SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็ นสัญลักษณ์ที่
ผู้พัฒนาภาษากาหนดรหัสคาสั่งขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานของอุปกรณ์
ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คาสั่ง
อยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็ นข้อความ
ภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษา
ให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพคาสั่งแตกตางกันไป ดังนั้น
ผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งที่มีประสิทธิภาพ
ควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์
งานตามที่ได้กาหนดจุดประสงค์ไว้
1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับการประดิษฐ์
เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นคาสั่งควบคุมการทางาน และมี
พัฒนาการของการสร้างรหัสคาสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน ดังนี้
• ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทางาน
ลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบรหัส
คาสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) ผู้ที่จะ
เขียนรหัสคาสั่งควบคุมระบบได้จึงจากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ใน
ห้องปฏิบัติการทดลองดาเนินงาน
1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
• ช่วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคาสั่งเป็นชุดเลขฐานสองมีความยุ่งยากในการจาชุด
ของรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน จึงมีผู้พัฒนารหัสคาสั่งเป็นอักษรภาษาอังกฤษ
รวมกับเลขฐานอื่น เช่น เลขฐานสิบหก เพื่อให้เขียนคาสั่งควบคุมงานง่ายขึ้น ตั้งชื่อ
ภาษาว่า แอสแซมบลีหรือภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) พร้อม
กันนี้ต้องพัฒนาโปรแกรมแปลภาษาขึ้นมาด้วย (Translator Program) คือโปรแกรม
แอสแซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งกลับมาเป็นเลขฐานสอง เพื่อให้ระบบ
สามารถประมวลผลได้
• ช่วงที่ 3 เป็นช่วงที่บริษัทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลายภาษา เน้น
ให้ใช้งานง่ายขึ้น โดยรหัสคาสั่งเป็นข้อความใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในการ
สื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม ภาษาระดับสูง (High Level Language) เช่น ภาษา
เบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาซี ในส่วนของ โปรแกรมแปลภาษามี 2 ลักษณะ คือ อิน
เทอรพรีตเทอร์ และคอมไพเลอร์
1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
• ช่วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นาไปใช้ควบคุมการ
ทางานระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานรวมกับเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามี
รูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งเป็นงานโปรแกรม เชิงวัตถุ (Object – Oriented
Programming Language : OOP) ติดต่อใช้งานกับผู้ใช้โปรแกรมเชิง กราฟฟิก
(Graphic User Interface : GUI) ลดขั้นตอนการจดจาเพื่อพิมพ์รหัสคาสั่งมา
เป็นการคลิก เลือกรายการคาสั่ง และป้ อนค่าควบคุม เช่น ภาษาวิชวลเบสิก
(Visual BASIC) ภาษาจาว่า (JAVA)
2. ภาษาระดับสูง
ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึง
ปัจจุบัน เพราะเป็นภาษาที่มี รูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งสั้น สื่อความหมายตรง
กับการทางาน ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้เพื่อเขียน ชุดรหัสคาสั่งควบคุมการ
ทางาน ใช้หน่วยความจาระบบน้อย จึงเหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะการสร้างงาน
โปรแกรมประยุกต์งานคานวณในสาขางานต่างๆ เช่น ระบบงานคานวณทาง
วิศวกรรมโยธา ระบบงานคานวณทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างภาษาระดับสูงที่
ได้รับความนิยมใช้งาน มีดังนี้
2. ภาษาระดับสูง (ต่อ)
• ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction Code)
เป็นภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการของ
สถาบันการศึกษา เพื่อฝึกทักษะการ เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของ
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ รูปแบบที่ใช้งานสั้น
มีจานวนคาสั่งไม่มาก กฎเกณฑ์การใช้คาสั่งน้อย ใช้ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้
สั้น เหมาะสมที่จะใช่ในการเรียนการสอน เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสควบคุม
การทางานระบบข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งงานมีน้อย เป็นภาษาที่
ไม่มีรูปแบบโครงสร้าง จึงไม่เหมาะสมในการนาไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์
งานในองค์กร
• ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language)
เป็นภาษาในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของ
ภาษาได้รับการออกแบบรหัสคาสั่งเพื่อควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์
ขนาดใหญ่ประเภทเมนเฟรมและมินิ ต่อมาจึงปรับรูปแบบคาสั่งให้ใช้กับ
ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ ข้อดี คือ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการเขียนรหัสคาสั่ง
ควบคุมการทางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคาสั่งควบคุม
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในการทางานจริง ข้อจากัด คือ โครงสร้างภาษามี
ส่วนประกอบของบรรทัดคาสั่งงานมาก รูปแบบรหัสคาสั่งมีความยาว จดจา
คาสั่งได้ยาก ไม่เหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะสร้างงานโปรแกรม
2. ภาษาระดับสูง (ต่อ)
2. ภาษาระดับสูง (ต่อ)
• ภาษาปาสคาล (PASCAL)
เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้เขียน
รหัสคาสั่งควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ แต่ละส่วนของ
โครงสร้างกาหนดหน้าที่การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมงานชัดเจน คาสั่งสั้น สื่อ
ความหมายดี จึงจดจาได้ง่าย ประสิทธิภาพคาสั่งงานมีเลือกใช้งาน
หลากหลายรูปแบบ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ เหมาะสมกับการนาไปใช้
ในหลักสูตรการเรียนการสอน ข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งไม่
สามารถใช้ควบคุมการทางานในลักษณะ ระบบงานแบบฐานข้อมูล หรือแบบ
เครือข่ายได้ แต่อาจใช้พื้นฐานความรู้สาหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษาเดลไฟ
(DELPHI) ที่คาสั่งงานคล้ายภาษาปาสคาล
2. ภาษาระดับสูง (ต่อ)
• ภาษาซี
เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คาสั่งมีประสิทธิภาพการ
คานวณที่รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบรวมกับภาษาแอสแซมบลีได้ ใช้
ควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ ภาษาได้รับการพัฒนามา
อย่างต่อเนื่อง การออกแบบรหัสคาสั่งมีมาตรฐานรวมกัน ถึงแม้จะเป็น
ภาษาซีต่างบริษัท ก็ใช้งานส่วนคาสั่งพื้นฐานรวมกันได้ ใช้ระยะเวลาสั้นใน
การเรียนรู้ จึงเหมาะสมสาหรับนาไปใช้ในหลักสูตรการเรียนการสอน และ
นาไปใช้สร้างงานโปรแกรมระบบขนาด ใหญ่ได้ ข้อจากัด คือ อยู่ในส่วนของ
รุนภาษาซีมากกว่า เช่น เทอรโบซีจะไม่สามารถนาไป สร้างระบบงาน
ฐานข้อมูลได้ แต่หากต้องการนาไปสร้างงานโปรแกรมแบบฐานข้อมูล ต้อง
ใช้วิชวล ซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็นต้น
การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานระบบด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตาม ที่มิใช้ภาษาเครื่อง ระบบไม่สามารถ
ประมวลผลได้ทันที เพราะการทางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0
กับ 1 ดังนั้นผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสาหรับแปล
รหัสคาสั่งให้เป็นรหัส เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคาสั่ง
ภาษาคอมพิวเตอร์มีการทางาน 3 ลักษณะ คือ
• โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งเฉพาะภาษา
แอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง
3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program)
3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program)
(ต่อ)
• โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปลคาสั่งทั้ง
โครงสร้างโปรแกรม แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้นต้องประมวลผล
ให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้ มโปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่องภายหลังเมื่อ
เรียกใช้โปรแกรมนี้ เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้างไว้นั้น จึงไม่ต้องเริ่มแปลรหัสให้
ข้อดี คือ ทางานได้รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปลรหัสให้ทุกครั้ง ข้อจากัด คือ ต้องเขียน
โปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ จึง จะสามารถคอมไพลปละ
ประมวลผลเพื่อแสดงผลได้
• โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล คือ แปล
รหัสทีละคาสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทางาน แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อ
แก้ไข จากนั้นประมวลผลให้ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้างแฟ้ มโปรแกรมให้
เพื่อเก็บรหัสคาสั่ง คือ สั่งให้ประมวลผลรหัสคาสั่งเพื่อดูผลการทางานได้ทันทีที่ต้องการ
