SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
บทที่ 3
สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง
(Higher Order Linear Differential Equations)
3.1 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้น (linear ordinary differential equations)
สมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้นอันดับ n คือสมการเชิงอนุพันธ์ที่สามารถเขียนได้ในรูป


    ( ) ( 1)
0 1 1
( ) ( ) ( ) ( ) ( )n n
n n
a x y a x y a x y a x y f x (1)
โดยที่ 0
( ) 0a x สําหรับทุก x ในช่วง I ซึ่งเรียก 0 1
( ), ( ), , ( )n
a x a x a x ว่าฟังก์ชันสัมประสิทธิ์
และเรียก 0
( )a x ฟังก์ชันสัมประสิทธิ์นํา
ถ้า ( ) 0f x สําหรับทุกค่า x ในช่วง I แล้ว จะเรียกสมการ (1) ว่า สมการเชิงเส้นเอกพันธุ์
(homogeneous linear equation) แต่ถ้า ( ) 0f x สําหรับทุกค่า x ในช่วง I แล้ว จะเรียกสมการ
(1) ว่า สมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (nonhomogeneous linear equation )
ในกรณีที่สมการ (1) เป็นสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ เราสามารถหาผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์


    ( ) ( 1)
0 1 1
( ) ( ) ( ) ( ) 0n n
n n
a x y a x y a x y a x y (2)
ซึ่งสอดคล้องกับสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์นั้นได้ และเรียกสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์ (2) ว่า สมการเชิงเส้นเอก
พันธุ์สมทบ (associated homogeneous linear equation )
ตัวอย่างที่ 3.1.1 สมการเชิงเส้นเอกพันธุ์
     3 5 7 0y y y y
  
2
2
2
2 2 0
d y dy
x x y
dxdx
ตัวอย่างที่ 3.1.2 สมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์
     3 5 7 siny y y y x
  
2
2
2
2 2 6
d y dy
x x y
dxdx
2 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์
บทนิยามที่ 3.1.1 จะกล่าวว่าสมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้น (1) เป็นปรกติ (normal) บนช่วง I ก็ต่อเมื่อ
ฟังก์ชัน 0 1
( ), ( ), , ( )n
a x a x a x และ ( )f x เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง I และ 0
( ) 0a x สําหรับ
ทุก x ในช่วง I
ตัวอย่างที่ 3.1.3 สมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์   
2
2
2 2 6
d y dy
x y
dxdx
เป็นปรกติบนทุกช่วง I ใดๆ
เนื่องจากประกอบด้วย 0
( ) 1a x ,  1
( ) 2a x x , 2
( ) 2a x และ ( ) 6f x ซึ่งมีความต่อเนื่องที่
ทุกจุด x ที่เป็นจํานวนจริง และ 0
( ) 0a x ทุกค่า x
3.2 การมีจริงและความเป็นได้อย่างเดียวของผลเฉลย (existence and uniqueness of
solutions)
ทฤษฎีบทที่ 3.2.1 สมมติให้สมการ


    ( ) ( 1)
0 1 1
( ) ( ) ( ) ( ) ( )n n
n n
a x y a x y a x y a x y f x (1)
เป็นปรกติบนช่วง I ซึ่งบรรจุจุด 0
x และกําหนดให้ 
0 1 2 1
, , , , n
y y y y เป็นจํานวนจริง แล้วจะมี
 ( )y y x เพียงฟังก์ชันเดียวเท่านั้นที่นิยามบน I ซึ่งเป็นผลเฉลยของสมการ (1) ที่สอดคล้องกับเงื่อนไข
เริ่มต้น


     ( 1)
0 0 0 1 0 2 0 1
( ) , ( ) , ( ) , , ( )n
n
y x y y x y y x y y x y
บทแทรก 3.1.1 กําหนดให้สมการ


    ( ) ( 1)
0 1 1
( ) ( ) ( ) ( ) 0n n
n n
a x y a x y a x y a x y (2)
เป็นปรกติบนช่วง I ซึ่งบรรจุจุด 0
x แล้วจะมี  0y เพียงผลเฉลยเดียวของสมการ (2) ที่สอดคล้องกับ
เงื่อนไขเริ่มต้น

     ( 1)
0 0 0 0
( ) 0, ( ) 0, ( ) 0, , ( ) 0n
y x y x y x y x
บทนิยามที่ 3.2.1 ผลเฉลย  0y ของสมการเชิงอนุพันธ์ เรียกว่า ผลเฉลยชัด (trivial solution) และ
สําหรับผลเฉลยอื่น เรียกว่า ผลเฉลยไม่ชัด (nontrivial solution)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง | 3
3.3 หลักการซ้อนทับ (superposition principle)
ทฤษฎีบทที่ 3.3.1 กําหนดให้ 1 2
, , , n
y y y เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์อันดับ n


