SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
สีชนิดต่างๆ
ครูอรุณ แห้วเพ็ชร
สีไม้ ... = ...
ดินสอสี
สีไม้เป็ นอย่างไร ?
สีไม้มีกี่ชนิด ?
ทาไมถึงนิยมใช้สีไม้ ?
เทคนิคการใช้สีไม้และการผสมสี
สีไม้เป็ น
อย่างไร ?
สีไม้หรือดินสอสี...เป็นสีผงละเอียด ผสมกับขี้ผึ้งหรือไขสัตว์ นำมำอัดให้เป็นแท่ง
อยู่ในลักษณะของดินสอ ลักษณะคล้ำยสีชอล์ก แต่ราคาถูกกว่า
ปัจจุบันมีกำรพัฒนำให้ละลำยน้ำหรือน้ำมันได้ ซึ่งจะทำให้ได้ภำพ
คล้ำยกับสีน้ำ (Aquarelle) และสีที่ละลำยได้ในน้ำมันจะทำให้กันน้ำได้
ย้อน
สีไม้มีกี่
ชนิด ?
1. ชนิดที่ระบายสีน้าไม่ได้
มีลักษณะไส้เหมือน
ดินสอดำทั่วไป ต่ำงกัน
ที่ไส้เป็นสีต่ำงๆ เมื่อนำ
พู่กันจุ่มน้ำมำละลำยที่
ไส้ สีจะไม่ละลำย
ออกมำ
2. ชนิดที่ระบายสีน้าได้
มีลักษณะพิเศษกว่ำดินสอสีชนิดแรก
คือสำมำรรถนำพู่กันจุ่มน้ำมำละลำย
ที่ไส้ดินสอให้ติดออกมำแล้วนำไป
ระบำยภำพได้ ภำพที่ได้จะเป็นภำพที่
ระบำยสีด้วยน้ำ
ย้อน
ทาไมถึง
นิยมใช้สีไม้ ?
1. สามารถควบคุมพืนที่ในการระบายได้ดีกว่าสีเทียน สีชอล์ก และสีน้า
ประเภทต่างๆ
2. ไม่ต้องใช้อุปกรณ์เสริมยุ่งยากเช่นเดียวกับสีน้าและพกพาสะดวก
3. สามารถแก้ไข้ได้ง่าย ระบายเสริมได้ง่าย
4. มีความเหมาะสมในการท้างาน ในส้านักงาน และpresent อย่างรวดเร็ว
ย้อนกลับ
เทคนิคการใช้สี
ไม้และการผสมสี
1. เหลาปลายดินสอให้แหลมเพื่อช่วยให้เป็นเส้น ควบคุมการระบายได้แสดง
เอกลักษณ์ของสีไม้
2. ระบายให้เป็นเส้นก่อนในครังแรก โดยเหลือพืนที่ของกระดาษ ช่วยให้ภาพมีมิติมากกว่า
การระบายให้ทึบทังหมด
3. การระบายสีให้สม่้าเสมอโดยระบายเป็นพืนที่เล็กๆ พยายามระบายเป็นเส้นสันๆ น้อยๆ
จะช่วยให้เราเปรียบเทียบสีกับพืนที่ที่เราเพิ่งระบายไปท้าให้ก้าหนดน้าหนักมือได้
การผสมสี
1. ผสมสีโดยใช้สีที่แตกต่ำงกัน ระบำยเป็นเส้นให้เหลือเนื้อกระดำษสีขำวไว้สำหรับสีที่สองที่จะ
ระบำยต่อไป
2. กำรระบำยสีโดยใช้สีที่อ่อนกว่ำหรือเข้มกว่ำระบำยทับในส่วนที่แสดงแสงและเงำ
ย้อน
สีน้ามัน ...
Oil paint !!
ประวัติ
ความหมาย
ลักษณะสาคัญ
เรียนรู ้การเขียนภาพ
สีลงพื้นสีน้ามัน
การแห้งของสี
พู่กันสาหรับสีน้ามัน
ประวัติ
สีน้ามันใช้กันมาตังแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 ในประเทศอังกฤษ แต่เป็นการ