โดยไม่ ข้อดี ต้องเขียนโปรแกรมถึงบรรทัดสุดทาย ข้อจากัด คือ หากโปรแกรมมีบรรทัด
คาสั่งจานวนมากจะประมวลผลชา เพราะต้องเริ่ม แปลรหัสคาสั่งให้ที่บรรทัดคาสั่งแรกทุก
ครั้งที่สั่งให้ประมวลผล
3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program)
(ต่อ)
• การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มี
ข้อแนะนาในการนาไปใช้เป็นแนวทางพิจารณา เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้
1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคาสั่งงานของแต่ละภาษา เปรียบเทียบกับ
ลักษณะงาน เช่น สร้างโปรแกรมระบบงานคานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจ
เลือกใช้ภาษาซี ภาษา ปาสคาล
2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบนเครือข่าย
อาจ เลือกใช้ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของโปรแกรมที่มีคาสั่งควบคุมการทางานได้
3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์และรุนของระบบปฏิบัติการที่ใช้ควบคุม
เพื่อเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานรวมกันกับระบบได้
4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชานาญอยู่แล้ว เพื่อ
ไม่ต้อง เสียเวลาเริ่มต้นศึกษาเรียนรู้ภาษาให้ หรือหากเป็นภาษาให้ ควรเป็นภาษาที่
มีลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม
5. ควรเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง มีความยืดหยุ่นสูง เอื้ออานวยความสะดวก
ใน การปรับปรุงพัฒนาระบบงานในอนาคต
6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่องการเข้าถึงข้อมูล ต้องคัดเลือก
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพเรื่องนี้ด้วย
7. พิจารณางบประมาณ ใช้จัดหาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องมาใช้งาน เพื่อป้ องกัน
ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะไม่ก่อปัญหาเมื่อขยายพัฒนาระบบงาน
เพิ่ม มากขึ้นในอนาคต
8. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทั่วไปเพื่อศึกษารวบรวมข้อมูล และ
ป้ องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และมีความเชื่อมั่นว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญให้
คาปรึกษาหากเกิดปัญหาขึ้น
3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program)
(ต่อ)
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์
• การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็น
กระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็นระบบการทางานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบ
การทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สาหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจาก
จัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรม
ประยุกต์งานมาใช้ในการดาเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจ
ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง ดาเนินงานดังนี้
1) ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา
2) ขั้นวางแผนและการออกแบบ
3) ขั้นดาเนินการเขียน คาสั่งงาน
4) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
5) ขั้นจัดทาคู่มือระบบ
6) ขั้นการติดตั้ง
7) ขั้น การบารุงรักษา
4.1 ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition)
เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาระบบงานให้ อาจ
วิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป เช่น
สมการที่ใช้คานวณ การนาเข้า ข้อมูลที่ใช้ประมวลผล กรณีเป็นระบบงานใหญ่ ความ
ซับซ้อนของงาน ย่อมมากขึ้น อาจเริ่มจากสภาพปัญหา โดย รวบรวมข้อมูลปัญหาและ
ความต้องการ ต่างๆ จากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อสรุป และศึกษา
ความเป็นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานให้ การกาหนดความต้องการ (Requirements
Specification) เป็นความต้องการ ประสิทธิภาพการทางานจากระบบงานให้ รวบรวม
ข้อมูลความต้องการโดยใช้เครื่องมือทางสถิติ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การ
สังเกต เพื่อหาข้อสรุปรวมกันที่ชัดเจนระหว่างผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ ระบบ การกาหนด
ความต้องการนั้นมีแนวทางในการดาเนินงาน ดังนี้
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์
1) ประสานงานรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวของกับระบบ เพื่อประมวลความต้องการทั้งหมด
2) จัดทาข้อสรุปความต้องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้ องกัน ข้อ
ขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนรับมอบระบบงาน
3) การให้คาจากัดความตาง ๆ ในเอกสาร ต้องมีความชัดเจน ไม่กากวม การศึกษาความเป็นไปได้
(Feasibility Study) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวของกับระบบงานที่เป็นปัจจัย เอื้อต่อการทางาน หรืออุปสรรคในการ
ทางานมีแนวศึกษา ดังนี้
– 1) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical Feasibility) เช่น ศึกษาระบบ คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่เดิม
ต้องปรับปรุง (Upgrade) ประสิทธิภาพเครื่องอย่างไรบาง
– 2) ศึกษาความเป็นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) เช่น ต้นทุนค่าใช้จ่าย ในการ
ดาเนินงานระบบงานให้ หรือด้านงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร รวบรวมโดย นางพวงพรรณ
สุพิพัฒนโมลี ตาแหน่ง ครูชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล
– 3) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) เช่น ทักษะเดิมของ ผู้ใช้ระบบงาน
ให้ การยอมรับระบบให้ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางาน
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
4.2 ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design)
ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะลาดับการทางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธี
อัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) ลาดับขั้นตอน
การออกแบบ ระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบการแสดงผล (Output Design) การออกแบบ
รูปแบบการนาเข้า ข้อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี้
1) จานวนและประเภทเนื้อหาของข้อมูล (Content) ต้องมีเพียงพอ ครบถ้วน
สมบูรณ์ นาเสนอเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวของกันและแยกเป็นระบบงานย่อย
2) รูปแบบ (Form) การนาเสนอข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบที่ผู้ใช้ระบบเข้าใจงาย เช่น
การ นาเสนอข้อมูลสรุปด้วยกราฟดีกว่าการนาเสนอข้อมูลสรุปในรูปแบบตาราง
3) รูปแบบแสดงผล (Output Format) คานึงว่าเป็นการแสดงผลรายงานทางจอภาพ
หรือ เครื่องพิมพ์ เพราะการกาหนดรูปแบบ และรายละเอียดมีความแตกต่างกัน
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
4.3 ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน (Coding)
เป็นขั้นตอนเขียนคาสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์
ที่กาหนดไว้ ต้องลาดับคาสั่งตามขั้นตอนที่วิเคราะห์ว่า สาหรับขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน มี
แนวทางดาเนินงาน ดังนี้
• 1) จัดทีมงานในองค์กรวิเคราะห์และพัฒนาระบบงานเอง มีข้อดี คือ ปรับแก้ไขโปรแกรมได้
ตามต้องการ ได้รับความรวมมือจากคนในองค์กรในระดับดี เพราะเป็นกลุ่มบุคคลใน
องค์กร เดียวกัน ข้อเสีย คือ หากไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็นการทางานเฉพาะ
กิจ จะเกิดความเสี่ยงในระบบงาน เช่น งานลาชา หรืองานไม่เสร็จสิ้นตามกาหนด
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
• 2) จัดซื้อโปรแกรมสาเร็จรูป ข้อดี คือ มีโปรแกรมที่นามาใช้กับงานได้ทันที งานของ
องค์กรไม่ หยุดชะงัก และมีบริการอบรมการใช้โปรแกรม ส่วนใหญ่โปรแกรมออกแบบมาดี
จึงใช้งาน ง่าย ข้อเสีย คือ โปรแกรมสาเร็จรูปมีข้อจากัดในตัวเอง ไม่สามารถตอบสนอง
ความ ต้องการผู้ใช้ระบบได้ครอบคลุมทุกด้าน และผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขข้อจากัดตาง ๆ
ของ โปรแกรมได้ด้วยต้นเอง
• 3) จัดจ้างบริษัทพัฒนาระบบ ข้อดี คือ พัฒนาระบบงานได้รวดเร็วเพราะมีทีมงานที่มี
ความชานาญงานระบบงานตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ ข้อเสีย คือ ค่าจ้างการ
พัฒนามีราค่าสูง เพราะต้องวิเคราะห์ระบบงานให้ และรวมราคาการบารุงรักษาโปรแกรม
ในอนาคตไว้แล้ว
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
4.4 ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging)
การทดสอบการทางานของโปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดย
พัฒนา ระบบงานเองโดยใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คาสั่ง
และวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลลัพธ์การทางานกับจุดประสงค์ของงาน หากไม่มีข้อผิดพลาดใด
ๆ จึงสงมอบการทาสอบ อีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง ทั้งนี้ข้อผิดพลาดที่เกิดจาก
การทดสอบ โดยสรุปมี 2 รูปแบบ คือ
• 1) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คาสั่งผิดรูปแบบไวยากรณ์ที่ภาษากาหนดไว้ (Syntex Errors)
• 2) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (Logic Error) กรณีระบบงานขนาดใหญ่ การทดสอบ
ระบบงานให้ โดยผู้ใช้ระบบอาจต้องฝึกอบรมการใช้โปรแกรมก่อนแล้วจึงหาข้อสรุปข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น