    ( ) ( 1)
0 1 1
( ) ( ) ( ) ( ) 0n n
n n
a x y a x y a x y a x y (1)
บนช่วง I ซึ่งสมการ (1) เป็นปรกติ แล้วผลรวมเชิงเส้น (linear combination)
   1 1 2 2
( ) ( ) ( )n n
y c y x c y x c y x
เมื่อ 1 2
, , , n
c c c เป็นค่าคงตัวใดๆ เป็นผลเฉลยของสมการของสมการ (1) บนช่วง I ด้วย
บทแทรก 3.3.1 ถ้าฟังก์ชัน 1
( )y x เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์ แล้ว  1
( )y cy x เมื่อ c
เป็นค่าคงตัวใดๆ เป็นผลเฉลยของสมการของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์นั้นด้วย
บทแทรก 3.3.2 สมการเชิงเส้นเอกพันธุ์มีผลเฉลยชัด  0y เสมอ
ตัวอย่างที่ 3.3.1 กําหนดให้  2
1
y x และ  2
2
lny x x เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์
   3
2 4 0x y xy y บนช่วง (0, ) ดังนั้นโดยหลักการซ้อนทับฟังก์ชัน 2 2
1 2
lny c x c x x 
ซึ่งเป็นผลรวมเชิงเส้นของ 1
y และ 2
y จะเป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์ดังกล่าวบนช่วง (0, )
ด้วย
3.4 ความเป็นอิสระเชิงเส้น (linearly independence)
บทนิยาม 3.4.1 จะกล่าวว่าฟังก์ชัน 1 2
( ), ( ), , ( )n
f x f x f x ไม่เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน (linearly
dependent) บนช่วง I ก็ต่อเมื่อ มีค่าคงตัว 1 2
, , , n
c c c ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน ซึ่ง
1 1 2 2
( ) ( ) ( ) 0n n
c f x c f x c f x   
สําหรับทุก x ในช่วง I
ตัวอย่างที่ 3.4.1 กําหนดฟังก์ชัน 2 2 2
1 2 3
( ) cos , ( ) sin , ( ) secf x x f x x f x x   และ
2
4
( ) tanf x x บนช่วง ( 2, 2)  จงแสดงว่า 1 2 3
, ,f f f และ 4
f เป็นไม่เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน
วิธีทํา ให้ 1 2 3
, ,c c c และ 4
c เป็นจํานวนจริงใดๆ จะแสดงว่ามี 1 2 3
, ,c c c และ 4
c ที่ไม่เป็นศูนย์พร้อม
กันซึ่งทําให้ 1 1 2 2 3 3 4 4
( ) ( ) ( ) ( ) 0c f x c f x c f x c f x    ในช่วง ( 2, 2) 
พิจารณา 2 2 2 2
1 2 3 4
cos sin sec tan 0c x c x c x c x   
หรือ 2 2 2 2
1 2 3 4
(1 sin ) sin (1 tan ) tan 0c x c x c x c x     
จะได้ 2 2
1 3 2 1 3 4
( ) ( )sin ( )tan 0c c c c x c c x      (1)
4 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์
เนื่องจากสมการ (1) เป็นจริงสําหรับทุกค่า x ในช่วง ( 2, 2)  ดังนั้น
ถ้าให้ 0x  จะได้ 1 3
0c c 
ถ้าให้
6
x

 จะได้ 1 2 3 4
3 1 4 1
0
4 4 3 3
c c c c   
ถ้าให้
4
x

 จะได้ 1 2 3 4
1 1
2 0
2 2
c c c c   
ถ้าให้
3
x

 จะได้ 1 2 3 4
1 3
4 3 0
4 4
c c c c   
โดยการแก้ระบบสมการข้างต้น จะได้ 1 2 3
, ,c t c t c t     และ 4
c t  เมื่อ t เป็นจํานวนจริง
ใดๆ เช่น ถ้ากําหนดให้ 1t  แล้วจะได้ 1 2 3
1, 1, 1c c c     และ 4
1c   เพราะฉะนั้น จะ
เห็นได้ว่า มีค่าคงตัว 1 2 3
, ,c c c และ 4
c ที่ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน ซึ่งทําให้
1 1 2 2 3 3 4 4
( ) ( ) ( ) ( ) 0c f x c f x c f x c f x   
สําหรับทุก x ในช่วง ( 2, 2)  แสดงว่า 1 2 3
, ,f f f และ 4
f เป็นไม่เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน 
บทนิยาม 3.4.2 จะกล่าวว่าฟังก์ชัน 1 2
( ), ( ), , ( )n
f x f x f x เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน (linearly
independent) บนช่วง I ก็ต่อเมื่อ มีค่าคงตัว 1 2
, , , n
c c c ซึ่งทําให้
1 1 2 2
( ) ( ) ( ) 0n n
c f x c f x c f x   
สําหรับทุก x ในช่วง I เพียงชุดเดียวเท่านั้น คือ 1 2
0n
c c c   
3.5 รอนสเกียน (Wronskian)
บทนิยาม 3.5.1 สมมติว่าฟังก์ชัน 1 2
( ), ( ), , ( )n
f x f x f x เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์อย่างน้อย
1n  อันดับแรกได้ แล้ว รอนสเกียนของ 1 2
, , , n
f f f คือ ตัวกําหนด 1 2
( , , , )n
W f f f ซึ่งนิยาม
โดย
1 2
1 2
1 2
( 1) ( 1) ( 1)
1 2
( , , , )
n
n
n
n n n
n
f f f
f f f
W f f f
f f f  
  




   

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง | 5
ทฤษฎีบท 3.5.1 กําหนดให้ 1 2
, , , n
y y y เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์อันดับ n ซึ่งสมการ
เป็นปรกติบนช่วง I แล้ว เซตของผลเฉลยดังกล่าวเป็นอิสระเชิงเส้นต่อกันบนช่วง I ก็ต่อเมื่อ
1 2
( , , , ) 0n
W y y y  สําหรับทุก x ในช่วง I
ตัวอย่างที่ 3.5.1 จงแสดงว่าฟังก์ชัน 3
1
( ) x
y x e และ 3
2
( ) x
y x e
 ซึ่งเป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้น
เอกพันธุ์ 9 0y y   บนช่วง ( , )  เป็นผลเฉลยที่เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน
วิธีทํา จะแสดงว่า 1 2
( , ) 0W y y  สําหรับทุก x ในช่วง ( , )  นั่นคือ
3 3
1 2
3 31 2
1 2
( , ) 6
3 3
x x
x x
y y e e
W y y
y y e e


   
  
เนื่องจาก 1 2
( , ) 6 0W y y    สําหรับทุก x ในช่วง ( , )  ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า 1
y และ 2
y
เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกันบนช่วงดังกล่าว 
3.6 ผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้น (general solutions of linear
ordinary differential equations)
3.6.1 ผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์ (general solutions of homogeneous linear
equation)
บทนิยาม 3.6.1 จะเรียกฟังก์ชัน 1 2
, , , n
y y y ซึ่งเป็นผลเฉลยใดๆ ที่เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกันของสมการ
เชิงเส้นเอกพันธุ์อันดับ n ซึ่งสมการเป็นปรกติบนช่วง I ว่า ผลเฉลยหลักมูล (fundamental solutions)
บนช่วง I
ทฤษฎีบท 3.6.1 กําหนดให้ 1 2
, , , n
y y y เป็นผลเฉลยหลักมูลของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์อันดับ n ซึ่ง
สมการเป็นปรกติบนช่วง I แล้วผลเฉลยทั่วไปของสมการดังกล่าวบนช่วง I คือฟังก์ชัน
1 1 2 2
( ) ( ) ( ) ( )n n
y x c y x c y x c y x   
เมื่อ 1 2
, , , n
c c c เป็นค่าคงตัวใดๆ
ตัวอย่างที่ 3.6.1 ฟังก์ชัน 2
1 2
( ) , ( )x x
y x e y x e  และ 3
3
( ) x
y x e เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้น
เอกพันธุ์ 6 11 6 0y y y y      เนื่องจาก
2 3
1 2 3
2 3 6
1 2 3 1 2 3
2 3
1 2 3
( , , ) 2 3 2 0
4 9
x x x
x x x x
x x x
e e ey y y
W y y y y y y e e e e
y y y e e e
     