ตกแต่งแบบง่ายๆ ไม่มีการใช้อย่างแพร่หลาย จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 15 การใช้สี
น้ามันในสมัยใหม่ มักใช้ในการรักษาเนือไม้ในการทาสีบ้านหรือทากับสิ่งที่ต้องทนกับ
สภาวะอากาศ เช่น สะพาน เรือ เพราะสีน้ามันมีคุณสมบัติทนทานและเป็นเงา นิยมใช้
ในการตกแต่งภายในและภายนอกและเป็นสีที่แห้งช้าจึงมีการใช้ในการเขียนแอนิเมชัน
บนแก้ว (paint-on-glass animation) แต่การแห้งช้าหรือเร็วก็ขึนอยู่กับความหนาของ
สีที่ทาด้วยเช่นกัน
ย้อน
ความหมาย
สีน้ามันเกิดจากการผสมของสีฝุ่นกับน้ามัน ซึ่งเป็นน้ามันจากพืช เช่น น้ามัน
ลินซีด(Linseed) กลั่นมาจากต้นแฟลกซ์ หรือน้ามันจากเมล็ดป๊อปปี้ สีน้ามันเป็นสีทึบ
แสง และเป็นสีที่แห้งช้า ความเข้มข้นสีปรับได้จากการเติมสารละลาย เช่น น้ามันสน
หรือน้ายาละลายสี(white spirit) และอาจมีการใส่น้ามันเคลือบ(varnish) เพื่อให้เงา
มากขึนเมื่อสีแห้ง และงานวาดภาพสีน้ามัน มักเขียนลงบนผ้าใบ(Canvas) เพราะมี
ความคงทนและกันน้าได้
ย้อน
ลักษณะ
สาคัญ
สีน้ามันมีอยู่ 5 ลักษณะดังนี
1. สีน้ามันแบบดังเดิม
เลือกใช้ได้สองลักษณะส่วนใหญ่ผลิต
จากรงควัตถุที่มีความเข้มข้นสูง และบรรจุ
อยู่ในหลอดดีบุกหรือตะกั่ว
2. สีน้ามันแห้งเร็ว
สีน้ำมันแห้งเร็วกริฟฟินอัลคีน(Giriffin Alkyd
Fast Drying Oil) เป็นสีน้ามันที่แห้งเร็วกว่าสีน้ามัน
แบบดังเดิม มีความโปร่งแสงมากกว่าสีทั่วไป ถ้าระบายสี
หลายชันจะท้าให้มีความมันมากกว่าปกติ
3. สีน้ามันผสมน้า(Water Mixable Oil Color)
เป็นสีลักษณะใหม่ ซึ่งผสมน้าแทนการผสมด้วยน้ามัน
เหมาะกับการใช้ในโรงเรียนและในสตูดิโอ และสามารถ
ลดอันตรายที่เกิดจากการใช้น้ามันผสม อีกทังท้าความ
สะอาดพู่กันง่ายด้วย
4. สีน้ามันแท่ง(Artists Oilbar)
เป็นสีส้าหรับศิลปิน มีความนุ่มนวล
ใช้เขียนภาพได้ทันที เนือสีมีความถาวรสูง
และมีคุณสมบัติเหมือนสีที่นิยมใช้กันทั่วไป
5. การผสมผสานสีน้ามันที่ต่างกัน
สีลักษณะต่างๆ สามรถน้ามาผสม
กันได้แต่มีข้อยกเว้น คือไม่แนะน้าให้
ใช้สีน้ามันแท่งหนาๆใต้สีชนิดอื่น เมื่อ
ใช้สีน้ามันผสมสีน้าอาซีทาน สีชนิดอื่น
ก็ไม่ควรใช้ร่วม
ย้อนกลับ
เรียนรู ้การ
เขียนภาพ
ระดับ 1
เรียนรู้การใช้อุปกรณ์
เทคนิคการวาดภาพสีน้ามัน
ขันพืนฐาน การวาดภาพตาม
