เท่ากันก็ให้นาตัวเลขภายใต้กรณฑ์มาคูณกัน 3. นาสัมประสิทธิ์หน้ากรณฑ์มาคูณกัน ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่าของ  3 7  2 5  2 2  แนวคิด จะเห็นว่าคูณกันได้เลยตามข้อตกลง จะได้  3 7  2 5  2 2  =  3 .2 .2   7 .5 .2  = 12 70 ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่าของ  5  3  5  3 แนวคิด  5  3  5  3  =  5 5    5 3    3 5    3 3  =5-3 =2 ตัวอย่างที่ 7 จงหาค่าของ 2 3  2 5 3  แนวคิด จะเห็นว่าโจทย์ที่ให้อันดับของกรณฑ์ตัวตั้งกับตัวคูณไม่เท่ากัน ต้องทาให้เท่ากันเสียก่อน โดยนาอันดับของกรณฑ์ที่ทั้งตัวตั้งและตัวคูณมาหา ค.ร.น. โดยใช้ทฤษฎีบทข้อ 6 เข้าช่วย km kn m n a = a 3 .2 2 จะได้ 3 2 = 2 = 6 4 2 .3 3 3 = 3 = 6 27
  • 6.  2 3 2  5 3  = 2 6 4 5 6 27  =  2 . 5  6 4 . 27 = 10 6 108 การคูณโดยอาศัยรูปผลต่างกาลังสอง ( a  b )( a  b )  a  b ) 2 2 ดังนั้น ( a  b )( a  b )  a  b รูปผลต่างกาลังสองจะนามาใช้ในการแก้ปัญหาโจทย์เกี่ยวกับกรณฑ์ในกรณีที่ตัวส่วนติดกรณฑ์ การหารกรณฑ์ด้วยกรณฑ์ ข้อตกลง 1. จะนากรณฑ์มาหารกันได้ก็ต่อเมื่ออันดับของกรณฑ์ต้องเท่ากัน 2. เมื่ออันดับของกรณฑ์เท่ากันก็ให้นาตัวเลขภายใต้กรณฑ์มาหารกัน 3. ถ้าตัวส่วนติดกรณฑ์ต้องใช้รูปผลต่างกาลังสองแก้ปัญหา ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าของผลหารต่อไปนี้ 32 (1) 2 แนวคิด จากโจทย์จะเห็นว่าอันดับของกรณฑ์เท่ากัน สามารถกระทากันได้เลย 32 32 จะได้ = = 16 =4 2 2 15 (2) 2 แนวคิด จะเห็นว่าอันดับของกรณฑ์เท่ากัน แต่ผลหารไม่ลงตัว จะต้องทากรณฑ์ของตัวส่วนให้ หมดไป โดยนา 2 คูณทั้งตัวเศษและตัวส่วน 15 15  2 30 จะได้ =  2 2 2 2 3 2 (3) 3
  • 7. แนวคิด จะเห็นว่าอันดับกรณฑ์ไม่เท่ากันต้องเปลี่ยนเป็นกรณฑ์อันดับ 6 3 3 .2 2 6 2 2 4 จะได้ =  2 .3 3 6 3 3 3 3 6 6 3 6  4  27  4 3 =  6 3 6 3 6 6 3  3 3 6 108 = 3 ตัวอย่างที่ 9 จงทาให้ส่วนไม่มีเครื่องหมายกรณฑ์ 1 1 5  3  (1) = 5 3  5  3  5  3 5 3 = 53 5 3 = 2 ข้อสังเกต จากตัวอย่างข้างต้น  5  3  5  3  เราสามารถใช้ รูปผลต่างกาลังสองมาใช้แก้ปัญหา  a  b  a  b   a  b สรุป 1. กรณฑ์ เหมือนกันเท่านั้นจึงจะบวกลบกันได้ 2. กรณฑ์ อันดับเดียวกันเท่านั้น จึงจะคูณ หารกันได้ 3. การเปรียบเทียบ กรณฑ์ จะเปรียบเทียบได้ก็ต่อเมื่อเป็นกรณฑ์อันดับเดียวกัน