  
สําหรับทุกจํานวนจริง x
6 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์
ดังนั้น 1 2
,y y และ 3
y เป็นผลเฉลยหลักมูล (เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน) ของสมการดังกล่าวบนช่วง
( , )  และมีผลเฉลยทั่วไปคือ 2 3
1 2 3
( ) x x x
y x c e c e c e   
3.6.2 ผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (general solutions of nonhomogeneous
linear equation)
ทฤษฎีบท 3.6.2 กําหนดให้ p
y เป็นผลเฉลยเฉพาะ (particular solution) ของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์
อันดับ n
( ) ( 1)
0 1 1
( ) ( ) ( ) ( ) ( )n n
n n
a x y a x y a x y a x y f x

     (1)
ซึ่งสมการเป็นปรกติบนช่วง I และให้ 1 2
, , , n
y y y เป็นผลเฉลยหลักมูลของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์
สมทบ
( ) ( 1)
0 1 1
( ) ( ) ( ) ( ) 0n n
n n
a x y a x y a x y a x y

     (2)
บนช่วง I แล้วผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (1) บนช่วง I คือฟังก์ชัน
1 1 2 2
( ) ( ) ( ) ( )n n p
y x c y x c y x c y x y    
เมื่อ 1 2
, , , n
c c c เป็นค่าคงตัวใดๆ
พิสูจน์ สมมติให้ p
y เป็นผลเฉลยเฉพาะและ ( )y x เป็นผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (1)
ถ้านิยาม ( ) ( ) ( )c p
y x y x y x  แล้วจะแสดงว่า c
y เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์สมทบ (2)
นั่นคือ
( )
0 1
( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n
c n c n c
a x y x a x y x a x y x
  
( ) ( )
0 1
( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n n
p n p n p
a x y x y x a x y x y x a x y x y x
                 
( )
0 1
( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n
n n
a x y x a x y x a x y x
     
( )
0 1
( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n
p n p n p
a x y x a x y x a x y x
     
( ) ( ) 0f x f x  
จากการแสดงข้างต้นจะเห็นได้ว่า c
y เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์สมทบ (2) เพราะฉะนั้น โดย
ทฤษฎีบท 3.6.1 จะได้ว่า 1 1 2 2
( ) ( ) ( ) ( )c n n
y x c y x c y x c y x    เมื่อ 1 2
, , , n
y y y เป็นผล
เฉลยหลักมูลของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์สมทบ (2) และ 1 2
, , , n
c c c เป็นค่าคงตัวใดๆ
และเนื่องจากเรานิยาม  ( ) ( ) ( )c p
y x y x y x ดังนั้นจะได้ว่า
    1 1 2 2
( ) ( ) ( ) ( ) ( )p n n
y x y x c y x c y x c y x
หรือ     1 1 2 2
( ) ( ) ( ) ( ) ( )n n p
y x c y x c y x c y x y x
เป็นผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (1) 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง | 7
จากทฤษฎีบท 3.6.2 จะเห็นได้ว่าผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ คือผลบวกของสอง
ฟังก์ชัน ประกอบด้วย ฟังก์ชันผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์สมทบ (2) ซึ่งเรียกว่า ฟังก์ชันเติม
เต็ม (complementary function) สําหรับสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (1) เขียนแทนด้วย c
y และฟังก์ชัน
p
y ซึ่งเป็นผลเฉลยเฉพาะของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (1) ดังนั้น เราสามารถเขียนแทนผลเฉลยของ
สมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ได้เป็น ( ) ( ) ( )c p
y x y x y x 
ตัวอย่างที่ 3.6.2 กําหนดสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์   4 12y y x ซึ่งมีผลเฉลยเฉพาะ คือ ( ) 3p
y x x
และ  1 2
( ) cos2 sin2c
y x c x c x เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์สมทบ   4 0y y จง
หาผลเฉลยของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ดังกล่าวที่สอดคล้องกับเงื่อนไขเริ่มต้น (0) 5y และ
 (0) 7y
วิธีทํา จากทฤษฎีบท 3.6.2 ผลเฉลยทั่วไปของสมการ   4 12y y x คือ
  1 2
( ) cos2 sin2 3y x c x c x x
ขณะที่     1 2
( ) 2 sin2 2 cos2 3y x c x c x
ซึ่งจากการประยุกต์ใช้เงื่อนไขเริ่มต้น จะได้
1
5c
และ  2
2 3 7c หรือ 2
2c
ดังนั้น ผลเฉลยของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขเริ่มต้นดังกล่าว คือ
  ( ) 5 cos2 2 sin 2 3y x x x x 
3.7 ตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์ (differential operator)
เพื่อความสะดวกในการเขียนสมการเชิงอนุพันธ์ เราจะกําหนดตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ D
เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ในการบ่งชี้ถึงการหาอนุพันธ์ซึ่งเรียกว่า ตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์ (differential
operator) ดังบทนิยามต่อไปนี้
บทนิยาม 3.7.1 ตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์ D เป็นฟังก์ชันซึ่งสําหรับทุกฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ f
จะได้ว่า Df f  และสําหรับแต่ละค่าของ x ในโดเมนของ f  แล้วจะได้ว่า
( ) ( )Df x f x
ดังนั้น จากบทนิยาม 3.7.1 จะพบว่าเราสามารถเขียนแทน d
dx
ได้ด้วยตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์
D นั่นคือ
d
D
dx
 และจะได้ว่า ( ) ( ) ( )
d
Df x f x f x
dx
  ตัวอย่างเช่น
8 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์
3 3 2
( ) ( ) 3
d
D x x x
dx
 
 (sin2 ) (sin2 ) 2cos2
d
D x x x
dx
ในทํานองเดียวกันกับบทนิยาม 3.7.1 เราสามารถเขียนตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์อันดับที่ n แทน
ด้วยสัญลักษณ์ n
D สําหรับทุกจํานวนเต็มที่ไม่เป็นลบ n ซึ่งนิยามโดย
( )
n
n n
n
d
D f
dx
 