วรรณะสี เทคนิคเขียนภาพ
แบบจุดสี เขียนภาพแบบทิงที่
แปรงโดยผ่านหุ่นนิ่ง ดอกไม้
และผลไม้
ระดับ 2
เน้นการวาดภาพสี
น้ามันให้เหมือนจริง
ใกล้เคียงธรรมชาติ
การวาดภาพสีน้ามันที่มี
รายละเอียดมากขึน
เช่น ภาพสิ่งของ
ดอกไม้ และทิวทัศน์
ระดับ 3
การวาดภาพสีน้ามัน
ขันสูง สามารถปรับเทคนิค
การเขียนมาเป็นลักษณะ
เฉพาะตัว การเรียนแบบ
ศิลปิน การเขียนภาพ
ทิวทัศน์ ภาพองค์ประกอบ
แบบสร้างสรรค์ ฯลฯ
ย้อนกลับ
สีลงพื้นสีน้ามัน (Oil
Painting Primer)
เป็นสีที่ใช้กันมาตังแต่อดีต มีลักษณะผิวมัน และเรียบ การลงพืนสีน้ามันอาจไม่
คล่องตัวเหมือนกับใช้สีลงพืนอะครีลิค
การลงพืนจะต้องลงพืนด้วยการระบายบางๆในชันแรกและ
ทิงไว้ข้ามคืน การประสบความส้าเร็จในการเขียนภาพสีน้ามัน
ขึนอยู่กับคุณภาพของพืนภาพ เช่นเดียวกับการเลือกใช้สีน้ามันที่มี
คุณภาพ ปัญหาการเขียนภาพมักขึนอยู่กับคุณภาพของผ้าใบที่รอง
ภาพพืนภาพ หากใช้สีลงพืนที่ดี มีคุณภาพ แล้วจะสามารถสร้าง
พืนผิวได้อย่างดี ทังสภาพการดูดซับและการลงพืนสี
ย้อนกลับ
การแห้งของสี
ชนิดสี ระยะเวลาที่สีแห้ง
น้ำมันสำหรับศิลปิน
สีน้ำมันวินตัน
สีน้ำมันผสมน้ำอำร ์ทิซำน
แห้งใน 1-12 วัน
สีน้ำมันแท่ง แห้งใน 2-7 วัน
สีน้ำมันแห้งเร็วกริฟฟินอัลีีน แห้งใน 18-24 ชั่วโมง
ย้อนกลับ
พู่กันสาหรับสีน้ามัน
พู่กันขนหมู (Hog
brush)
พู่กันขนเซเบิลนุ่ม (Soft Sable
Brush)
พู่กันแบบขนสั้น (Bright)
การทาความสะอาดพู่กัน
ย้อนกลับ
พู่กันแบบขนสั้น (Bright)
เป็ นพู่กันที่ได้รับีวำมนิยมมำกที่สุดสำมำรถ
ระบำยีรอบีลุมพื้นที่ได้อย่ำงรวดเร็ว
ย้อนกลับ
<
พู่กันขนหมู (Hog brush)
เป็ นพู่กันที่ได้รับีวำมนิยมสูงเหมำะกับสีน้ำมัน
ซึ่งมีเนื้อหนำ และพื้นผ้ำใบผิวหยำบ ปลำยพู่กันมี
ลักษณะต่ำงกัน
ย้อนกลับ
<
พู่กันขนเซเบิลนุ่ม (Soft Sable Brush)
เป็ นพู่กันที่สำมำรถใช้ได้ดีในกำรระบำยฉำบสี
หรือเก็บรำยละเอียด กำรระบำยเรียบจะไม่ทิ้งรอยพู่กันไว้
ส่วนด้ำมพู่กันที่สั้นและยำวมีไว้สำหรับศิลปินเลือกใช้ตำม
ีวำมเหมำะสม
ย้อนกลับ
<
การทาความสะอาดพู่กัน
ใช ้ผ้ำนุ่ม ๆ เช็ดสีที่เหลือ หรือติดรอบ ๆ
พู่กันออกให้หมด
ล้ำงพู่กันในน้ำมันเทอเพนไทน์สำหรับล้ำง
สี หรือสำรละลำย (ล้ำงด้วยน้ำสำหรับสีผสมน้ำ)
ย้อนกลับ
><
……
…….
:D