  • 8. การหารากที่สองของจานวนที่อยู่ในรูป x  2 y นักเรียนพิจารณาการกระจายต่อไปนี้ 2 2 2 2 2 ( a  b )  a  2 ab  b  ( a  b )  2 ab 2 2 2 ( a b )  ( a )  2 a . b  ( b )  ( a  b )  2 ab ดังนั้น 2 ( a  b )  2 ab  ( a b)  a b  ถ้า a , b  R ซึ่ง x = a + b และ y = ab ; 1. ( a  b )  2 ab = a b  a b เมือa  b ่ 2. ( a  b )  2 ab = a b =  b a เมือb  0 ่ 3. รากที่สองของ ( a  b )  2 ab   ( a  b ) 4. รากที่สองของ ( a  b )  2 ab   ( a  b ) 2 5. ( a  b )  2 ab  ( a  b) ตัวอย่างที่ 1 จงหารากที่สองของ 10  96 แนวคิด 1. พยายามแยกตัวประกอบ(Facter)ตัวที่อยู่ในกรณฑ์ 2. หน้ากรณฑ์สัมประสิทธิ์ต้องเป็น 2 จะได้ 10  96 = 10  4 . 24 = 10  2 24 = ( 6  4 )  2 6 .4 2 = ( 6 4) 2 = ( 6  2) ดังนั้น รากที่สองของ 10  96 =  10  2 24 2 =  ( 6  2) =  ( 6  2)
  • 9. ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ 5 2 6 แนวคิด 5 2 6 = ( 3  2 )  2 3 .2 2 = ( 3  2) = 3 2 ตัวอย่างที่ 3 จงหารากที่สองของ 18  8 5 แนวคิด 18  8 5 =  18  8 5 2 =  18  2 4 . 5 =  18  2 80 =  (10  8 )  2 10 . 8 =  ( 10  8 ) =  ( 10  2 2 การแก้สมการจานวนที่อยู่ในรูปเครื่องหมายกรณฑ์ หลักการแก้สมการ ( การหาเซตคาตอบ) เป้าหมายหลัก คือ ต้องทาให้ตัวแปรและตัวเลขในสมการไม่ติดกรณฑ์ 1. ถ้ามีเพียงหนึ่งกรณฑ์ ให้ย้ายข้างให้เหลือกรณฑ์ตัวเดียว 2. ถ้ามีกรณฑ์ 2 ตัว ให้ย้ายไปอยู่ข้างละ 1 ตัว 3. ในกรณฑ์ที่มีกรณฑ์มากให้แบ่งกรณฑ์ไปอยู่แต่ละข้างให้ยึดหลักว่า " ผลบวกของ สัมประสิทธิ์ของตัวแปรทั้งสองข้างนั้นต้องเท่ากันหรือใกล้เคียงกันมากที่สุด " n 4. ยกกาลังเพื่อให้กรณฑ์หมด โดยนา ( n a )  a มาใช้ 5. แก้สมการตามปกติ 6. ตรวจคาตอบที่ได้ว่าสมการเป็นจริงหรือไม่
  • 10. ตัวอย่างที่ 1 จงหาเซตคาตอบจากสมการ x  9  11  x แนวคิด x9 = x - 11 2 2 ( x  9) = ( x  11 ) (ยกกาลังสองทั้งสองข้าง) 2 x+9 = x  22 x  121 2 x  23 x  112 = 0 ( x  7 )( x  16 ) = 0  x  7 ,16 ตรวจคาตอบ 1. กรณี x = 7 จะได้ 7  9  11  7 เป็นเท็จ ดังนั้น 7 ไม่เป็นคาตอบของสมการ 2. กรณี x = 16 จะได้ 16  9  11  16 เป็นจริง ดังนั้น 16 เป็นคาตอบของสมการ ดังนั้น เซตคาตอบของสมการ คือ  16  ตัวอย่างที่ 2 จงหาเซตคาตอบของสมการ x8  x 1 1  0 แนวคิด x8 = x 1 1 ( 8 x ) 2 =  x  1  1 2 (ยกกาลังสองทั้งสองข้าง) x8 = x 1 2 x 1 1 2 x 1 = 8 x 1 = 4 ( ย้าย 2 มาหาร 8) 2 2 n ( x  1) = 4 ( ใช้กฎ ( n a )  a ) x-1 = 16 x = 17 ตรวจคาตอบ 17  8  17  1  1 = 0 9  16  1 = 0 3-4+1 = 0 0 = 0 สมการเป็นจริง
  • 11.  เซตคาตอบคือ  17  ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ 2 x  1  3 x  2  4 x  3  5 x  4 แนวคิด จะเห็นว่าโจทย์ข้อนี้มี 4 กรณฑ์ ให้แบ่งเป็นข้างละ 2 กรณฑ์ โดยพยายามให้ผลบวกของ สัมประสิทธิ์ของ x ทั้ง 2 ข้างเท่ากันหรือใกล้เคียงกัน แล้วยกกาลังสองทั้งสองข้าง 2 ครั้ง จะได้ 2x  1  5x  4 = 4 x  3  3x  2 2 2 ( 2x  1  5x 4 ) = ( 4x  3  3x  2 ) ( 2 x  1 )  ( 5 x  4 )  2 ( 2 x 1 )( 5 x  4 ) = ( 4 x  3 )  ( 3 x  2 )  2 ( 4 x  3 )( 3 x  2 ) ( 2 x  1 )( 5 x  4 ) = ( 4 x  3 )( 3 x  2 )  ( 2 x  1 )( 5 x  4 )  2 =  ( 4 x  3 )( 3 x  2 )  2 2 2 10 x  13 x  4 = 12 x  17 x  6 2 2x  4x  2 = 0 ( นา 2 มาหารทุก เทอม) x2 - 2x + 1 = 0 (x-1) (x-1) = 0 x = 1 ตรวจคาตอบ 2 (1 )  1  5 (1 )  4 = 4 (1 )  3  3 (1 )  2 1 1 = 1 1 1- 1 = 1-1 0 = 0 สมการเป็นจริง  เซตคาตอบ = { 1 }
