SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
การสร้างงานโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (computer program) หมายถึงชุด
ของคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่
ต้องการ ส่วนการเขียนโปรแกรม (programming) หมายถึง การ
เขียนชุดคาสั่งด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เพื่อให้
คอมพิวเตอร์ทางานตามโปรแกรมที่เราเขียนขึ้น
การสร้างงานโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็น สัญลักษณ์ที่
ผู้พัฒนาภาษากาหนดรหัสคาสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานอุปกรณ์ในระบบ
คอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัสคาสั่งอยู่ในรูปแบบ
เลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน
ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้าน
ประสิทธิภาพคาสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษา
ใดมีคาสั่งที่มีประสิทธิภาพควบ คุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้าง
โปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กาหนดจุดประสงค์ไว้
ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
เป็น กระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทางานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้
ระบบการทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สาหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจาก
จัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมา
ใช้ในการดาเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความ
เหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง ดาเนินงานดังนี้
1.) ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา
2.) ขั้นวางแผนและการออกแบบ
3.) ขั้นดาเนินการเขียน คาสั่งงาน
4.) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
5.) ขั้นจัดทาคู่มือระบบ
6.) ขั้นการติดตั้ง
7.) ขั้นการบารุงรักษา
การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงาน
โปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งาน
วิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์
วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา
ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถ
ปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจ วิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อ
วิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนว
ทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อยดังนี้
1.) สิ่งที่ต้องการ
2.) สมการคานวณ
3.) ข้อมูล นาเข้า
4.) การแสดงผล
5.) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร
6.) ลาดับขั้นตอนการทางาน
2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มี หลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ
ขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี
โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็น ขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ใน
กระบวน การวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งาน
คา สั่ง ที่แต่ ละภาษาได้กาหนดไว้
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณี ผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การ
ทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อ
ตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบ
ระบบจะมี 2 ช่วง คือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้
ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และ
ตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน
5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อ โปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้อง
จัดทาเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวมเอกสารที่
จัดทาจาก 1 – 4 มา รวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธี
ปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน
การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทางาน
ของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ การควบคุมการทางาน
โดยใช้สัญลักษณ์ที่กาหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน
ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงานประเภทผังงาน
โปรแกรมดังนี้
1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่
2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนําในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลําดับการทํางานได้งาย ไม่
สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้
1. ทิศทางการทํางานต้องเรียงลําดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
2. ใช้ชื่อหนวยความจํา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
3. ลูกศรกํากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น
4. เส้นทางการทํางานหามมีจุดตัดการทํางาน
5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทํางานใด ๆ
6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน
7. หากมีคําอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้
ทําให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก
2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนําไปเขียนคําสั่งได้ทุกภาษา
3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว
4. รูป แบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลําดับการทํางานของระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น เรื่อง
การออกแบบระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนําเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้
1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ โดยไม่มีทาง
แยกการ ทางานแต่อย่างใด เช่น
2.) การ เขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน แสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ
กาหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทาง
ประมวลผลคาสั่งที่ได้กาหนดไว้เช่น รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี
ตาแหน่ง ผู้ชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล
3.) การ เขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มี
ลักษณะกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวน
ซ้าหรือออกจากการวน ซ้าเช่น
4.) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มี
ลักษณะ ทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ
เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซ้าหรือออกจากการวนซ้า
กรณีศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน
การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทานั้น สิ่งที่สาคัญที่สุดในการ
แก้ปัญหา จะต้องดาเนินการตามขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลาดับขั้นตอนการทางาน
ว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอนใด เป็นขั้นตอนเป็นลาดับถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอน
สุดท้าย
การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทาเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็น
ขั้นตอนที่สาคัญที่สุด โดยจะต้องกาหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวมรายละเอียดของ
ปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็น
อย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้อนเข้าเครื่องเป็นอย่าง ไร ถ้าต้องการผลลัพธ์เช่นนี้ การวิเคราะห์
งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนาเข้า (Input) วิธีการประมวลผล(Process)
และการกาหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม
หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสําคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทํางาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การ
วิเคราะห์งานตามลําดับดังนี้
สิ่ง ที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทํางานงานแต่ละชนิดอาจ ต้องการให้
คอมพิวเตอร์แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการอาจจะดูที่
คําสั่งหรือโจทย์ของงานนั้นๆว่าต้อง การให้ทําอะไรบ้าง
ผลลัพธ์ ที่ต้องการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือรูปแบบของผลลัพธ์ที่เราต้องการให้
คอมพิวเตอร์แสดงออกมา รายละเอียดที่ต้องการในรายงานหรือผลลัพธ์นั้น ๆ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมที่จะต้อง
กําหนดรูปแบบว่างานที่ต้องการให้ คอมพิวเตอร์ทํานั้น ควรจะมีรายละเอียดอะไร เพื่อความสะดวกของผู้นําผลลัพธ์ไป
ใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่จําเป็นและมีความสําคัญ และต้องพิจารณาอย่างละเอียด เพราะการวิเคราะห์รายงาน
จะทําให้เราทราบจุดหมายที่ต้องการ หรือเป็นการกําหนดขอบเขตของงานที่เราต้องการทํานั่นเอง
ข้อมูล นําเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทําต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้ลักษณะของรายงานแน่นอน
แล้ว เราก็มาพิจารณาข้อมูลนําเข้านั้นจะต้องดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขั้นตอนใน การประมวลผลด้วย
ตัว แปรที่ใช้ เป็นการกําหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการอ้างถึง ข้อมูล และการเขียน
โปรแกรม การตั้งชื่อตัวแปรควรจะตั้งให้มีความหมายและเกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้ากับหลักเกณฑ์
ของภาษาคอมพิวเตอร์นั้นๆ
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว
1.สิ่งที่ต้องการ :
หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว
2.รูปแบบผลลัพธ์ :
The area is xxxx
3.ข้อมูลนําเข้า :
ความกว้าง และ ความยาว
4.ตัวแปร :
L = ความยาว
W = ความกว้าง
Area = พื้นที่
5.วิธีประมวลผล :
1) รับข้อมูล L
2) รับข้อมูล W
3) ประมวลผล(คํานวณหาพื้นที่) Area = L*W
4) แสดงผล “The area is xxxx”
5) จบการทํางาน
จุดประสงค์
1.อธิบายจุดเด่นประสิทธิภาพการทางานของภาษาคอมพิวเตอร์ที่กาหนดให้ได้
2.อธิบายลักษณะการทางานของโปรแกรมประเภทตัวแปลภาษาที่กาหนดให้ได้
3.อธิบายขั้นตอนการพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ได้
4.อธิบายหน้าที่การทางานของสัญลักษณ์ผังงานที่กาหนดให้ได้
5.วิเคราะห์โจทย์ปัญหาที่กาหนดให้ แล้วเขียนขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นได้
6.โจทย์ปัญหาที่กาหนดให้ แล้วเขียนลาดับงานด้วยผังงานโปรแกรมได้
7.วิเคราะห์ข้อผิดพลาดของผังงานโปรแกรมที่กาหนดให้ แล้วเขียนแก้ไข้ให้ถูกต้องได้
ชื่อสมชิก
1นายณัฐพนธ์ อินทร์หอม เลขที่4
2.นายพีรพัฒน์ สงเคราะห์ เลขที่13
3.นายสิรภพ คมขา เลขที่15
4.นายกฤศอนันต์ ชาญเชี่ยว เลขที่16
5.นาวสาวอังค์วรา เปี่ยมพร้อม เลขที่27
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/3
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
ขอบคุณครับ/ค่ะ