More Related Content

Viewers also liked (6)

สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
Adverbs
AdverbsAdverbs
Adverbs
 
Adidas
AdidasAdidas
Adidas
 
สุขศึกษา ม.1
สุขศึกษา ม.1สุขศึกษา ม.1
สุขศึกษา ม.1
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

More from Computer ITSWKJ (8)

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
การ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะ
การ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะการ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะ
การ์ดรูปภาพฝึกอักษรคาตาคานะ
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อม
 
พละสุขศึกษา ม.6
พละสุขศึกษา ม.6พละสุขศึกษา ม.6
พละสุขศึกษา ม.6
 
พละ ม.1
พละ ม.1พละ ม.1
พละ ม.1
 
สื่อการสอนเรื่อง If-clause
สื่อการสอนเรื่อง If-clauseสื่อการสอนเรื่อง If-clause
สื่อการสอนเรื่อง If-clause
 
สื่อการสอน59
สื่อการสอน59สื่อการสอน59
สื่อการสอน59
 
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gbโหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
โหลดลืมโลก เปิดตัว-Micro sd-ขนาด-512-gb
 

สื่อครุแห้ว59

  • 2.
  • 3. สีไม้ ... = ... ดินสอสี สีไม้เป็ นอย่างไร ? สีไม้มีกี่ชนิด ? ทาไมถึงนิยมใช้สีไม้ ? เทคนิคการใช้สีไม้และการผสมสี
  • 4. สีไม้เป็ น อย่างไร ? สีไม้หรือดินสอสี...เป็นสีผงละเอียด ผสมกับขี้ผึ้งหรือไขสัตว์ นำมำอัดให้เป็นแท่ง อยู่ในลักษณะของดินสอ ลักษณะคล้ำยสีชอล์ก แต่ราคาถูกกว่า ปัจจุบันมีกำรพัฒนำให้ละลำยน้ำหรือน้ำมันได้ ซึ่งจะทำให้ได้ภำพ คล้ำยกับสีน้ำ (Aquarelle) และสีที่ละลำยได้ในน้ำมันจะทำให้กันน้ำได้ ย้อน
  • 5. สีไม้มีกี่ ชนิด ? 1. ชนิดที่ระบายสีน้าไม่ได้ มีลักษณะไส้เหมือน ดินสอดำทั่วไป ต่ำงกัน ที่ไส้เป็นสีต่ำงๆ เมื่อนำ พู่กันจุ่มน้ำมำละลำยที่ ไส้ สีจะไม่ละลำย ออกมำ 2. ชนิดที่ระบายสีน้าได้ มีลักษณะพิเศษกว่ำดินสอสีชนิดแรก คือสำมำรรถนำพู่กันจุ่มน้ำมำละลำย ที่ไส้ดินสอให้ติดออกมำแล้วนำไป ระบำยภำพได้ ภำพที่ได้จะเป็นภำพที่ ระบำยสีด้วยน้ำ ย้อน
  • 6. ทาไมถึง นิยมใช้สีไม้ ? 1. สามารถควบคุมพืนที่ในการระบายได้ดีกว่าสีเทียน สีชอล์ก และสีน้า ประเภทต่างๆ 2. ไม่ต้องใช้อุปกรณ์เสริมยุ่งยากเช่นเดียวกับสีน้าและพกพาสะดวก 3. สามารถแก้ไข้ได้ง่าย ระบายเสริมได้ง่าย 4. มีความเหมาะสมในการท้างาน ในส้านักงาน และpresent อย่างรวดเร็ว ย้อนกลับ