  • 12. กราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล นิยาม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f   x , y   R  R y  a , a  0 , a  1  x จากสมการ y = ax จะเรียก a ว่า ฐาน ( base) ซึ่งแบ่งการพิจารณาค่าของ a ออกได้ 2 ช่วง เมื่อนามาเขียนกราฟได้ดังนี้ กรณี 0 < a < 1 กรณี a > 1 y y (0,1) (0,1) x x 0 0 ข้อสังเกตจากกราฟ 1. กราฟของฟังก์ชัน y =ax , a > 0 , a  1 จะผ่านจุด (0,1) 2. ถ้า 0 < a < 1 โดเมนเพิ่มขึ้น เรนจ์จะลดลง เรียก y = ax เป็นฟังก์ชันลด ( Decreasing Function) 3. ถ้า a > 1 โดเมนเพิ่มขึ้น เรนจ์จะเพิ่มขึ้น เรียก y = ax เป็นฟังก์ชันเพิ่ม ( Increasing Function) 4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เป็นฟังก์ชัน 1 - 1 จาก R ไปทั่วถึง R+ (one to one onto) ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เป็นฟังก์ชัน 1 - 1 หมายความว่า ถ้า ax = ay แล้ว x = y R R+ 11  f : R R ทัวถึง ่
  • 13. ตัวอย่างที่ 1 ฟังก์ชันที่กาหนดให้ต่อไปนี้ เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลด x 1  1. y =   5  2. y = 3x 3. y = 3-x แนวคิด 1. ฟังก์ชันลด เพราะ 1 เป็นฐาน ซึ่ง 0< 1 <1 5 5 2. ฟังก์ชันเพิ่ม เพราะ 3 เป็นฐาน ซึ่ง 3 > 1 x 1 11 3. ฟังก์ชันลด เพราะ y = 3 = x    ดังนั้น เป็นฐาน -x   3 3 3 ซึ่ง 0 < 1 <1 3 สมการเอกซ์โพเนนเชียล สมการเอกซ์โพเนนเชียล คือ สมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กาลัง โดยที่ฐานเป็นค่าคงตัว หลักการทั่วไปในการแก้สมการ 1. ถ้าโจทย์มี 2 พจน์ ให้จัดพจน์แต่ละพจน์ไว้คนละข้างของสมการ ทาฐานของเลขยก กาลังให้เท่ากัน แล้วเทียบเลขชี้กาลัง 2. ถ้าโจทย์มีมากกว่า 2 พจน์ ให้จัดข้างใดข้างหนึ่งของสมการให้เท่ากับศูนย์ แยกตัว ประกอบ ( factor) แล้วพิจารณาค่าของตัวแปร ตัวอย่างที่ 1 จงแก้สมการ 2x = 8 แนวคิด ทาฐานให้เท่ากัน แล้วเทียบเลขชี้กาลัง จะได้ 2x = 23  x = 3
  • 14. 1 ตัวอย่างที่ 2 จงแก้สมการ 5x = 125 แนวคิด ทาฐานให้เท่ากัน แล้วเทียบเลขชี้กาลัง 1 จะได้ 5x = 3 5 5x = 53  x = -3 ตัวอย่างที่ 3จงหาเซตคาตอบของสมการ 2   64 x x 1 แนวคิด โจทย์ข้อนี้ เป็นลักษณะโจทย์ 2 พจน์ ต้องทาฐานให้เท่ากัน เทียบเลขชี้กาลัง แล้วแก้สมการปกติ จะได้ (2x)x-1 = 64 = 64 = 26 2 x x 2  x2 – x = 6 2 x –x–6 = 0 (x-3)(x+2) = 0 จะได้ x = 3, -2  เซตคาตอบของสมการคือ { -2 , 3 }