เช่น
2 3
2 3 ( )
2 3
, , ,
n
n n
n
d d d
D f D f D f
dx dx dx
      
สําหรับการเขียนแสดงพหุนามที่ประกอบด้วยตัวดําเนินการ D จะเรียกว่าตัวดําเนินการเชิง
อนุพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างเช่น 2D  , 2
2 1D D  และ 3 2
2 1xD x D  เป็นต้น และโดยทั่วไป
เรานิยามตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับ n (nth order differential operator) ซึ่งเขียนแทน
ด้วยตัวดําเนินการ L กําหนดโดย
1
1 1 0
( ) ( ) ( ) ( )n n
n n
L a x D a x D a x D a x

    
และถ้า ( )y y x เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ทุกอันดับ แล้วจะได้ว่า
Ly  1
1 1 0
( ) ( ) ( ) ( )n n
n n
a x D a x D a x D a x y

    
1
1 1 0
( ) ( ) ( ) ( )n n
n n
a x D y a x D y a x Dy a x y

    
ในบางบริบท ตัวดําเนินการ D สามารถดําเนินการทางพีชคณิตได้เปรียบเสมือนว่าเป็นจํานวนจริง
เช่น
m n m n
D D D 
 เมื่อ m และ n เป็นจํานวนเต็มที่ไม่เป็นลบ
( )( ) ( )( )aD b cD d cD d aD b     เมื่อ , ,a b c และ d เป็นจํานวนจริง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง | 9
แบบฝึกหัดที่ 3.1
ข้อ 1. – ข้อ 24. จงหาผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์
1. 4 5 0y y y   
2. 2 2 0y y y   
3.
4 2
4 2
16 24 9 0
d y d y
y
dx dx
  
4. 3 2 0y y y   
5. 2 3 4 0y y y   
6.
4 2
4 2
7 18 0
d y d y
y
dx dx
  
7. 4 5 0y y y    
8. 5 3 9 0y y y y     
9. 3 4 12 0y y y y     
10. 3 3 0y y y y     
11. 6 12 8 0y y y y     
12. (4)
2 0y y y  
13. (4)
0y y y   
14. (4)
18 81 0y y y  
15.
4 2
4 2
7 18 0
d y d y
y
dx dx
  
16.
8 4
8 4
8 16 0
d y d y
y
dx dx
  
17. (4)
12 31 75 37 5 0y y y y y      
18. (4)
7 6 30 36 0y y y y y      
19. (4)
6 17 22 14 0y y y y y      
20. (4)
9 9 0y y y y     
10 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์
21. (6) (5) (4)
7 21 33 14 36 40 0y y y y y y y        
22.
5 4 3 2
5 4 3 2
5 2 10 5 0
d y d y d y d y dy
y
dxdx dx dx dx
     
23.
5 4 3 2
5 4 3 2
2 7 12 8 0
d y d y d y d y
dx dx dx dx
    ( 1
0,0, ,2 2
2
m i   )
24.
7 6 5 4 3 2
7 6 5 4 3 2
8 23 26 2 32 24 0
d y d y d y d y d y d y dy
dxdx dx dx dx dx dx
      
ข้อ 25. – ข้อ 26. จงแก้ปัญหาค่าเริ่มต้น
25. 4 3 0y y y    เมื่อกําหนด (0) 7y  และ (0) 11y 
26. 9 6 4 0y y y    เมื่อกําหนด (0) 3y  และ (0) 4y 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง |
11
แบบฝึกหัดที่ 3.2
ข้อ 1. – ข้อ 50. จงหาผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์
1.    3
16 x
y y e 2. 3 10 ( 1)x
y y y x e    
3.    6 2sin 3y y y x 4.     2 3 4y y y x
5.     2
siny y y x 6.    4 4 3 x
y y y xe
7.     2
2 4 7y y y x 8.    2 5 sinx
y y y e x
9.    9 2cos 3 3sin 3y y x x 10.    4 3 1y y x
11.   (5) (4)
5 17y y y 12.     2
2 4 7y y y x
13.    2 siny y x 14.  (4)
8 4y y
15.      2
4 3 cos 3y y y x x x 16.     7x
y y e
17.    sin cosy y x x x 18.    2 3
9 2 5x
y y x e
19.      10 25 14 x
y y y y e 20.  2
( 25) 20sin5D y x
21. 
    2
6 8 3 2x
y y y e x 22.    2
( 4) 4cos 3sin 8D y x x
23.  2
( 25) 6sinD y x 24.  2 2
( 4) cosD y x
25. 2
( 4) 4 cos 3 8x
D y x e    26. 2 2
( 4) 8x
D y e  
27. 2
( 1) secD y x  28.
2
2
( 4)
x
e
D y
x
 
29. 2
( 1) tanD y x  30. 2
( 1) sec tanD y x x 
31. 2 2
( 1) secD y x  32. 2 1
( 3 2)
1 x
D D y
e
  

33. 2
2
( 2 1)
1
x
e
D D y
x
  

34. 2
( 3 2) sin( )x
D D y e  
35. 2
( 2 1) arctant
D D y e t   36. 2
( 2 1) lnt
D D y e t
  
12 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์
37. 2
(3 6 6) secx
D D y e x   38. 22 2
(4 4 1) 1
x
D D y e x   
39. 2
(2 2 1) 4D D y x   40. 2 2
( 1) cscD y x 
41. 1 22 2
( 3 2) (1 )x
D D y e

    42. 2 2
( 2 1) ( 1)x
D D y e 
   
43. 2
( 3 2) cos( )x
D D y e
   44. 2 2 2
( 1) 2 (1 )x x
D y e e 
  
45.
2
2
2
( 3 2)
1
x
x
e
D D y
e
  

46. 2
( 1) csc cotD y x x 
47. 2 2
( 1) csc secD y x x  48. 2 2
( 1) sin( )x x
D y e e 
 
49. 2
( 2 2) cscx
D D y e x   50. 1 22 2
( 1) 2(1 )x
D y e

  
51. tany y x   52. 4 sec2y y x  

More Related Content

What's hot

ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6Roman Paduka
 
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิลโครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิลnoeiinoii
 
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)Non Phakanon
 
การคำนวณกระจกนูน
การคำนวณกระจกนูนการคำนวณกระจกนูน
การคำนวณกระจกนูนsripai52
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)Thanuphong Ngoapm
 
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิบทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิPojjanee Paniangvait
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6KruGift Girlz
 
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วน
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วนข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วน
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วนsawed kodnara
 