More Related Content

What's hot

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Hm Thanachot
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศPhutawan Murcielago
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Patitta Intarasopa
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ Last'z Regrets
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์benz18
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีssuser5adb53
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155patchu0625
 

What's hot (19)

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155
 

Viewers also liked

สื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภาสื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภาComputer ITSWKJ
 
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงานระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงานพัน พัน
 
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาการจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาleemeanxun
 
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовой
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовойНовые инновационные технологиии производства заготовок в столовой
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовойFoodRussiaSchool
 
วิเคราะห์งานIS1
วิเคราะห์งานIS1วิเคราะห์งานIS1
วิเคราะห์งานIS1พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซตพัน พัน
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsPeerapat Teerawattanasuk
 
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้ม
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้มKrungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้ม
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้มThanom Ketem
 
столовая Xxi века
столовая Xxi векастоловая Xxi века
столовая Xxi векаFoodRussiaSchool
 
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016Fedor Ovchinnikov
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนtumetr1
 
Ищем помещения для пиццерий!
Ищем помещения для пиццерий!Ищем помещения для пиццерий!
Ищем помещения для пиццерий!Fedor Ovchinnikov
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 

Viewers also liked (20)

06 businessfinance v1
06 businessfinance v106 businessfinance v1
06 businessfinance v1
 
สื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภาสื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภา
 
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงานระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน
 
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาการจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
 
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовой
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовойНовые инновационные технологиии производства заготовок в столовой
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовой
 
วิเคราะห์งานIS1
วิเคราะห์งานIS1วิเคราะห์งานIS1
วิเคราะห์งานIS1
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซต
 
ไวนิล 2
ไวนิล 2ไวนิล 2
ไวนิล 2
 
อินเดีย
อินเดียอินเดีย
อินเดีย
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
 
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้ม
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้มKrungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้ม
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้ม
 
столовая Xxi века
столовая Xxi векастоловая Xxi века
столовая Xxi века
 
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
 
Ищем помещения для пиццерий!
Ищем помещения для пиццерий!Ищем помещения для пиццерий!
Ищем помещения для пиццерий!
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 

Similar to การสร้างงานโปรแกรม

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต
 
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือโครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือcartoon656
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือSoldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือKaRn Tik Tok
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาtyt13
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

Similar to การสร้างงานโปรแกรม (19)

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
mindmap
mindmapmindmap
mindmap
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือโครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
Learn 1
Learn 1Learn 1
Learn 1
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 

More from Computer ITSWKJ

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงComputer ITSWKJ
 
การ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะ
การ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะการ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะ
การ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะComputer ITSWKJ
 
สุขศึกษา ม.1
สุขศึกษา ม.1สุขศึกษา ม.1
สุขศึกษา ม.1Computer ITSWKJ
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อมComputer ITSWKJ
 
พละสุขศึกษา ม.6
พละสุขศึกษา ม.6พละสุขศึกษา ม.6
พละสุขศึกษา ม.6Computer ITSWKJ
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรComputer ITSWKJ
 
สื่อการสอนเรื่อง If-clause
สื่อการสอนเรื่อง If-clauseสื่อการสอนเรื่อง If-clause
สื่อการสอนเรื่อง If-clauseComputer ITSWKJ
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมComputer ITSWKJ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตComputer ITSWKJ
 
สื่อครุแห้ว59
สื่อครุแห้ว59สื่อครุแห้ว59
สื่อครุแห้ว59Computer ITSWKJ
 
สื่อการสอน59
สื่อการสอน59สื่อการสอน59
สื่อการสอน59Computer ITSWKJ
 
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gbโหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gbComputer ITSWKJ
 

More from Computer ITSWKJ (14)

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
การ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะ
การ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะการ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะ
การ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะ
 
สุขศึกษา ม.1
สุขศึกษา ม.1สุขศึกษา ม.1
สุขศึกษา ม.1
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อม
 
พละสุขศึกษา ม.6
พละสุขศึกษา ม.6พละสุขศึกษา ม.6
พละสุขศึกษา ม.6
 
พละ ม.1
พละ ม.1พละ ม.1
พละ ม.1
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
สื่อการสอนเรื่อง If-clause
สื่อการสอนเรื่อง If-clauseสื่อการสอนเรื่อง If-clause
สื่อการสอนเรื่อง If-clause
 