  • 7. เทคนิคการใช้สี ไม้และการผสมสี 1. เหลาปลายดินสอให้แหลมเพื่อช่วยให้เป็นเส้น ควบคุมการระบายได้แสดง เอกลักษณ์ของสีไม้ 2. ระบายให้เป็นเส้นก่อนในครังแรก โดยเหลือพืนที่ของกระดาษ ช่วยให้ภาพมีมิติมากกว่า การระบายให้ทึบทังหมด 3. การระบายสีให้สม่้าเสมอโดยระบายเป็นพืนที่เล็กๆ พยายามระบายเป็นเส้นสันๆ น้อยๆ จะช่วยให้เราเปรียบเทียบสีกับพืนที่ที่เราเพิ่งระบายไปท้าให้ก้าหนดน้าหนักมือได้ การผสมสี 1. ผสมสีโดยใช้สีที่แตกต่ำงกัน ระบำยเป็นเส้นให้เหลือเนื้อกระดำษสีขำวไว้สำหรับสีที่สองที่จะ ระบำยต่อไป 2. กำรระบำยสีโดยใช้สีที่อ่อนกว่ำหรือเข้มกว่ำระบำยทับในส่วนที่แสดงแสงและเงำ ย้อน
  • 8. สีน้ามัน ... Oil paint !! ประวัติ ความหมาย ลักษณะสาคัญ เรียนรู ้การเขียนภาพ สีลงพื้นสีน้ามัน การแห้งของสี พู่กันสาหรับสีน้ามัน
  • 9. ประวัติ สีน้ามันใช้กันมาตังแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 ในประเทศอังกฤษ แต่เป็นการ ตกแต่งแบบง่ายๆ ไม่มีการใช้อย่างแพร่หลาย จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 15 การใช้สี น้ามันในสมัยใหม่ มักใช้ในการรักษาเนือไม้ในการทาสีบ้านหรือทากับสิ่งที่ต้องทนกับ สภาวะอากาศ เช่น สะพาน เรือ เพราะสีน้ามันมีคุณสมบัติทนทานและเป็นเงา นิยมใช้ ในการตกแต่งภายในและภายนอกและเป็นสีที่แห้งช้าจึงมีการใช้ในการเขียนแอนิเมชัน บนแก้ว (paint-on-glass animation) แต่การแห้งช้าหรือเร็วก็ขึนอยู่กับความหนาของ สีที่ทาด้วยเช่นกัน ย้อน
  • 10. ความหมาย สีน้ามันเกิดจากการผสมของสีฝุ่นกับน้ามัน ซึ่งเป็นน้ามันจากพืช เช่น น้ามัน ลินซีด(Linseed) กลั่นมาจากต้นแฟลกซ์ หรือน้ามันจากเมล็ดป๊อปปี้ สีน้ามันเป็นสีทึบ แสง และเป็นสีที่แห้งช้า ความเข้มข้นสีปรับได้จากการเติมสารละลาย เช่น น้ามันสน หรือน้ายาละลายสี(white spirit) และอาจมีการใส่น้ามันเคลือบ(varnish) เพื่อให้เงา มากขึนเมื่อสีแห้ง และงานวาดภาพสีน้ามัน มักเขียนลงบนผ้าใบ(Canvas) เพราะมี ความคงทนและกันน้าได้ ย้อน
  • 11. ลักษณะ สาคัญ สีน้ามันมีอยู่ 5 ลักษณะดังนี 1. สีน้ามันแบบดังเดิม เลือกใช้ได้สองลักษณะส่วนใหญ่ผลิต จากรงควัตถุที่มีความเข้มข้นสูง และบรรจุ อยู่ในหลอดดีบุกหรือตะกั่ว 2. สีน้ามันแห้งเร็ว สีน้ำมันแห้งเร็วกริฟฟินอัลคีน(Giriffin Alkyd Fast Drying Oil) เป็นสีน้ามันที่แห้งเร็วกว่าสีน้ามัน แบบดังเดิม มีความโปร่งแสงมากกว่าสีทั่วไป ถ้าระบายสี หลายชันจะท้าให้มีความมันมากกว่าปกติ 3. สีน้ามันผสมน้า(Water Mixable Oil Color) เป็นสีลักษณะใหม่ ซึ่งผสมน้าแทนการผสมด้วยน้ามัน เหมาะกับการใช้ในโรงเรียนและในสตูดิโอ และสามารถ ลดอันตรายที่เกิดจากการใช้น้ามันผสม อีกทังท้าความ สะอาดพู่กันง่ายด้วย 4. สีน้ามันแท่ง(Artists Oilbar) เป็นสีส้าหรับศิลปิน มีความนุ่มนวล ใช้เขียนภาพได้ทันที เนือสีมีความถาวรสูง และมีคุณสมบัติเหมือนสีที่นิยมใช้กันทั่วไป 5. การผสมผสานสีน้ามันที่ต่างกัน สีลักษณะต่างๆ สามรถน้ามาผสม กันได้แต่มีข้อยกเว้น คือไม่แนะน้าให้ ใช้สีน้ามันแท่งหนาๆใต้สีชนิดอื่น เมื่อ ใช้สีน้ามันผสมสีน้าอาซีทาน สีชนิดอื่น ก็ไม่ควรใช้ร่วม ย้อนกลับ
  • 12. เรียนรู ้การ เขียนภาพ ระดับ 1 เรียนรู้การใช้อุปกรณ์ เทคนิคการวาดภาพสีน้ามัน ขันพืนฐาน การวาดภาพตาม วรรณะสี เทคนิคเขียนภาพ แบบจุดสี เขียนภาพแบบทิงที่ แปรงโดยผ่านหุ่นนิ่ง ดอกไม้ และผลไม้ ระดับ 2 เน้นการวาดภาพสี น้ามันให้เหมือนจริง ใกล้เคียงธรรมชาติ การวาดภาพสีน้ามันที่มี รายละเอียดมากขึน เช่น ภาพสิ่งของ ดอกไม้ และทิวทัศน์ ระดับ 3 การวาดภาพสีน้ามัน ขันสูง สามารถปรับเทคนิค การเขียนมาเป็นลักษณะ เฉพาะตัว การเรียนแบบ ศิลปิน การเขียนภาพ ทิวทัศน์ ภาพองค์ประกอบ แบบสร้างสรรค์ ฯลฯ ย้อนกลับ
  • 13. สีลงพื้นสีน้ามัน (Oil Painting Primer) เป็นสีที่ใช้กันมาตังแต่อดีต มีลักษณะผิวมัน และเรียบ การลงพืนสีน้ามันอาจไม่ คล่องตัวเหมือนกับใช้สีลงพืนอะครีลิค การลงพืนจะต้องลงพืนด้วยการระบายบางๆในชันแรกและ ทิงไว้ข้ามคืน การประสบความส้าเร็จในการเขียนภาพสีน้ามัน ขึนอยู่กับคุณภาพของพืนภาพ เช่นเดียวกับการเลือกใช้สีน้ามันที่มี คุณภาพ ปัญหาการเขียนภาพมักขึนอยู่กับคุณภาพของผ้าใบที่รอง ภาพพืนภาพ หากใช้สีลงพืนที่ดี มีคุณภาพ แล้วจะสามารถสร้าง พืนผิวได้อย่างดี ทังสภาพการดูดซับและการลงพืนสี ย้อนกลับ
  • 14. การแห้งของสี ชนิดสี ระยะเวลาที่สีแห้ง น้ำมันสำหรับศิลปิน สีน้ำมันวินตัน สีน้ำมันผสมน้ำอำร ์ทิซำน แห้งใน 1-12 วัน สีน้ำมันแท่ง แห้งใน 2-7 วัน สีน้ำมันแห้งเร็วกริฟฟินอัลีีน แห้งใน 18-24 ชั่วโมง ย้อนกลับ
  • 15. พู่กันสาหรับสีน้ามัน พู่กันขนหมู (Hog brush) พู่กันขนเซเบิลนุ่ม (Soft Sable Brush) พู่กันแบบขนสั้น (Bright) การทาความสะอาดพู่กัน ย้อนกลับ
  • 17. พู่กันขนหมู (Hog brush) เป็ นพู่กันที่ได้รับีวำมนิยมสูงเหมำะกับสีน้ำมัน ซึ่งมีเนื้อหนำ และพื้นผ้ำใบผิวหยำบ ปลำยพู่กันมี ลักษณะต่ำงกัน ย้อนกลับ <
  • 18. พู่กันขนเซเบิลนุ่ม (Soft Sable Brush) เป็ นพู่กันที่สำมำรถใช้ได้ดีในกำรระบำยฉำบสี หรือเก็บรำยละเอียด กำรระบำยเรียบจะไม่ทิ้งรอยพู่กันไว้ ส่วนด้ำมพู่กันที่สั้นและยำวมีไว้สำหรับศิลปินเลือกใช้ตำม ีวำมเหมำะสม ย้อนกลับ <
  • 19. การทาความสะอาดพู่กัน ใช ้ผ้ำนุ่ม ๆ เช็ดสีที่เหลือ หรือติดรอบ ๆ พู่กันออกให้หมด ล้ำงพู่กันในน้ำมันเทอเพนไทน์สำหรับล้ำง สี หรือสำรละลำย (ล้ำงด้วยน้ำสำหรับสีผสมน้ำ) ย้อนกลับ ><
  • 20.