ข้อสอบคณิต สายศิลป์
ข้อสอบคณิต สายศิลป์ข้อสอบคณิต สายศิลป์
ข้อสอบคณิต สายศิลป์nutkanthida
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด O-SOT Kanesuna POTATO
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดWanida Keawprompakdee
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาSornram Wicheislang
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานspanerrrrr
 
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555Koksi Vocation
 

What's hot (20)

ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6
 
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิลโครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
 
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
การคำนวณกระจกนูน
การคำนวณกระจกนูนการคำนวณกระจกนูน
การคำนวณกระจกนูน
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
 
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิบทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
 
ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วน
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วนข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วน
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วน
 
ข้อสอบคณิต สายศิลป์
ข้อสอบคณิต สายศิลป์ข้อสอบคณิต สายศิลป์
ข้อสอบคณิต สายศิลป์
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555
 

Similar to Ch3 high order_od_es

Similar to Ch3 high order_od_es (20)

4339
43394339
4339
 
คณิต มข
คณิต มขคณิต มข
คณิต มข
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
Dk
DkDk
Dk
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
43040989
4304098943040989
43040989
 
43040989
4304098943040989
43040989
 
323232
323232323232
323232
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
Contraction Mapping
Contraction MappingContraction Mapping
Contraction Mapping
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
บทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรมบทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรม
 