Adverbs
AdverbsAdverbs
Adverbs
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
สื่อครุแห้ว59
สื่อครุแห้ว59สื่อครุแห้ว59
สื่อครุแห้ว59
 
สื่อการสอน59
สื่อการสอน59สื่อการสอน59
สื่อการสอน59
 
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gbโหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
 

การสร้างงานโปรแกรม

  • 2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (computer program) หมายถึงชุด ของคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ ต้องการ ส่วนการเขียนโปรแกรม (programming) หมายถึง การ เขียนชุดคาสั่งด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ทางานตามโปรแกรมที่เราเขียนขึ้น การสร้างงานโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
  • 3. ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็น สัญลักษณ์ที่ ผู้พัฒนาภาษากาหนดรหัสคาสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานอุปกรณ์ในระบบ คอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัสคาสั่งอยู่ในรูปแบบ เลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้าน ประสิทธิภาพคาสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษา ใดมีคาสั่งที่มีประสิทธิภาพควบ คุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้าง โปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กาหนดจุดประสงค์ไว้ ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
  • 4. เป็น กระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทางานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ ระบบการทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สาหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจาก จัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมา ใช้ในการดาเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความ เหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง ดาเนินงานดังนี้ 1.) ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา 2.) ขั้นวางแผนและการออกแบบ 3.) ขั้นดาเนินการเขียน คาสั่งงาน 4.) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 5.) ขั้นจัดทาคู่มือระบบ 6.) ขั้นการติดตั้ง 7.) ขั้นการบารุงรักษา การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์
  • 5. แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงาน โปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งาน วิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถ ปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้ แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
  • 6. 1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจ วิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อ วิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนว ทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อยดังนี้ 1.) สิ่งที่ต้องการ 2.) สมการคานวณ 3.) ข้อมูล นาเข้า 4.) การแสดงผล 5.) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร 6.) ลาดับขั้นตอนการทางาน 2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มี หลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ ขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้ 3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็น ขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ใน กระบวน การวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งาน คา สั่ง ที่แต่ ละภาษาได้กาหนดไว้
  • 7. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณี ผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การ ทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อ ตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบ ระบบจะมี 2 ช่วง คือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และ ตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน 5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อ โปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้อง จัดทาเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวมเอกสารที่ จัดทาจาก 1 – 4 มา รวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธี ปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
  • 8. การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทางาน ของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ การควบคุมการทางาน โดยใช้สัญลักษณ์ที่กาหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงานประเภทผังงาน โปรแกรมดังนี้
  • 9. 1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ 2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนําในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลําดับการทํางานได้งาย ไม่ สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ทิศทางการทํางานต้องเรียงลําดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 2. ใช้ชื่อหนวยความจํา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 3. ลูกศรกํากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น 4. เส้นทางการทํางานหามมีจุดตัดการทํางาน 5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทํางานใด ๆ 6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน 7. หากมีคําอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น 3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้ ทําให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก 2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนําไปเขียนคําสั่งได้ทุกภาษา 3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว 4. รูป แบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลําดับการทํางานของระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น เรื่อง การออกแบบระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนําเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้