มีแนวทางจัดฝึกอบรมการใช้โปรแกรม ดังนี้
– 1) ฝึกอบรมโดยวิทยากร ใช้วิธี บรรยาย สาธิต และจาลองข้อมูลนาเข้า เพื่อทดสอบระบบ
– 2) เรียนรู้ด้วยต้นเอง ผู้ใช้ระบบศึกษาอ่านจากคู่มือระบบงาน หรือใช้ซีดีรอมเรียนรู้ด้วยต้นเอง
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
4.5 ขั้นจัดทาคู่มือระบบ (Documentation)
เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พัฒนาระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคู่มือ
การใช้ ระบบงานให้ คู่มือระบบงานมีความสาคัญมาก เพราะเปรียบเสมือนกับพิมพ์เขียวของ
บาน คู่มือระบบ จึงถูกใช้เพื่อศึกษารูปแบบระบบงานเพื่อพัฒนาระบบในอนาคต คู่มือระบบมี
หลายรูปแบบ เช่น
• 1) คู่มือสาหรับผู้ใช้ระบบ (User Documentation) เป็นส่วนอธิบายขั้นตอนการทางานของ ระบบ
เพื่อให้ผู้ใช้ระบบเรียนรู้การทางาน เช่น วิธีกรอกข้อมูลในส่วนต่างๆ
• 2) คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทาสาหรับผู้ดูแลระบบ เช่น ขั้นตอนการ ติดตั้ง
โปรแกรม การแก้ปัญหาระบบงานขั้นพื้นฐาน
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
4.6 ขั้นการติดตั้ง (Implementation)
เป็นขั้นตอนนาระบบให้ที่ผ่านการทดสอบ และได้รับการยอมรับจากกลุ่มตัวแทนผู้ใช้ระบบ
ว่า สามารถนามาทดแทนระบบงานเดิม มีแนวทางใช้ระบบงานให้ ดังนี้
• 1) ติดตั้งระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทั้งหมด และใช้ระบบงานให้ทันที (Direct Changeover) วิธีนี้
สะดวกกับผู้ใช้คือ ทางานระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูง หาก ระบบงานให้มีปัญหาจะไม่
สามารถใช้ระบบงานระบบใดได้เลย
• 2) ติดตั้งระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Running) เป็นการทางาน 2 ระบบในคราวเดียวกัน เพื่อ
ป้ องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบงานให้ ยังคงมีระบบงานเดิมสารองความผิดพลาด ที่ไม่อาจ
คาดคิด เกิดขึ้นได้ แต่เป็นการเพิ่มภาระงานของผู้ใช้ระบบที่ต้องทางานทั้ง 2 ระบบ จนกว่าแน่ใจว่า
ระบบงานให้ สามารถใช้รองรับการทางานได้โดยไม่มีข้อผิดพลาดใด ๆ
• 3) ติดตั้งระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็นการติดตั้งระบบย่อยทีละระบบจาก
ระบบงานทั้งหมด เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพการทางาน หากมีข้อผิดพลาดที่เฟสใดจะ ดาเนินการ
แก้ไขเฉพาะเฟสนั้นก่อน จากนั้นจึงขยายจนครบทั้งระบบ
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
• 4) ติดตั้งระบบแบบโครงการนารอง (Pilot Project) พิจารณาจัดทาเฉพาะงานของ
หน่วยงาน ในองค์กรที่มีความสาคัญและความจาเป็น พิจารณาผลงานที่ได้ หากไม่มี
ปัญหาเรื่องใด จึง ขยายระบบงานต่อไป
4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
4.7 ขั้นการบารุงรักษา (Maintenance)
เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา สาเหตุที่ต้อง
บารุงรักษา มีดังนี้
1) การบารุงรักษาด้วยการแก้ไขระบบให้ถูกต้อง (Corrective Maintenance) เป็น
ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นหลังจากมีการใช้ข้อมูลจริงในระบบงาน ซี่งตรวจสอบไม่พบในขั้นการ
ทดสอบระบบ
2) การบารุงรักษาด้วยการปรับปรุงให้ดีขึ้น (Perfective Maintenance) เป็นการปรับ
ระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุงการคานวณภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตาม
นโยบายของรัฐ
3) การบารุงรักษาด้วยการป้ องกัน (Preventive Maintenance) เช่น ป้ องกันการเกิดความ
สูญหายของข้อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟ้ า การทาระบบสารองข้อมูล การป้ องกันไวรัส
คอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุกข้อมูล (Hacker)
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
• แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน
เป็ นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ
สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้าง
งานโปรแกรมเป็ นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์
วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี
ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนอง
ความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงาน
ได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้
1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น
อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อ
วิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้า
ระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อย
ดังนี้
1) สิ่งที่ต้องการ
2) สมการคานวณ
3) ข้อมูล นาเข้า
4) การแสดงผล
5) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร
6) ลาดับขั้นตอนการทางาน
2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน
มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ
ขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่
ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับ
มาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม
เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ใน
กระบวนการวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตาม
รูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้กาหนดไว้
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมี
ขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อ
ตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน
การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มี
ข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก
ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบ
ระบบงาน
5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ
เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทา
เอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวมเอกสารที่
จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรม
ระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้ง
คุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน
การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็ นขั้นตอน
วางแผนการทางานของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์
เพื่อแสดงลาดับ การควบคุมการทางาน โดยใช้สัญลักษณที่
กาหนดความหมายใช้งานเป็ นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน
ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผัง
งานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้
สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะ
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วน
ใหญ่ ดังนี้
หลักในการเขียนผังงาน
ข้อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา
ตรวจสอบลาดับการทางานได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้
1. ทิศทางการทางานต้องเรียงลาดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
2. ใช้ชื่อหนวยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
3. ลูกศรกากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น
4. เส้นทางการทางานหามมีจุดตัดการทางาน
5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทางานใด ๆ
6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน
7. หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
ประโยชน์ของผังงาน
การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน์ ดังนี้
1. ทาให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก
2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนาไปเขียนคาสั่งได้ทุกภาษา
3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว
4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานของ
ระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็นเรื่องการออกแบบระบบงาน
ของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม
ดังนี้
1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ โดยไม่มีทาง
แยกการ ทางานแต่อย่างใด เช่น
2. ) การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน แสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ
กาหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทางประมวลผล
คาสั่งที่ได้ กาหนดไว้ เช่น รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตาแหน่ง
ผู้ชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล
3. ) การเขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ
กาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ้าหรือ
ออกจากการวน ซ้าเช่น
4. ) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มี
ลักษณะ ทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ
เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซ้าหรือออกจากการวนซ้า
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ttyuj tgyhuj
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Primprapa Palmy Eiei
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ B'Benz Sunisa
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีssuser5adb53
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊คThidaporn Kaewta
 
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-712 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์WEDPISIT KHAMCHAROEN
 

What's hot (20)

งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-712 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

3 axis digital product manual
3 axis digital product manual3 axis digital product manual
3 axis digital product manualKhunut Thi-ai
 
Grease Gobbler - Knock Out Grease Traps
Grease Gobbler - Knock Out Grease TrapsGrease Gobbler - Knock Out Grease Traps
Grease Gobbler - Knock Out Grease TrapsRoger Raffaut
 
Net game 2 wan Mikrosik
Net game 2 wan MikrosikNet game 2 wan Mikrosik
Net game 2 wan MikrosikKhunut Thi-ai
 
4 axis digital product manual
4 axis digital product manual4 axis digital product manual
4 axis digital product manualKhunut Thi-ai
 
Hy jk02-m 5-axis interface board manual
Hy jk02-m 5-axis interface board manualHy jk02-m 5-axis interface board manual
Hy jk02-m 5-axis interface board manualKhunut Thi-ai
 
5 axis digital product manual
5 axis digital product manual5 axis digital product manual
5 axis digital product manualKhunut Thi-ai
 
Voices of VISN 6 March 2014_3D Printing
Voices of VISN 6 March 2014_3D PrintingVoices of VISN 6 March 2014_3D Printing
Voices of VISN 6 March 2014_3D PrintingBen Salatin
 
3D Printing Assistive Tech_Salatin_RESNA 2015
3D Printing Assistive Tech_Salatin_RESNA 20153D Printing Assistive Tech_Salatin_RESNA 2015
3D Printing Assistive Tech_Salatin_RESNA 2015Ben Salatin
 
Rehabilitation Engineering in Clinical Practice Ground Rounds_2015
Rehabilitation Engineering in Clinical Practice Ground Rounds_2015Rehabilitation Engineering in Clinical Practice Ground Rounds_2015
Rehabilitation Engineering in Clinical Practice Ground Rounds_2015Ben Salatin
 
FINAL PRESENTATION_VCU OT_3D Printing
FINAL PRESENTATION_VCU OT_3D PrintingFINAL PRESENTATION_VCU OT_3D Printing
FINAL PRESENTATION_VCU OT_3D PrintingBen Salatin
 

Viewers also liked (13)

3 axis digital product manual
3 axis digital product manual3 axis digital product manual
3 axis digital product manual
 
Ring by Spring feature article
Ring by Spring feature articleRing by Spring feature article
Ring by Spring feature article
 
Grease Gobbler - Knock Out Grease Traps
Grease Gobbler - Knock Out Grease TrapsGrease Gobbler - Knock Out Grease Traps
Grease Gobbler - Knock Out Grease Traps
 
Bab i
Bab iBab i
Bab i
 
Net game 2 wan Mikrosik
Net game 2 wan MikrosikNet game 2 wan Mikrosik
Net game 2 wan Mikrosik
 
4 axis digital product manual
4 axis digital product manual4 axis digital product manual
4 axis digital product manual
 
Hy jk02-m 5-axis interface board manual
Hy jk02-m 5-axis interface board manualHy jk02-m 5-axis interface board manual
Hy jk02-m 5-axis interface board manual
 
maher C.V.
maher C.V.maher C.V.
maher C.V.
 
5 axis digital product manual
5 axis digital product manual5 axis digital product manual
5 axis digital product manual
 
Voices of VISN 6 March 2014_3D Printing
Voices of VISN 6 March 2014_3D PrintingVoices of VISN 6 March 2014_3D Printing
Voices of VISN 6 March 2014_3D Printing
 
3D Printing Assistive Tech_Salatin_RESNA 2015
3D Printing Assistive Tech_Salatin_RESNA 20153D Printing Assistive Tech_Salatin_RESNA 2015
3D Printing Assistive Tech_Salatin_RESNA 2015
 
Rehabilitation Engineering in Clinical Practice Ground Rounds_2015
Rehabilitation Engineering in Clinical Practice Ground Rounds_2015Rehabilitation Engineering in Clinical Practice Ground Rounds_2015
Rehabilitation Engineering in Clinical Practice Ground Rounds_2015
 
FINAL PRESENTATION_VCU OT_3D Printing
FINAL PRESENTATION_VCU OT_3D PrintingFINAL PRESENTATION_VCU OT_3D Printing
FINAL PRESENTATION_VCU OT_3D Printing
 

Similar to การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาtyt13
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์benz18
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานBaramee Chomphoo
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ Last'z Regrets
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

Similar to การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_ (19)

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
mindmap
mindmapmindmap
mindmap
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
Intro program php
Intro program phpIntro program php
Intro program php
 

การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_

  • 1.
  • 2. ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็ นสัญลักษณ์ที่ ผู้พัฒนาภาษากาหนดรหัสคาสั่งขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คาสั่ง อยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็ นข้อความ ภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษา ให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพคาสั่งแตกตางกันไป ดังนั้น ผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งที่มีประสิทธิภาพ ควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์ งานตามที่ได้กาหนดจุดประสงค์ไว้
  • 3. 1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับการประดิษฐ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นคาสั่งควบคุมการทางาน และมี พัฒนาการของการสร้างรหัสคาสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน ดังนี้ • ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทางาน ลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบรหัส คาสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) ผู้ที่จะ เขียนรหัสคาสั่งควบคุมระบบได้จึงจากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ใน ห้องปฏิบัติการทดลองดาเนินงาน
  • 4. 1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ (ต่อ) • ช่วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคาสั่งเป็นชุดเลขฐานสองมีความยุ่งยากในการจาชุด ของรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน จึงมีผู้พัฒนารหัสคาสั่งเป็นอักษรภาษาอังกฤษ รวมกับเลขฐานอื่น เช่น เลขฐานสิบหก เพื่อให้เขียนคาสั่งควบคุมงานง่ายขึ้น ตั้งชื่อ ภาษาว่า แอสแซมบลีหรือภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) พร้อม กันนี้ต้องพัฒนาโปรแกรมแปลภาษาขึ้นมาด้วย (Translator Program) คือโปรแกรม แอสแซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งกลับมาเป็นเลขฐานสอง เพื่อให้ระบบ สามารถประมวลผลได้ • ช่วงที่ 3 เป็นช่วงที่บริษัทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลายภาษา เน้น ให้ใช้งานง่ายขึ้น โดยรหัสคาสั่งเป็นข้อความใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในการ สื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม ภาษาระดับสูง (High Level Language) เช่น ภาษา เบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาซี ในส่วนของ โปรแกรมแปลภาษามี 2 ลักษณะ คือ อิน เทอรพรีตเทอร์ และคอมไพเลอร์
  • 5. 1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ (ต่อ) • ช่วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นาไปใช้ควบคุมการ ทางานระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานรวมกับเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามี รูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งเป็นงานโปรแกรม เชิงวัตถุ (Object – Oriented Programming Language : OOP) ติดต่อใช้งานกับผู้ใช้โปรแกรมเชิง กราฟฟิก (Graphic User Interface : GUI) ลดขั้นตอนการจดจาเพื่อพิมพ์รหัสคาสั่งมา เป็นการคลิก เลือกรายการคาสั่ง และป้ อนค่าควบคุม เช่น ภาษาวิชวลเบสิก (Visual BASIC) ภาษาจาว่า (JAVA)
  • 6. 2. ภาษาระดับสูง ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึง ปัจจุบัน เพราะเป็นภาษาที่มี รูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งสั้น สื่อความหมายตรง กับการทางาน ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้เพื่อเขียน ชุดรหัสคาสั่งควบคุมการ ทางาน ใช้หน่วยความจาระบบน้อย จึงเหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะการสร้างงาน โปรแกรมประยุกต์งานคานวณในสาขางานต่างๆ เช่น ระบบงานคานวณทาง วิศวกรรมโยธา ระบบงานคานวณทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างภาษาระดับสูงที่ ได้รับความนิยมใช้งาน มีดังนี้
  • 7. 2. ภาษาระดับสูง (ต่อ) • ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการของ สถาบันการศึกษา เพื่อฝึกทักษะการ เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ รูปแบบที่ใช้งานสั้น มีจานวนคาสั่งไม่มาก กฎเกณฑ์การใช้คาสั่งน้อย ใช้ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้ สั้น เหมาะสมที่จะใช่ในการเรียนการสอน เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสควบคุม การทางานระบบข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งงานมีน้อย เป็นภาษาที่ ไม่มีรูปแบบโครงสร้าง จึงไม่เหมาะสมในการนาไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์ งานในองค์กร
  • 8. • ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language) เป็นภาษาในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของ ภาษาได้รับการออกแบบรหัสคาสั่งเพื่อควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ประเภทเมนเฟรมและมินิ ต่อมาจึงปรับรูปแบบคาสั่งให้ใช้กับ ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ ข้อดี คือ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการเขียนรหัสคาสั่ง ควบคุมการทางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคาสั่งควบคุม คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในการทางานจริง ข้อจากัด คือ โครงสร้างภาษามี ส่วนประกอบของบรรทัดคาสั่งงานมาก รูปแบบรหัสคาสั่งมีความยาว จดจา คาสั่งได้ยาก ไม่เหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะสร้างงานโปรแกรม 2. ภาษาระดับสูง (ต่อ)
  • 9. 2. ภาษาระดับสูง (ต่อ) • ภาษาปาสคาล (PASCAL) เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้เขียน รหัสคาสั่งควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ แต่ละส่วนของ โครงสร้างกาหนดหน้าที่การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมงานชัดเจน คาสั่งสั้น สื่อ ความหมายดี จึงจดจาได้ง่าย ประสิทธิภาพคาสั่งงานมีเลือกใช้งาน หลากหลายรูปแบบ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ เหมาะสมกับการนาไปใช้ ในหลักสูตรการเรียนการสอน ข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งไม่ สามารถใช้ควบคุมการทางานในลักษณะ ระบบงานแบบฐานข้อมูล หรือแบบ เครือข่ายได้ แต่อาจใช้พื้นฐานความรู้สาหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษาเดลไฟ (DELPHI) ที่คาสั่งงานคล้ายภาษาปาสคาล
  • 10. 2. ภาษาระดับสูง (ต่อ) • ภาษาซี เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คาสั่งมีประสิทธิภาพการ คานวณที่รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบรวมกับภาษาแอสแซมบลีได้ ใช้ ควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ ภาษาได้รับการพัฒนามา อย่างต่อเนื่อง การออกแบบรหัสคาสั่งมีมาตรฐานรวมกัน ถึงแม้จะเป็น ภาษาซีต่างบริษัท ก็ใช้งานส่วนคาสั่งพื้นฐานรวมกันได้ ใช้ระยะเวลาสั้นใน การเรียนรู้ จึงเหมาะสมสาหรับนาไปใช้ในหลักสูตรการเรียนการสอน และ นาไปใช้สร้างงานโปรแกรมระบบขนาด ใหญ่ได้ ข้อจากัด คือ อยู่ในส่วนของ รุนภาษาซีมากกว่า เช่น เทอรโบซีจะไม่สามารถนาไป สร้างระบบงาน ฐานข้อมูลได้ แต่หากต้องการนาไปสร้างงานโปรแกรมแบบฐานข้อมูล ต้อง ใช้วิชวล ซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็นต้น
  • 11. การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานระบบด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตาม ที่มิใช้ภาษาเครื่อง ระบบไม่สามารถ ประมวลผลได้ทันที เพราะการทางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 ดังนั้นผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสาหรับแปล รหัสคาสั่งให้เป็นรหัส เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคาสั่ง ภาษาคอมพิวเตอร์มีการทางาน 3 ลักษณะ คือ • โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งเฉพาะภาษา แอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง 3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program)
  • 12. 3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program) (ต่อ) • โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปลคาสั่งทั้ง โครงสร้างโปรแกรม แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้นต้องประมวลผล ให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้ มโปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่องภายหลังเมื่อ เรียกใช้โปรแกรมนี้ เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้างไว้นั้น จึงไม่ต้องเริ่มแปลรหัสให้ ข้อดี คือ ทางานได้รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปลรหัสให้ทุกครั้ง ข้อจากัด คือ ต้องเขียน โปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ จึง จะสามารถคอมไพลปละ ประมวลผลเพื่อแสดงผลได้ • โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล คือ แปล รหัสทีละคาสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทางาน แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อ แก้ไข จากนั้นประมวลผลให้ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้างแฟ้ มโปรแกรมให้ เพื่อเก็บรหัสคาสั่ง คือ สั่งให้ประมวลผลรหัสคาสั่งเพื่อดูผลการทางานได้ทันทีที่ต้องการ โดยไม่ ข้อดี ต้องเขียนโปรแกรมถึงบรรทัดสุดทาย ข้อจากัด คือ หากโปรแกรมมีบรรทัด คาสั่งจานวนมากจะประมวลผลชา เพราะต้องเริ่ม แปลรหัสคาสั่งให้ที่บรรทัดคาสั่งแรกทุก ครั้งที่สั่งให้ประมวลผล
  • 13. 3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program) (ต่อ) • การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มี ข้อแนะนาในการนาไปใช้เป็นแนวทางพิจารณา เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคาสั่งงานของแต่ละภาษา เปรียบเทียบกับ ลักษณะงาน เช่น สร้างโปรแกรมระบบงานคานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจ เลือกใช้ภาษาซี ภาษา ปาสคาล 2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบนเครือข่าย อาจ เลือกใช้ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของโปรแกรมที่มีคาสั่งควบคุมการทางานได้ 3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์และรุนของระบบปฏิบัติการที่ใช้ควบคุม เพื่อเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานรวมกันกับระบบได้ 4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชานาญอยู่แล้ว เพื่อ ไม่ต้อง เสียเวลาเริ่มต้นศึกษาเรียนรู้ภาษาให้ หรือหากเป็นภาษาให้ ควรเป็นภาษาที่ มีลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม
  • 14. 5. ควรเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง มีความยืดหยุ่นสูง เอื้ออานวยความสะดวก ใน การปรับปรุงพัฒนาระบบงานในอนาคต 6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่องการเข้าถึงข้อมูล ต้องคัดเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพเรื่องนี้ด้วย 7. พิจารณางบประมาณ ใช้จัดหาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องมาใช้งาน เพื่อป้ องกัน ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะไม่ก่อปัญหาเมื่อขยายพัฒนาระบบงาน เพิ่ม มากขึ้นในอนาคต 8. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทั่วไปเพื่อศึกษารวบรวมข้อมูล และ ป้ องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และมีความเชื่อมั่นว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญให้ คาปรึกษาหากเกิดปัญหาขึ้น 3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program) (ต่อ)
  • 15. 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ • การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็น กระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็นระบบการทางานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบ การทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สาหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจาก จัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรม ประยุกต์งานมาใช้ในการดาเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจ ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง ดาเนินงานดังนี้ 1) ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา 2) ขั้นวางแผนและการออกแบบ 3) ขั้นดาเนินการเขียน คาสั่งงาน 4) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 5) ขั้นจัดทาคู่มือระบบ 6) ขั้นการติดตั้ง 7) ขั้น การบารุงรักษา
  • 16. 4.1 ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition) เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาระบบงานให้ อาจ วิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป เช่น สมการที่ใช้คานวณ การนาเข้า ข้อมูลที่ใช้ประมวลผล กรณีเป็นระบบงานใหญ่ ความ ซับซ้อนของงาน ย่อมมากขึ้น อาจเริ่มจากสภาพปัญหา โดย รวบรวมข้อมูลปัญหาและ ความต้องการ ต่างๆ จากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อสรุป และศึกษา ความเป็นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานให้ การกาหนดความต้องการ (Requirements Specification) เป็นความต้องการ ประสิทธิภาพการทางานจากระบบงานให้ รวบรวม ข้อมูลความต้องการโดยใช้เครื่องมือทางสถิติ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การ สังเกต เพื่อหาข้อสรุปรวมกันที่ชัดเจนระหว่างผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ ระบบ การกาหนด ความต้องการนั้นมีแนวทางในการดาเนินงาน ดังนี้ 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์
  • 17. 1) ประสานงานรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวของกับระบบ เพื่อประมวลความต้องการทั้งหมด 2) จัดทาข้อสรุปความต้องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้ องกัน ข้อ ขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนรับมอบระบบงาน 3) การให้คาจากัดความตาง ๆ ในเอกสาร ต้องมีความชัดเจน ไม่กากวม การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวของกับระบบงานที่เป็นปัจจัย เอื้อต่อการทางาน หรืออุปสรรคในการ ทางานมีแนวศึกษา ดังนี้ – 1) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical Feasibility) เช่น ศึกษาระบบ คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่เดิม ต้องปรับปรุง (Upgrade) ประสิทธิภาพเครื่องอย่างไรบาง – 2) ศึกษาความเป็นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) เช่น ต้นทุนค่าใช้จ่าย ในการ ดาเนินงานระบบงานให้ หรือด้านงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตาแหน่ง ครูชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล – 3) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) เช่น ทักษะเดิมของ ผู้ใช้ระบบงาน ให้ การยอมรับระบบให้ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางาน 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
  • 18. 4.2 ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design) ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะลาดับการทางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธี อัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) ลาดับขั้นตอน การออกแบบ ระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบการแสดงผล (Output Design) การออกแบบ รูปแบบการนาเข้า ข้อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี้ 1) จานวนและประเภทเนื้อหาของข้อมูล (Content) ต้องมีเพียงพอ ครบถ้วน สมบูรณ์ นาเสนอเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวของกันและแยกเป็นระบบงานย่อย 2) รูปแบบ (Form) การนาเสนอข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบที่ผู้ใช้ระบบเข้าใจงาย เช่น การ นาเสนอข้อมูลสรุปด้วยกราฟดีกว่าการนาเสนอข้อมูลสรุปในรูปแบบตาราง 3) รูปแบบแสดงผล (Output Format) คานึงว่าเป็นการแสดงผลรายงานทางจอภาพ หรือ เครื่องพิมพ์ เพราะการกาหนดรูปแบบ และรายละเอียดมีความแตกต่างกัน 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
  • 19. 4.3 ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน (Coding) เป็นขั้นตอนเขียนคาสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ ที่กาหนดไว้ ต้องลาดับคาสั่งตามขั้นตอนที่วิเคราะห์ว่า สาหรับขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน มี แนวทางดาเนินงาน ดังนี้ • 1) จัดทีมงานในองค์กรวิเคราะห์และพัฒนาระบบงานเอง มีข้อดี คือ ปรับแก้ไขโปรแกรมได้ ตามต้องการ ได้รับความรวมมือจากคนในองค์กรในระดับดี เพราะเป็นกลุ่มบุคคลใน องค์กร เดียวกัน ข้อเสีย คือ หากไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็นการทางานเฉพาะ กิจ จะเกิดความเสี่ยงในระบบงาน เช่น งานลาชา หรืองานไม่เสร็จสิ้นตามกาหนด 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
  • 20. 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ) • 2) จัดซื้อโปรแกรมสาเร็จรูป ข้อดี คือ มีโปรแกรมที่นามาใช้กับงานได้ทันที งานของ องค์กรไม่ หยุดชะงัก และมีบริการอบรมการใช้โปรแกรม ส่วนใหญ่โปรแกรมออกแบบมาดี จึงใช้งาน ง่าย ข้อเสีย คือ โปรแกรมสาเร็จรูปมีข้อจากัดในตัวเอง ไม่สามารถตอบสนอง ความ ต้องการผู้ใช้ระบบได้ครอบคลุมทุกด้าน และผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขข้อจากัดตาง ๆ ของ โปรแกรมได้ด้วยต้นเอง • 3) จัดจ้างบริษัทพัฒนาระบบ ข้อดี คือ พัฒนาระบบงานได้รวดเร็วเพราะมีทีมงานที่มี ความชานาญงานระบบงานตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ ข้อเสีย คือ ค่าจ้างการ พัฒนามีราค่าสูง เพราะต้องวิเคราะห์ระบบงานให้ และรวมราคาการบารุงรักษาโปรแกรม ในอนาคตไว้แล้ว
  • 21. 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ) 4.4 ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging) การทดสอบการทางานของโปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดย พัฒนา ระบบงานเองโดยใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คาสั่ง และวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลลัพธ์การทางานกับจุดประสงค์ของงาน หากไม่มีข้อผิดพลาดใด ๆ จึงสงมอบการทาสอบ อีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง ทั้งนี้ข้อผิดพลาดที่เกิดจาก การทดสอบ โดยสรุปมี 2 รูปแบบ คือ • 1) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คาสั่งผิดรูปแบบไวยากรณ์ที่ภาษากาหนดไว้ (Syntex Errors) • 2) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (Logic Error) กรณีระบบงานขนาดใหญ่ การทดสอบ ระบบงานให้ โดยผู้ใช้ระบบอาจต้องฝึกอบรมการใช้โปรแกรมก่อนแล้วจึงหาข้อสรุปข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น มีแนวทางจัดฝึกอบรมการใช้โปรแกรม ดังนี้ – 1) ฝึกอบรมโดยวิทยากร ใช้วิธี บรรยาย สาธิต และจาลองข้อมูลนาเข้า เพื่อทดสอบระบบ – 2) เรียนรู้ด้วยต้นเอง ผู้ใช้ระบบศึกษาอ่านจากคู่มือระบบงาน หรือใช้ซีดีรอมเรียนรู้ด้วยต้นเอง
  • 22. 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ) 4.5 ขั้นจัดทาคู่มือระบบ (Documentation) เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พัฒนาระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคู่มือ การใช้ ระบบงานให้ คู่มือระบบงานมีความสาคัญมาก เพราะเปรียบเสมือนกับพิมพ์เขียวของ บาน คู่มือระบบ จึงถูกใช้เพื่อศึกษารูปแบบระบบงานเพื่อพัฒนาระบบในอนาคต คู่มือระบบมี หลายรูปแบบ เช่น • 1) คู่มือสาหรับผู้ใช้ระบบ (User Documentation) เป็นส่วนอธิบายขั้นตอนการทางานของ ระบบ เพื่อให้ผู้ใช้ระบบเรียนรู้การทางาน เช่น วิธีกรอกข้อมูลในส่วนต่างๆ • 2) คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทาสาหรับผู้ดูแลระบบ เช่น ขั้นตอนการ ติดตั้ง โปรแกรม การแก้ปัญหาระบบงานขั้นพื้นฐาน
  • 23. 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ) 4.6 ขั้นการติดตั้ง (Implementation) เป็นขั้นตอนนาระบบให้ที่ผ่านการทดสอบ และได้รับการยอมรับจากกลุ่มตัวแทนผู้ใช้ระบบ ว่า สามารถนามาทดแทนระบบงานเดิม มีแนวทางใช้ระบบงานให้ ดังนี้ • 1) ติดตั้งระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทั้งหมด และใช้ระบบงานให้ทันที (Direct Changeover) วิธีนี้ สะดวกกับผู้ใช้คือ ทางานระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูง หาก ระบบงานให้มีปัญหาจะไม่ สามารถใช้ระบบงานระบบใดได้เลย • 2) ติดตั้งระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Running) เป็นการทางาน 2 ระบบในคราวเดียวกัน เพื่อ ป้ องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบงานให้ ยังคงมีระบบงานเดิมสารองความผิดพลาด ที่ไม่อาจ คาดคิด เกิดขึ้นได้ แต่เป็นการเพิ่มภาระงานของผู้ใช้ระบบที่ต้องทางานทั้ง 2 ระบบ จนกว่าแน่ใจว่า ระบบงานให้ สามารถใช้รองรับการทางานได้โดยไม่มีข้อผิดพลาดใด ๆ • 3) ติดตั้งระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็นการติดตั้งระบบย่อยทีละระบบจาก ระบบงานทั้งหมด เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพการทางาน หากมีข้อผิดพลาดที่เฟสใดจะ ดาเนินการ แก้ไขเฉพาะเฟสนั้นก่อน จากนั้นจึงขยายจนครบทั้งระบบ
  • 24. 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ) • 4) ติดตั้งระบบแบบโครงการนารอง (Pilot Project) พิจารณาจัดทาเฉพาะงานของ หน่วยงาน ในองค์กรที่มีความสาคัญและความจาเป็น พิจารณาผลงานที่ได้ หากไม่มี ปัญหาเรื่องใด จึง ขยายระบบงานต่อไป
  • 25. 4.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ) 4.7 ขั้นการบารุงรักษา (Maintenance) เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา สาเหตุที่ต้อง บารุงรักษา มีดังนี้ 1) การบารุงรักษาด้วยการแก้ไขระบบให้ถูกต้อง (Corrective Maintenance) เป็น ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นหลังจากมีการใช้ข้อมูลจริงในระบบงาน ซี่งตรวจสอบไม่พบในขั้นการ ทดสอบระบบ 2) การบารุงรักษาด้วยการปรับปรุงให้ดีขึ้น (Perfective Maintenance) เป็นการปรับ ระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุงการคานวณภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตาม นโยบายของรัฐ 3) การบารุงรักษาด้วยการป้ องกัน (Preventive Maintenance) เช่น ป้ องกันการเกิดความ สูญหายของข้อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟ้ า การทาระบบสารองข้อมูล การป้ องกันไวรัส คอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุกข้อมูล (Hacker)
  • 26. แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน • แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็ นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้าง งานโปรแกรมเป็ นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนอง ความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงาน ได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้
  • 27. 1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อ วิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้า ระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อย ดังนี้ 1) สิ่งที่ต้องการ 2) สมการคานวณ 3) ข้อมูล นาเข้า 4) การแสดงผล 5) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร 6) ลาดับขั้นตอนการทางาน
  • 28. 2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ ขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับ มาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้ 3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ใน กระบวนการวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตาม รูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้กาหนดไว้
  • 29. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมี ขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อ ตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มี ข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบ ระบบงาน
  • 30. 5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทา เอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวมเอกสารที่ จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรม ระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้ง คุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
  • 31. การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็ นขั้นตอน วางแผนการทางานของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์ เพื่อแสดงลาดับ การควบคุมการทางาน โดยใช้สัญลักษณที่ กาหนดความหมายใช้งานเป็ นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผัง งานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้
  • 33. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลาดับการทางานได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ทิศทางการทางานต้องเรียงลาดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 2. ใช้ชื่อหนวยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 3. ลูกศรกากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น 4. เส้นทางการทางานหามมีจุดตัดการทางาน 5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทางานใด ๆ 6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน 7. หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
  • 34. ประโยชน์ของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน์ ดังนี้ 1. ทาให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก 2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนาไปเขียนคาสั่งได้ทุกภาษา 3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว 4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานของ ระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็นเรื่องการออกแบบระบบงาน ของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้
  • 35. 1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ โดยไม่มีทาง แยกการ ทางานแต่อย่างใด เช่น 2. ) การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน แสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ กาหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทางประมวลผล คาสั่งที่ได้ กาหนดไว้ เช่น รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตาแหน่ง ผู้ชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล 3. ) การเขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ กาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ้าหรือ ออกจากการวน ซ้าเช่น 4. ) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มี ลักษณะ ทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซ้าหรือออกจากการวนซ้า
  • 36.