Ch3 high order_od_es

  • 1. บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง (Higher Order Linear Differential Equations) 3.1 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้น (linear ordinary differential equations) สมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้นอันดับ n คือสมการเชิงอนุพันธ์ที่สามารถเขียนได้ในรูป       ( ) ( 1) 0 1 1 ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n n n n a x y a x y a x y a x y f x (1) โดยที่ 0 ( ) 0a x สําหรับทุก x ในช่วง I ซึ่งเรียก 0 1 ( ), ( ), , ( )n a x a x a x ว่าฟังก์ชันสัมประสิทธิ์ และเรียก 0 ( )a x ฟังก์ชันสัมประสิทธิ์นํา ถ้า ( ) 0f x สําหรับทุกค่า x ในช่วง I แล้ว จะเรียกสมการ (1) ว่า สมการเชิงเส้นเอกพันธุ์ (homogeneous linear equation) แต่ถ้า ( ) 0f x สําหรับทุกค่า x ในช่วง I แล้ว จะเรียกสมการ (1) ว่า สมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (nonhomogeneous linear equation ) ในกรณีที่สมการ (1) เป็นสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ เราสามารถหาผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์       ( ) ( 1) 0 1 1 ( ) ( ) ( ) ( ) 0n n n n a x y a x y a x y a x y (2) ซึ่งสอดคล้องกับสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์นั้นได้ และเรียกสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์ (2) ว่า สมการเชิงเส้นเอก พันธุ์สมทบ (associated homogeneous linear equation ) ตัวอย่างที่ 3.1.1 สมการเชิงเส้นเอกพันธุ์      3 5 7 0y y y y    2 2 2 2 2 0 d y dy x x y dxdx ตัวอย่างที่ 3.1.2 สมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์      3 5 7 siny y y y x    2 2 2 2 2 6 d y dy x x y dxdx
  • 2. 2 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ บทนิยามที่ 3.1.1 จะกล่าวว่าสมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้น (1) เป็นปรกติ (normal) บนช่วง I ก็ต่อเมื่อ ฟังก์ชัน 0 1 ( ), ( ), , ( )n a x a x a x และ ( )f x เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง I และ 0 ( ) 0a x สําหรับ ทุก x ในช่วง I ตัวอย่างที่ 3.1.3 สมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์    2 2 2 2 6 d y dy x y dxdx เป็นปรกติบนทุกช่วง I ใดๆ เนื่องจากประกอบด้วย 0 ( ) 1a x ,  1 ( ) 2a x x , 2 ( ) 2a x และ ( ) 6f x ซึ่งมีความต่อเนื่องที่ ทุกจุด x ที่เป็นจํานวนจริง และ 0 ( ) 0a x ทุกค่า x 3.2 การมีจริงและความเป็นได้อย่างเดียวของผลเฉลย (existence and uniqueness of solutions) ทฤษฎีบทที่ 3.2.1 สมมติให้สมการ       ( ) ( 1) 0 1 1 ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n n n n a x y a x y a x y a x y f x (1) เป็นปรกติบนช่วง I ซึ่งบรรจุจุด 0 x และกําหนดให้  0 1 2 1 , , , , n y y y y เป็นจํานวนจริง แล้วจะมี  ( )y y x เพียงฟังก์ชันเดียวเท่านั้นที่นิยามบน I ซึ่งเป็นผลเฉลยของสมการ (1) ที่สอดคล้องกับเงื่อนไข เริ่มต้น        ( 1) 0 0 0 1 0 2 0 1 ( ) , ( ) , ( ) , , ( )n n y x y y x y y x y y x y บทแทรก 3.1.1 กําหนดให้สมการ       ( ) ( 1) 0 1 1 ( ) ( ) ( ) ( ) 0n n n n a x y a x y a x y a x y (2) เป็นปรกติบนช่วง I ซึ่งบรรจุจุด 0 x แล้วจะมี  0y เพียงผลเฉลยเดียวของสมการ (2) ที่สอดคล้องกับ เงื่อนไขเริ่มต้น       ( 1) 0 0 0 0 ( ) 0, ( ) 0, ( ) 0, , ( ) 0n y x y x y x y x บทนิยามที่ 3.2.1 ผลเฉลย  0y ของสมการเชิงอนุพันธ์ เรียกว่า ผลเฉลยชัด (trivial solution) และ สําหรับผลเฉลยอื่น เรียกว่า ผลเฉลยไม่ชัด (nontrivial solution)
  • 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง | 3 3.3 หลักการซ้อนทับ (superposition principle) ทฤษฎีบทที่ 3.3.1 กําหนดให้ 1 2 , , , n y y y เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์อันดับ n       ( ) ( 1) 0 1 1 ( ) ( ) ( ) ( ) 0n n n n a x y a x y a x y a x y (1) บนช่วง I ซึ่งสมการ (1) เป็นปรกติ แล้วผลรวมเชิงเส้น (linear combination)    1 1 2 2 ( ) ( ) ( )n n y c y x c y x c y x เมื่อ 1 2 , , , n c c c เป็นค่าคงตัวใดๆ เป็นผลเฉลยของสมการของสมการ (1) บนช่วง I ด้วย บทแทรก 3.3.1 ถ้าฟังก์ชัน 1 ( )y x เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์ แล้ว  1 ( )y cy x เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใดๆ เป็นผลเฉลยของสมการของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์นั้นด้วย บทแทรก 3.3.2 สมการเชิงเส้นเอกพันธุ์มีผลเฉลยชัด  0y เสมอ ตัวอย่างที่ 3.3.1 กําหนดให้  2 1 y x และ  2 2 lny x x เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์    3 2 4 0x y xy y บนช่วง (0, ) ดังนั้นโดยหลักการซ้อนทับฟังก์ชัน 2 2 1 2 lny c x c x x  ซึ่งเป็นผลรวมเชิงเส้นของ 1 y และ 2 y จะเป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์ดังกล่าวบนช่วง (0, ) ด้วย 3.4 ความเป็นอิสระเชิงเส้น (linearly independence) บทนิยาม 3.4.1 จะกล่าวว่าฟังก์ชัน 1 2 ( ), ( ), , ( )n f x f x f x ไม่เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน (linearly dependent) บนช่วง I ก็ต่อเมื่อ มีค่าคงตัว 1 2 , , , n c c c ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน ซึ่ง 1 1 2 2 ( ) ( ) ( ) 0n n c f x c f x c f x    สําหรับทุก x ในช่วง I ตัวอย่างที่ 3.4.1 กําหนดฟังก์ชัน 2 2 2 1 2 3 ( ) cos , ( ) sin , ( ) secf x x f x x f x x   และ 2 4 ( ) tanf x x บนช่วง ( 2, 2)  จงแสดงว่า 1 2 3 , ,f f f และ 4 f เป็นไม่เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน วิธีทํา ให้ 1 2 3 , ,c c c และ 4 c เป็นจํานวนจริงใดๆ จะแสดงว่ามี 1 2 3 , ,c c c และ 4 c ที่ไม่เป็นศูนย์พร้อม กันซึ่งทําให้ 1 1 2 2 3 3 4 4 ( ) ( ) ( ) ( ) 0c f x c f x c f x c f x    ในช่วง ( 2, 2)  พิจารณา 2 2 2 2 1 2 3 4 cos sin sec tan 0c x c x c x c x    หรือ 2 2 2 2 1 2 3 4 (1 sin ) sin (1 tan ) tan 0c x c x c x c x      จะได้ 2 2 1 3 2 1 3 4 ( ) ( )sin ( )tan 0c c c c x c c x      (1)