  • 10. 1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ โดยไม่มีทาง แยกการ ทางานแต่อย่างใด เช่น 2.) การ เขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน แสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ กาหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทาง ประมวลผลคาสั่งที่ได้กาหนดไว้เช่น รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตาแหน่ง ผู้ชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล 3.) การ เขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มี ลักษณะกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวน ซ้าหรือออกจากการวน ซ้าเช่น 4.) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มี ลักษณะ ทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซ้าหรือออกจากการวนซ้า
  • 11. กรณีศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทานั้น สิ่งที่สาคัญที่สุดในการ แก้ปัญหา จะต้องดาเนินการตามขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลาดับขั้นตอนการทางาน ว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอนใด เป็นขั้นตอนเป็นลาดับถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอน สุดท้าย การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทาเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็น ขั้นตอนที่สาคัญที่สุด โดยจะต้องกาหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวมรายละเอียดของ ปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็น อย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้อนเข้าเครื่องเป็นอย่าง ไร ถ้าต้องการผลลัพธ์เช่นนี้ การวิเคราะห์ งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนาเข้า (Input) วิธีการประมวลผล(Process) และการกาหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม
  • 12. หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสําคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทํางาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การ วิเคราะห์งานตามลําดับดังนี้ สิ่ง ที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทํางานงานแต่ละชนิดอาจ ต้องการให้ คอมพิวเตอร์แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการอาจจะดูที่ คําสั่งหรือโจทย์ของงานนั้นๆว่าต้อง การให้ทําอะไรบ้าง ผลลัพธ์ ที่ต้องการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือรูปแบบของผลลัพธ์ที่เราต้องการให้ คอมพิวเตอร์แสดงออกมา รายละเอียดที่ต้องการในรายงานหรือผลลัพธ์นั้น ๆ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมที่จะต้อง กําหนดรูปแบบว่างานที่ต้องการให้ คอมพิวเตอร์ทํานั้น ควรจะมีรายละเอียดอะไร เพื่อความสะดวกของผู้นําผลลัพธ์ไป ใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่จําเป็นและมีความสําคัญ และต้องพิจารณาอย่างละเอียด เพราะการวิเคราะห์รายงาน จะทําให้เราทราบจุดหมายที่ต้องการ หรือเป็นการกําหนดขอบเขตของงานที่เราต้องการทํานั่นเอง ข้อมูล นําเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทําต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้ลักษณะของรายงานแน่นอน แล้ว เราก็มาพิจารณาข้อมูลนําเข้านั้นจะต้องดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขั้นตอนใน การประมวลผลด้วย ตัว แปรที่ใช้ เป็นการกําหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการอ้างถึง ข้อมูล และการเขียน โปรแกรม การตั้งชื่อตัวแปรควรจะตั้งให้มีความหมายและเกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้ากับหลักเกณฑ์ ของภาษาคอมพิวเตอร์นั้นๆ
  • 13. ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว 1.สิ่งที่ต้องการ : หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว 2.รูปแบบผลลัพธ์ : The area is xxxx 3.ข้อมูลนําเข้า : ความกว้าง และ ความยาว 4.ตัวแปร : L = ความยาว W = ความกว้าง Area = พื้นที่ 5.วิธีประมวลผล : 1) รับข้อมูล L 2) รับข้อมูล W 3) ประมวลผล(คํานวณหาพื้นที่) Area = L*W 4) แสดงผล “The area is xxxx” 5) จบการทํางาน
  • 14. จุดประสงค์ 1.อธิบายจุดเด่นประสิทธิภาพการทางานของภาษาคอมพิวเตอร์ที่กาหนดให้ได้ 2.อธิบายลักษณะการทางานของโปรแกรมประเภทตัวแปลภาษาที่กาหนดให้ได้ 3.อธิบายขั้นตอนการพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ได้ 4.อธิบายหน้าที่การทางานของสัญลักษณ์ผังงานที่กาหนดให้ได้ 5.วิเคราะห์โจทย์ปัญหาที่กาหนดให้ แล้วเขียนขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นได้ 6.โจทย์ปัญหาที่กาหนดให้ แล้วเขียนลาดับงานด้วยผังงานโปรแกรมได้ 7.วิเคราะห์ข้อผิดพลาดของผังงานโปรแกรมที่กาหนดให้ แล้วเขียนแก้ไข้ให้ถูกต้องได้
  • 15. ชื่อสมชิก 1นายณัฐพนธ์ อินทร์หอม เลขที่4 2.นายพีรพัฒน์ สงเคราะห์ เลขที่13 3.นายสิรภพ คมขา เลขที่15 4.นายกฤศอนันต์ ชาญเชี่ยว เลขที่16 5.นาวสาวอังค์วรา เปี่ยมพร้อม เลขที่27 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/3 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม