SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
หน่วยที่ 2
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
• ภาษาโปรแกรม (Programming Languages) หมายถึง ภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมา
เพื่อสื่อสารชุดคาสั่งแก่เครื่องจักรโดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมสามารถใช้สร้างโปรแกรมที่ควบคุม
พฤติกรรมของเครื่องจักรหรือการแสดงออกด้วยขั้นตอนวิธี (Algorithm) อย่างตรงไปตรงมา
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
• ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) หมายถึง ชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทางาน ซึ่งการเขียนคาสั่งเหล่านั้นเรียกว่า โปรแกรม (Program) ถ้ามีหลาย ๆ คาสั่งจะเรียกว่า ชุดคาสั่ง
(Statement) ซึ่งปัจจุบันมีอยู่หลายภาษาตามความถนัดของผู้ใช้ เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเลือก
ได้ว่าจะเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใด เพื่อให้เหมาะกับงานที่ต้องการลักษณะที่คล้ายคลึงกันของ
ภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษามีดังนี้
• 1. คาสั่งรับข้อมูลและแสดงผล (Receive Data and Display) คาสั่งประเภทนี้จาเป็นอย่างยิ่ง
จะต้องมีการใช้ในภาษา ทั้งยังต้องแจกแจงรายละเอียดต่อไปด้วยว่ารับผ่านอุปกรณ์ใดและแสดงผลทาง
อุปกรณ์ใด
• 2. คาสั่งคานวณ (Calculated) โปรแกรมหรือคาสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคาสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท
บวก ลบ คูณ และหาร
• 3. คาสั่งที่การเลือกทิศทาง (Direction) หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทาอย่าง
หนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทาอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทาอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้นอาจมีคาสั่งประเภทให้
ทางานเป็นวงซ้าแล้วซ้าอีกจนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่าจึงจะให้หยุดได้
• 4. คาสั่งเข้าออกของข้อมูล (Input and Output Data) หมายถึง การนาโปรแกรมหรือข้อมูลออก
หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้
• ภาษาเครื่อง (Machine Language)
ภาษาเครื่องเป็นภาษารุ่นแรก ๆ ที่ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ใช้เขียนคาสั่งเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน
ภาษาเครื่องเป็นภาษาที่เขียนเป็นรหัสเลขฐานสอง (Binary Code) คือจะใช้เฉพาะตัวเลข 0 และ 1
เท่านั้น เขียนสลับกันไปมาเพื่อใช้เป็นรหัสสั่งงาน เป็นคาสั่งที่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่ผู้ใช้ต้องการ
ภาษาเครื่องเป็นภาษาที่เขียนยากที่สุดเพราะผู้เขียนต้องจารหัสคาสั่งต่าง ๆ เป็นจานวนมาก สมัยก่อนผู้ที่เขียน
โปรแกรมคาสั่งด้วยภาษาเครื่องหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) จึงมีจานวนน้อยมาก ต้องเป็นผู้ที่รู้
เรื่องของคอมพิวเตอร์และระบบเลขฐานสองจริง ๆ เท่านั้นจึงจะสามารถเขียนโปรแกรมได้ ภาษาเครื่องจึงไม่
เป็นที่นิยมในการเขียนโปรแกรมมากนัก แต่ภาษาเครื่องเป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจคาสั่งที่
ผู้ใช้เขียนและปฏิบัติตามได้ทันที โดยไม่ต้องมีตัวกลางในการแปลภาษาอีกทีหนึ่ง
ตัวอย่าง การเขียนชุดคาสั่งด้วยภาษาเครื่อง
ถ้าต้องการเขียนชุดคาสั่ง ให้เครื่องบอกเลขสองจานวน เช่น 9+3 ต้องเขียนดังนี้
เลข 9 แทนด้วยรหัส คือ 00111001
เลข 3 แทนด้วยรหัส คือ 00110011
เครื่องหมาย + แทนด้วยรหัสคือ 00101011
ดังนั้น คาสั่ง 9+3 เมื่อเขียนเป็นชุดคาสั่งภาษาเครื่องจะได้ดังนี้
00111001 00101011 00110011
เนื่องจากการเขียนชุดคาสั่งต่าง ๆ ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและไม่ค่อยได้รับ
ความนิยม จึงมีผู้คิดค้นสร้างภาษาใหม่ขึ้นมาเพื่อให้เขียนชุดคาสั่งต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้นกว่าเดิม โดยจะต้องมี
ตัวกลางในการแปลชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่เขียนให้เป็นภาษาที่เครื่องเข้าใจ เพื่อเครื่องจะได้ปฏิบัติตามได้ถูกต้อง
การพัฒนาเช่นนี้ทาให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มากขึ้น การสั่งงานจึงทาได้ง่ายและ
สะดวกขึ้นทุกที โดยภาษาคอมพิวเตอร์นี้สามารถแบ่งได้เป็น 2 ระดับ ดังนี้
ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
ภาษาระดับต่าที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นมีอยู่เพียงภาษาเดียวก็คือ ภาษาแอสแซมบลี (Assembly)โดยภาษานี้
จะมีการนาตัวอักษรย่อหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาใช้แทนชุดคาสั่งที่เป็นเลขฐานสอง ซึ่งทาให้ผู้ใช้สามารถจา
ชุดคาสั่งได้ง่ายขึ้น เช่น ADD หมายถึง บวก, SUB หมายถึง ลบ เช่น A SUB S, Y หมายถึง ให้นาค่า A
ลบออกจากค่า X และนาค่าที่ได้ไปเก็บไว้ที่ Y เป็นต้น
ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Assembly
ถ้าต้องการเขียนชุดคาสั่งให้เครื่องบวกเลขสองจานวน เช่น 9+3 ต้องเขียนดังนี้
MOV AX, 9
MOV BX, 3
ADD AX, BX
ถึงแม้ว่าภาษา Assembly จะเขียนง่ายกว่าภาษาเครื่อง แต่ก็ยังคงยุ่งยากอยู่เพราะต้องมีการอ้างอิงถึง
ส่วนประกอบของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์หลายอย่าง เช่น Register, Memory เป็นต้น ดังนั้นจึงมีผู้คิดค้น
สร้างภาษาระดับสูงขึ้นมา เพื่อให้ผู้คนทั่วไปสามารถเขียนโปรแกรมหรือชุดคาสั่งได้ง่ายยิ่งขึ้นนั่นก็คือ ภาษา
ระดับสูง (High Level Language)
• ภาษาระดับสูง (High Level Language)
ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่เขียนได้ง่าย เพราะมีการนาคาศัพท์และข้อความต่าง ๆ ที่บุคคลทั่วไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันอยู่แล้วมาเขียนเป็นชุดคาสั่งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน เช่น คาว่า Read, Print,
Goto, End เป็นต้น ส่วนการคานวณต่าง ๆ ก็เขียนเป็นคาสั่งที่มีลักษณะคล้ายกับสูตรทางคณิตศาสตร์ ทา
ให้ผู้ใช้สามารถศึกษาและเขียนชุดคาสั่งได้ง่ายขึ้น เช่น
ถ้าต้องการหาค่าผลบวกเลขสองจานวน เช่น 9+3 และพิมพ์ผลลัพธ์แสดงออกมาทางจอภาพ
จาสามารถเขียนเป็นคาสั่งเขียนเป็นคาสั่งได้ดังนี้
X = 9 + 3
Print X
โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์
• หากเขียนโปแกรมด้วยภาษาระดับสูง จาเป็นต้องมีกลางในการแปลภาษาระดับสูงที่เขียนให้เป็น
ภาษาเครื่อง เพื่อให้เครื่องเข้าใจชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่เขียน เครื่องจึงจะสามารถปฏิบัติตามชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่
เขียนได้ โปรแกรมแปลภาษามีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท ดังนี้
1. อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นโปรแกรมแปลภาษาระดับสูง เป็นภาษาเครื่องซึ่งจะแปลคาสั่งที
ละคาสั่ง เมื่อแปลเสร็จก็จะทงานตามคาสั่งนั้นจึงจะแปลคาสั่งอื่นต่อไปจนกว่าจะจบโปรแกรม เพื่อพบ
ข้อผิดพลาดของคาสั่งใด ๆ ก็จะหยุดแปลที่คาสั่งนั้นจนกว่าจะมีการแก้ไขใหม่ให้ถูกต้องเสียก่อนจึงจะ
แปลคาสั่งอื่น ๆ ต่อไป การแปลแต่ละครั้งไม่มีการจาหรือบันทึกไว้ เมื่อ ต้องการจะใช้งานอีกก็ต้องทาการ
แปลใหม่ทุกครั้ง
2. คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นโปรแกรมแปลภาษาซึ่งทาการแปลภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่องโดย
จะทาการแปลคาสั่งทั้งหมดให้เสร็จก่อนทั้งโปรแกรม แล้วจึงรายงานข้อผิดพลาดของคาสั่งให้แก้ไข แต่
ในขณะที่แปลจะยังไม่มีการทางานของโปรแกรมที่เขียน การแปลแบบนี้มีการบันทึกโปรแกรมที่ผ่านการ
แปลไว้แล้ว เมื่อต้องการนาโปรแกรมไปใช้งานเมื่อใดก็สามารถใช้งานได้โดยทันทีโดยไม่ต้องแปลอีก

More Related Content

What's hot

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7naraporn buanuch
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Hm Thanachot
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
10 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-910 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-9naraporn buanuch
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์Pakkapong Kerdmanee
 
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-712 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7naraporn buanuch
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

What's hot (20)

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
 
10 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-910 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-9
 
10 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-710 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-7
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-712 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
 
Intro program php
Intro program phpIntro program php
Intro program php
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
 

Similar to 36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7

06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9naraporn buanuch
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์naraporn buanuch
 
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-703 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-727 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศPhutawan Murcielago
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาThanyalak Aranwatthananon
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7naraporn buanuch
 

Similar to 36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7 (16)

06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์
 
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-703 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7
 
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-727 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7
 

More from naraporn buanuch

04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9naraporn buanuch
 
03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9naraporn buanuch
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9naraporn buanuch
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7naraporn buanuch
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

More from naraporn buanuch (10)

07 ทศพล-3-9
07 ทศพล-3-907 ทศพล-3-9
07 ทศพล-3-9
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
 
49 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-749 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-7
 
44 กฤษณะ-3-7
44 กฤษณะ-3-744 กฤษณะ-3-7
44 กฤษณะ-3-7
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 

36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7

  • 2. • ภาษาโปรแกรม (Programming Languages) หมายถึง ภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมา เพื่อสื่อสารชุดคาสั่งแก่เครื่องจักรโดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมสามารถใช้สร้างโปรแกรมที่ควบคุม พฤติกรรมของเครื่องจักรหรือการแสดงออกด้วยขั้นตอนวิธี (Algorithm) อย่างตรงไปตรงมา
  • 3. ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) • ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) หมายถึง ชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทางาน ซึ่งการเขียนคาสั่งเหล่านั้นเรียกว่า โปรแกรม (Program) ถ้ามีหลาย ๆ คาสั่งจะเรียกว่า ชุดคาสั่ง (Statement) ซึ่งปัจจุบันมีอยู่หลายภาษาตามความถนัดของผู้ใช้ เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเลือก ได้ว่าจะเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใด เพื่อให้เหมาะกับงานที่ต้องการลักษณะที่คล้ายคลึงกันของ ภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษามีดังนี้
  • 4. • 1. คาสั่งรับข้อมูลและแสดงผล (Receive Data and Display) คาสั่งประเภทนี้จาเป็นอย่างยิ่ง จะต้องมีการใช้ในภาษา ทั้งยังต้องแจกแจงรายละเอียดต่อไปด้วยว่ารับผ่านอุปกรณ์ใดและแสดงผลทาง อุปกรณ์ใด • 2. คาสั่งคานวณ (Calculated) โปรแกรมหรือคาสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคาสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ คูณ และหาร • 3. คาสั่งที่การเลือกทิศทาง (Direction) หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทาอย่าง หนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทาอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทาอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้นอาจมีคาสั่งประเภทให้ ทางานเป็นวงซ้าแล้วซ้าอีกจนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่าจึงจะให้หยุดได้ • 4. คาสั่งเข้าออกของข้อมูล (Input and Output Data) หมายถึง การนาโปรแกรมหรือข้อมูลออก หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้
  • 5. • ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาเครื่องเป็นภาษารุ่นแรก ๆ ที่ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ใช้เขียนคาสั่งเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ภาษาเครื่องเป็นภาษาที่เขียนเป็นรหัสเลขฐานสอง (Binary Code) คือจะใช้เฉพาะตัวเลข 0 และ 1 เท่านั้น เขียนสลับกันไปมาเพื่อใช้เป็นรหัสสั่งงาน เป็นคาสั่งที่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่ผู้ใช้ต้องการ ภาษาเครื่องเป็นภาษาที่เขียนยากที่สุดเพราะผู้เขียนต้องจารหัสคาสั่งต่าง ๆ เป็นจานวนมาก สมัยก่อนผู้ที่เขียน โปรแกรมคาสั่งด้วยภาษาเครื่องหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) จึงมีจานวนน้อยมาก ต้องเป็นผู้ที่รู้ เรื่องของคอมพิวเตอร์และระบบเลขฐานสองจริง ๆ เท่านั้นจึงจะสามารถเขียนโปรแกรมได้ ภาษาเครื่องจึงไม่ เป็นที่นิยมในการเขียนโปรแกรมมากนัก แต่ภาษาเครื่องเป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจคาสั่งที่ ผู้ใช้เขียนและปฏิบัติตามได้ทันที โดยไม่ต้องมีตัวกลางในการแปลภาษาอีกทีหนึ่ง ตัวอย่าง การเขียนชุดคาสั่งด้วยภาษาเครื่อง ถ้าต้องการเขียนชุดคาสั่ง ให้เครื่องบอกเลขสองจานวน เช่น 9+3 ต้องเขียนดังนี้ เลข 9 แทนด้วยรหัส คือ 00111001 เลข 3 แทนด้วยรหัส คือ 00110011 เครื่องหมาย + แทนด้วยรหัสคือ 00101011 ดังนั้น คาสั่ง 9+3 เมื่อเขียนเป็นชุดคาสั่งภาษาเครื่องจะได้ดังนี้ 00111001 00101011 00110011
  • 6. เนื่องจากการเขียนชุดคาสั่งต่าง ๆ ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและไม่ค่อยได้รับ ความนิยม จึงมีผู้คิดค้นสร้างภาษาใหม่ขึ้นมาเพื่อให้เขียนชุดคาสั่งต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้นกว่าเดิม โดยจะต้องมี ตัวกลางในการแปลชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่เขียนให้เป็นภาษาที่เครื่องเข้าใจ เพื่อเครื่องจะได้ปฏิบัติตามได้ถูกต้อง การพัฒนาเช่นนี้ทาให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มากขึ้น การสั่งงานจึงทาได้ง่ายและ สะดวกขึ้นทุกที โดยภาษาคอมพิวเตอร์นี้สามารถแบ่งได้เป็น 2 ระดับ ดังนี้ ภาษาระดับต่า (Low Level Language) ภาษาระดับต่าที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นมีอยู่เพียงภาษาเดียวก็คือ ภาษาแอสแซมบลี (Assembly)โดยภาษานี้ จะมีการนาตัวอักษรย่อหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาใช้แทนชุดคาสั่งที่เป็นเลขฐานสอง ซึ่งทาให้ผู้ใช้สามารถจา ชุดคาสั่งได้ง่ายขึ้น เช่น ADD หมายถึง บวก, SUB หมายถึง ลบ เช่น A SUB S, Y หมายถึง ให้นาค่า A ลบออกจากค่า X และนาค่าที่ได้ไปเก็บไว้ที่ Y เป็นต้น ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Assembly ถ้าต้องการเขียนชุดคาสั่งให้เครื่องบวกเลขสองจานวน เช่น 9+3 ต้องเขียนดังนี้ MOV AX, 9 MOV BX, 3 ADD AX, BX
  • 7. ถึงแม้ว่าภาษา Assembly จะเขียนง่ายกว่าภาษาเครื่อง แต่ก็ยังคงยุ่งยากอยู่เพราะต้องมีการอ้างอิงถึง ส่วนประกอบของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์หลายอย่าง เช่น Register, Memory เป็นต้น ดังนั้นจึงมีผู้คิดค้น สร้างภาษาระดับสูงขึ้นมา เพื่อให้ผู้คนทั่วไปสามารถเขียนโปรแกรมหรือชุดคาสั่งได้ง่ายยิ่งขึ้นนั่นก็คือ ภาษา ระดับสูง (High Level Language) • ภาษาระดับสูง (High Level Language) ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่เขียนได้ง่าย เพราะมีการนาคาศัพท์และข้อความต่าง ๆ ที่บุคคลทั่วไปใช้ใน ชีวิตประจาวันอยู่แล้วมาเขียนเป็นชุดคาสั่งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน เช่น คาว่า Read, Print, Goto, End เป็นต้น ส่วนการคานวณต่าง ๆ ก็เขียนเป็นคาสั่งที่มีลักษณะคล้ายกับสูตรทางคณิตศาสตร์ ทา ให้ผู้ใช้สามารถศึกษาและเขียนชุดคาสั่งได้ง่ายขึ้น เช่น ถ้าต้องการหาค่าผลบวกเลขสองจานวน เช่น 9+3 และพิมพ์ผลลัพธ์แสดงออกมาทางจอภาพ จาสามารถเขียนเป็นคาสั่งเขียนเป็นคาสั่งได้ดังนี้ X = 9 + 3 Print X
  • 8. โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ • หากเขียนโปแกรมด้วยภาษาระดับสูง จาเป็นต้องมีกลางในการแปลภาษาระดับสูงที่เขียนให้เป็น ภาษาเครื่อง เพื่อให้เครื่องเข้าใจชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่เขียน เครื่องจึงจะสามารถปฏิบัติตามชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่ เขียนได้ โปรแกรมแปลภาษามีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท ดังนี้ 1. อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นโปรแกรมแปลภาษาระดับสูง เป็นภาษาเครื่องซึ่งจะแปลคาสั่งที ละคาสั่ง เมื่อแปลเสร็จก็จะทงานตามคาสั่งนั้นจึงจะแปลคาสั่งอื่นต่อไปจนกว่าจะจบโปรแกรม เพื่อพบ ข้อผิดพลาดของคาสั่งใด ๆ ก็จะหยุดแปลที่คาสั่งนั้นจนกว่าจะมีการแก้ไขใหม่ให้ถูกต้องเสียก่อนจึงจะ แปลคาสั่งอื่น ๆ ต่อไป การแปลแต่ละครั้งไม่มีการจาหรือบันทึกไว้ เมื่อ ต้องการจะใช้งานอีกก็ต้องทาการ แปลใหม่ทุกครั้ง 2. คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นโปรแกรมแปลภาษาซึ่งทาการแปลภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่องโดย จะทาการแปลคาสั่งทั้งหมดให้เสร็จก่อนทั้งโปรแกรม แล้วจึงรายงานข้อผิดพลาดของคาสั่งให้แก้ไข แต่ ในขณะที่แปลจะยังไม่มีการทางานของโปรแกรมที่เขียน การแปลแบบนี้มีการบันทึกโปรแกรมที่ผ่านการ แปลไว้แล้ว เมื่อต้องการนาโปรแกรมไปใช้งานเมื่อใดก็สามารถใช้งานได้โดยทันทีโดยไม่ต้องแปลอีก