  • 4. 4 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ เนื่องจากสมการ (1) เป็นจริงสําหรับทุกค่า x ในช่วง ( 2, 2)  ดังนั้น ถ้าให้ 0x  จะได้ 1 3 0c c  ถ้าให้ 6 x   จะได้ 1 2 3 4 3 1 4 1 0 4 4 3 3 c c c c    ถ้าให้ 4 x   จะได้ 1 2 3 4 1 1 2 0 2 2 c c c c    ถ้าให้ 3 x   จะได้ 1 2 3 4 1 3 4 3 0 4 4 c c c c    โดยการแก้ระบบสมการข้างต้น จะได้ 1 2 3 , ,c t c t c t     และ 4 c t  เมื่อ t เป็นจํานวนจริง ใดๆ เช่น ถ้ากําหนดให้ 1t  แล้วจะได้ 1 2 3 1, 1, 1c c c     และ 4 1c   เพราะฉะนั้น จะ เห็นได้ว่า มีค่าคงตัว 1 2 3 , ,c c c และ 4 c ที่ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน ซึ่งทําให้ 1 1 2 2 3 3 4 4 ( ) ( ) ( ) ( ) 0c f x c f x c f x c f x    สําหรับทุก x ในช่วง ( 2, 2)  แสดงว่า 1 2 3 , ,f f f และ 4 f เป็นไม่เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน  บทนิยาม 3.4.2 จะกล่าวว่าฟังก์ชัน 1 2 ( ), ( ), , ( )n f x f x f x เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน (linearly independent) บนช่วง I ก็ต่อเมื่อ มีค่าคงตัว 1 2 , , , n c c c ซึ่งทําให้ 1 1 2 2 ( ) ( ) ( ) 0n n c f x c f x c f x    สําหรับทุก x ในช่วง I เพียงชุดเดียวเท่านั้น คือ 1 2 0n c c c    3.5 รอนสเกียน (Wronskian) บทนิยาม 3.5.1 สมมติว่าฟังก์ชัน 1 2 ( ), ( ), , ( )n f x f x f x เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์อย่างน้อย 1n  อันดับแรกได้ แล้ว รอนสเกียนของ 1 2 , , , n f f f คือ ตัวกําหนด 1 2 ( , , , )n W f f f ซึ่งนิยาม โดย 1 2 1 2 1 2 ( 1) ( 1) ( 1) 1 2 ( , , , ) n n n n n n n f f f f f f W f f f f f f              
  • 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง | 5 ทฤษฎีบท 3.5.1 กําหนดให้ 1 2 , , , n y y y เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์อันดับ n ซึ่งสมการ เป็นปรกติบนช่วง I แล้ว เซตของผลเฉลยดังกล่าวเป็นอิสระเชิงเส้นต่อกันบนช่วง I ก็ต่อเมื่อ 1 2 ( , , , ) 0n W y y y  สําหรับทุก x ในช่วง I ตัวอย่างที่ 3.5.1 จงแสดงว่าฟังก์ชัน 3 1 ( ) x y x e และ 3 2 ( ) x y x e  ซึ่งเป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้น เอกพันธุ์ 9 0y y   บนช่วง ( , )  เป็นผลเฉลยที่เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน วิธีทํา จะแสดงว่า 1 2 ( , ) 0W y y  สําหรับทุก x ในช่วง ( , )  นั่นคือ 3 3 1 2 3 31 2 1 2 ( , ) 6 3 3 x x x x y y e e W y y y y e e          เนื่องจาก 1 2 ( , ) 6 0W y y    สําหรับทุก x ในช่วง ( , )  ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า 1 y และ 2 y เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกันบนช่วงดังกล่าว  3.6 ผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้น (general solutions of linear ordinary differential equations) 3.6.1 ผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์ (general solutions of homogeneous linear equation) บทนิยาม 3.6.1 จะเรียกฟังก์ชัน 1 2 , , , n y y y ซึ่งเป็นผลเฉลยใดๆ ที่เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกันของสมการ เชิงเส้นเอกพันธุ์อันดับ n ซึ่งสมการเป็นปรกติบนช่วง I ว่า ผลเฉลยหลักมูล (fundamental solutions) บนช่วง I ทฤษฎีบท 3.6.1 กําหนดให้ 1 2 , , , n y y y เป็นผลเฉลยหลักมูลของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์อันดับ n ซึ่ง สมการเป็นปรกติบนช่วง I แล้วผลเฉลยทั่วไปของสมการดังกล่าวบนช่วง I คือฟังก์ชัน 1 1 2 2 ( ) ( ) ( ) ( )n n y x c y x c y x c y x    เมื่อ 1 2 , , , n c c c เป็นค่าคงตัวใดๆ ตัวอย่างที่ 3.6.1 ฟังก์ชัน 2 1 2 ( ) , ( )x x y x e y x e  และ 3 3 ( ) x y x e เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้น เอกพันธุ์ 6 11 6 0y y y y      เนื่องจาก 2 3 1 2 3 2 3 6 1 2 3 1 2 3 2 3 1 2 3 ( , , ) 2 3 2 0 4 9 x x x x x x x x x x e e ey y y W y y y y y y e e e e y y y e e e          สําหรับทุกจํานวนจริง x
  • 6. 6 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ ดังนั้น 1 2 ,y y และ 3 y เป็นผลเฉลยหลักมูล (เป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน) ของสมการดังกล่าวบนช่วง ( , )  และมีผลเฉลยทั่วไปคือ 2 3 1 2 3 ( ) x x x y x c e c e c e    3.6.2 ผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (general solutions of nonhomogeneous linear equation) ทฤษฎีบท 3.6.2 กําหนดให้ p y เป็นผลเฉลยเฉพาะ (particular solution) ของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ อันดับ n ( ) ( 1) 0 1 1 ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n n n n a x y a x y a x y a x y f x       (1) ซึ่งสมการเป็นปรกติบนช่วง I และให้ 1 2 , , , n y y y เป็นผลเฉลยหลักมูลของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์ สมทบ ( ) ( 1) 0 1 1 ( ) ( ) ( ) ( ) 0n n n n a x y a x y a x y a x y       (2) บนช่วง I แล้วผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (1) บนช่วง I คือฟังก์ชัน 1 1 2 2 ( ) ( ) ( ) ( )n n p y x c y x c y x c y x y     เมื่อ 1 2 , , , n c c c เป็นค่าคงตัวใดๆ พิสูจน์ สมมติให้ p y เป็นผลเฉลยเฉพาะและ ( )y x เป็นผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (1) ถ้านิยาม ( ) ( ) ( )c p y x y x y x  แล้วจะแสดงว่า c y เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์สมทบ (2) นั่นคือ ( ) 0 1 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n c n c n c a x y x a x y x a x y x    ( ) ( ) 0 1 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n n p n p n p a x y x y x a x y x y x a x y x y x                   ( ) 0 1 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n n n a x y x a x y x a x y x       ( ) 0 1 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n p n p n p a x y x a x y x a x y x       ( ) ( ) 0f x f x   จากการแสดงข้างต้นจะเห็นได้ว่า c y เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์สมทบ (2) เพราะฉะนั้น โดย ทฤษฎีบท 3.6.1 จะได้ว่า 1 1 2 2 ( ) ( ) ( ) ( )c n n y x c y x c y x c y x    เมื่อ 1 2 , , , n y y y เป็นผล เฉลยหลักมูลของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์สมทบ (2) และ 1 2 , , , n c c c เป็นค่าคงตัวใดๆ และเนื่องจากเรานิยาม  ( ) ( ) ( )c p y x y x y x ดังนั้นจะได้ว่า     1 1 2 2 ( ) ( ) ( ) ( ) ( )p n n y x y x c y x c y x c y x หรือ     1 1 2 2 ( ) ( ) ( ) ( ) ( )n n p y x c y x c y x c y x y x เป็นผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (1) 
  • 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง | 7 จากทฤษฎีบท 3.6.2 จะเห็นได้ว่าผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ คือผลบวกของสอง ฟังก์ชัน ประกอบด้วย ฟังก์ชันผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์สมทบ (2) ซึ่งเรียกว่า ฟังก์ชันเติม เต็ม (complementary function) สําหรับสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (1) เขียนแทนด้วย c y และฟังก์ชัน p y ซึ่งเป็นผลเฉลยเฉพาะของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ (1) ดังนั้น เราสามารถเขียนแทนผลเฉลยของ สมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ได้เป็น ( ) ( ) ( )c p y x y x y x  ตัวอย่างที่ 3.6.2 กําหนดสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์   4 12y y x ซึ่งมีผลเฉลยเฉพาะ คือ ( ) 3p y x x และ  1 2 ( ) cos2 sin2c y x c x c x เป็นผลเฉลยของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์สมทบ   4 0y y จง หาผลเฉลยของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ดังกล่าวที่สอดคล้องกับเงื่อนไขเริ่มต้น (0) 5y และ  (0) 7y วิธีทํา จากทฤษฎีบท 3.6.2 ผลเฉลยทั่วไปของสมการ   4 12y y x คือ   1 2 ( ) cos2 sin2 3y x c x c x x ขณะที่     1 2 ( ) 2 sin2 2 cos2 3y x c x c x ซึ่งจากการประยุกต์ใช้เงื่อนไขเริ่มต้น จะได้ 1 5c และ  2 2 3 7c หรือ 2 2c ดังนั้น ผลเฉลยของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขเริ่มต้นดังกล่าว คือ   ( ) 5 cos2 2 sin 2 3y x x x x  3.7 ตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์ (differential operator) เพื่อความสะดวกในการเขียนสมการเชิงอนุพันธ์ เราจะกําหนดตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ D เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ในการบ่งชี้ถึงการหาอนุพันธ์ซึ่งเรียกว่า ตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์ (differential operator) ดังบทนิยามต่อไปนี้ บทนิยาม 3.7.1 ตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์ D เป็นฟังก์ชันซึ่งสําหรับทุกฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ f จะได้ว่า Df f  และสําหรับแต่ละค่าของ x ในโดเมนของ f  แล้วจะได้ว่า ( ) ( )Df x f x ดังนั้น จากบทนิยาม 3.7.1 จะพบว่าเราสามารถเขียนแทน d dx ได้ด้วยตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์ D นั่นคือ d D dx  และจะได้ว่า ( ) ( ) ( ) d Df x f x f x dx   ตัวอย่างเช่น
  • 8. 8 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ 3 3 2 ( ) ( ) 3 d D x x x dx    (sin2 ) (sin2 ) 2cos2 d D x x x dx ในทํานองเดียวกันกับบทนิยาม 3.7.1 เราสามารถเขียนตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์อันดับที่ n แทน ด้วยสัญลักษณ์ n D สําหรับทุกจํานวนเต็มที่ไม่เป็นลบ n ซึ่งนิยามโดย ( ) n n n n d D f dx   เช่น 2 3 2 3 ( ) 2 3 , , , n n n n d d d D f D f D f dx dx dx        สําหรับการเขียนแสดงพหุนามที่ประกอบด้วยตัวดําเนินการ D จะเรียกว่าตัวดําเนินการเชิง อนุพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างเช่น 2D  , 2 2 1D D  และ 3 2 2 1xD x D  เป็นต้น และโดยทั่วไป เรานิยามตัวดําเนินการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับ n (nth order differential operator) ซึ่งเขียนแทน ด้วยตัวดําเนินการ L กําหนดโดย 1 1 1 0 ( ) ( ) ( ) ( )n n n n L a x D a x D a x D a x       และถ้า ( )y y x เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ทุกอันดับ แล้วจะได้ว่า Ly  1 1 1 0 ( ) ( ) ( ) ( )n n n n a x D a x D a x D a x y       1 1 1 0 ( ) ( ) ( ) ( )n n n n a x D y a x D y a x Dy a x y       ในบางบริบท ตัวดําเนินการ D สามารถดําเนินการทางพีชคณิตได้เปรียบเสมือนว่าเป็นจํานวนจริง เช่น m n m n D D D   เมื่อ m และ n เป็นจํานวนเต็มที่ไม่เป็นลบ ( )( ) ( )( )aD b cD d cD d aD b     เมื่อ , ,a b c และ d เป็นจํานวนจริง
  • 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง | 9 แบบฝึกหัดที่ 3.1 ข้อ 1. – ข้อ 24. จงหาผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นเอกพันธุ์ 1. 4 5 0y y y    2. 2 2 0y y y    3. 4 2 4 2 16 24 9 0 d y d y y dx dx    4. 3 2 0y y y    5. 2 3 4 0y y y    6. 4 2 4 2 7 18 0 d y d y y dx dx    7. 4 5 0y y y     8. 5 3 9 0y y y y      9. 3 4 12 0y y y y      10. 3 3 0y y y y      11. 6 12 8 0y y y y      12. (4) 2 0y y y   13. (4) 0y y y    14. (4) 18 81 0y y y   15. 4 2 4 2 7 18 0 d y d y y dx dx    16. 8 4 8 4 8 16 0 d y d y y dx dx    17. (4) 12 31 75 37 5 0y y y y y       18. (4) 7 6 30 36 0y y y y y       19. (4) 6 17 22 14 0y y y y y       20. (4) 9 9 0y y y y     
  • 10. 10 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ 21. (6) (5) (4) 7 21 33 14 36 40 0y y y y y y y         22. 5 4 3 2 5 4 3 2 5 2 10 5 0 d y d y d y d y dy y dxdx dx dx dx       23. 5 4 3 2 5 4 3 2 2 7 12 8 0 d y d y d y d y dx dx dx dx     ( 1 0,0, ,2 2 2 m i   ) 24. 7 6 5 4 3 2 7 6 5 4 3 2 8 23 26 2 32 24 0 d y d y d y d y d y d y dy dxdx dx dx dx dx dx        ข้อ 25. – ข้อ 26. จงแก้ปัญหาค่าเริ่มต้น 25. 4 3 0y y y    เมื่อกําหนด (0) 7y  และ (0) 11y  26. 9 6 4 0y y y    เมื่อกําหนด (0) 3y  และ (0) 4y 
  • 11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง | 11 แบบฝึกหัดที่ 3.2 ข้อ 1. – ข้อ 50. จงหาผลเฉลยทั่วไปของสมการเชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ 1.    3 16 x y y e 2. 3 10 ( 1)x y y y x e     3.    6 2sin 3y y y x 4.     2 3 4y y y x 5.     2 siny y y x 6.    4 4 3 x y y y xe 7.     2 2 4 7y y y x 8.    2 5 sinx y y y e x 9.    9 2cos 3 3sin 3y y x x 10.    4 3 1y y x 11.   (5) (4) 5 17y y y 12.     2 2 4 7y y y x 13.    2 siny y x 14.  (4) 8 4y y 15.      2 4 3 cos 3y y y x x x 16.     7x y y e 17.    sin cosy y x x x 18.    2 3 9 2 5x y y x e 19.      10 25 14 x y y y y e 20.  2 ( 25) 20sin5D y x 21.      2 6 8 3 2x y y y e x 22.    2 ( 4) 4cos 3sin 8D y x x 23.  2 ( 25) 6sinD y x 24.  2 2 ( 4) cosD y x 25. 2 ( 4) 4 cos 3 8x D y x e    26. 2 2 ( 4) 8x D y e   27. 2 ( 1) secD y x  28. 2 2 ( 4) x e D y x   29. 2 ( 1) tanD y x  30. 2 ( 1) sec tanD y x x  31. 2 2 ( 1) secD y x  32. 2 1 ( 3 2) 1 x D D y e     33. 2 2 ( 2 1) 1 x e D D y x     34. 2 ( 3 2) sin( )x D D y e   35. 2 ( 2 1) arctant D D y e t   36. 2 ( 2 1) lnt D D y e t   
  • 12. 12 | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ฤทธิ์ แก้วบรรจักร์ 37. 2 (3 6 6) secx D D y e x   38. 22 2 (4 4 1) 1 x D D y e x    39. 2 (2 2 1) 4D D y x   40. 2 2 ( 1) cscD y x  41. 1 22 2 ( 3 2) (1 )x D D y e      42. 2 2 ( 2 1) ( 1)x D D y e      43. 2 ( 3 2) cos( )x D D y e    44. 2 2 2 ( 1) 2 (1 )x x D y e e     45. 2 2 2 ( 3 2) 1 x x e D D y e     46. 2 ( 1) csc cotD y x x  47. 2 2 ( 1) csc secD y x x  48. 2 2 ( 1) sin( )x x D y e e    49. 2 ( 2 2) cscx D D y e x   50. 1 22 2 ( 1) 2(1 )x D y e     51. tany y x   52. 4 sec2y y x  