SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
การสร้างงานโปรแกรม
ด้วยภาษาคอมพิวเตอร ์
1.ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็น
สัญลักษณ์นี่ผู้พัฒนากาหนดรหัสคาสงขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานของระบบ
อุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์เริ่มจากรหัสคาสั่งที่
อยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนาไปเป็นรูปแบบภาษาอังกฤษ มีจุดเด่น
ด้านประสิทธิภาพการทางานที่แตกต่างกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้อง
ศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งประสิทธิภาพควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อที่จะ
สามารเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่กาหนดวัตถุประสงค์ไว้
1.1ภาษาคอมพิวเตอร์
- ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction Code) เป็นรูปแบบที่ใช้งานสั้น มีจานวน
คาสั่งไม่มาก จึงเหมาะสาหรับห้องปฎิบัติการของสถานศึกษา เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของ
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์
- ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language) ผู้ใช้ได้ฝึกทักษะการเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการ
ทางานไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคาสั่งควบคุมคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในการทางานจริง ข้อจากัด รูปแบบรหัส
คาสั่งมีความยาว จดจาคาสั่งได้ยาก
- ภาษาปาสคาล (PASCAL) แต่ละส่วนของโครงสร้างกาหนดหน้าที่การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานได้ชัดเจน
ประสิทธิภาพคาสั่งงานมีเลือกใช้งานหลาก ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้
- ภาษาซี เน้นให้คาสั่งมีประสิทธิภาพการคานวณที่รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบร่วมกับภาษาแอสแซมบลีได้ เป็นภาษาที่ได้รับ
การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การออกแบบรหัสคาสั่งมีมาตราบานร่วมกัน และสามรถนาไปสร้างโปรแกรมขนาดใหญ่
➜ โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร์(Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งเฉพาะ
ภาษาแอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง
➜ โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์(Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปลคาสั่งทั้ง
โครงสร้างโปรแกรม แล้วจึงแจ้งข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้นต้องประมวลผล
ใหม่
➜ โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอร์พรีตเทอร์(Interpreter) ลักษณะการแปลคือ แปลที
ละคาสั่งเมื่อพบข้อผิดพลาดจะหยุดทางาน แล้วจึงแจ้ข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อแก้ไข้
จากนั้นประมวลผลใหม่
1.2 ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program)
2.การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์
1.ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition) เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อ
พัฒนาระบบงานให้ อาจวิเคราะห์งานจากผลลัพธ์
2. ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design) ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะห์ลาดับการทางานมี
หลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธีอัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode Design) วิธีผังงาน
(Flowchart)
3. ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน (Coding) เป็นขั้นตอนเขียนคาสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตาม
กฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กาหนดไว้
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging) การทดสอบ
การทางานของโปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดยพัฒนา ระบบงานเองโดย
ใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คาสั่ง และวิเคราะห์
เปรียบเทียบผลลัพธ์การทางานกับจุดประสงค์ของงาน หากไม่มีข้อผิดพลาดใด ๆ จึงสงมอบ
การทาสอบ อีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง
5. ขั้นจัดทาคู่มือระบบ (Documentation) เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พัฒนา
ระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคู่มือการใช้
6. ขั้นการติดตั้ง (Implementation)เป็นขั้นตอนนาระบบให้ที่ผ่านการทดสอบ และได้รับ
การยอมรับจากกลุ่มตัวแทนผู้ใช้ระบบว่า สามารถนามาทดแทนระบบงานเดิม
7. ขั้นการบารุงรักษา (Maintenance) เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยู่ใน
สภาพพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา
3.แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงาน
โปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถ
วิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้
ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด
และสามารถปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
ดังนี้
1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะ
รูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการ
คานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ
2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโด
โคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน
กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อน
ไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด
สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่ง
ควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการ
วางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตาม
รูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้
กาหนดไว้
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคน
เดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และ
ทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและ
ผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้
ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ
หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบ
จนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน
5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางาน
ถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุด
คือ รวมรวมเอกสารที่จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียด
เกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน
4.การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน
การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทางานของ
คอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ การควบคุมการทางาน โดยใช้สัญลักษณที่
กาหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน ด้วยลูกศร
1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
โปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
1. ทิศทางการทางานต้องเรียงลาดับตามขั้นตอน
ที่ได้วิเคราะห์ไว้
2. ใช้ชื่อหนวยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับ
ขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
3. ลูกศรกากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทาง
เทานั้น
4. เส้นทางการทางานหามมีจุดตัดการทางาน
5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการ
ทางานใด ๆ
6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน
7. หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวา
ของสัญลักษณ์นั้น
2. หลักในการเขียนผังงาน
1. ทาให้มองเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก
2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนาไปเขียนคาสั่งได้ทุก
ภาษา
3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว 3. ประโยชน์ของผังงาน
4. รูปแบบการเขียนผังงาน
➜ 1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ โดยไม่มีทาง
แยกการทางานแต่อย่างใด
➜ 2.) การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน แสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ
กาหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทางประมวลผลคาสั่งที่
ได้
➜ 3.) การเขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ
กาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ้าหรือออกจาก
การวนซ้าเช่น
➜ 4.) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มี
ลักษณะ ทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือก
ทิศ ทางการวนซ้าหรือออกจากการวนซ้า
วิธีการวิเคราะห์งานเป็น 5 ข้อ ดังนี้
➜ สิ่งที่ต้องการ : เป็นการบอกให้ทราบว่างานที่ต้องการให้ทามีอะไรบ้าง
➜ รูปแบบผลลัพธ์ : เป็นการบอกลักษณะหรือรูปแบบที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาให้
➜ ข้อมูลนาเข้า : ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลมีอะไรบ้าง
➜ ตัวแปรที่ใช้ : บอกว่าใช้ตัวแปรอะไรแทนข้อมูลนาเข้า หรือแทนค่าที่อยู่ระหว่างการประมวลผล
ตลอดจนตัวแปรที่ใช้แสดงผล
➜ วิธีการประมวลผล : คือขั้นตอนของคาสั่งหรือวิธีการที่ใช้ในโปรกแกรม ซึ่งขั้นตอนบางอย่าง
จะต้องเรียงลาดับก่อนหลัง สลับลาดับไม่ได้ เพราะจะทาให้ไม่สามารถประมวลผลหรือทาให้ได้ผล
ลัพธ์ไม่ตรงตามที่ต้องการ
5.กรณีศึกษาการศึกษาระบบงานและวิเคราะห์งาน
จบการนาเสนอ
✋👆👉👍👤👦👧👨👩👪💃🏃💑❤😂
😉😋😒😭👶😸🐟🍒🍔💣📌📖🔨🎃🎈

More Related Content

What's hot

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ B'Benz Sunisa
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Last'z Regrets
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Hm Thanachot
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKh ook
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Patitta Intarasopa
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา Chanikan Kongkaew
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7naraporn buanuch
 

What's hot (20)

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
 
10 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-710 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-7
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7
 

Similar to งานคอมกลุ่ม

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊คThidaporn Kaewta
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์benz18
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาtyt13
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาChatchaChantavaranurak
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1wachiradej
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

Similar to งานคอมกลุ่ม (19)

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
mindmap
mindmapmindmap
mindmap
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 

งานคอมกลุ่ม

  • 2. 1.ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็น สัญลักษณ์นี่ผู้พัฒนากาหนดรหัสคาสงขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานของระบบ อุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์เริ่มจากรหัสคาสั่งที่ อยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนาไปเป็นรูปแบบภาษาอังกฤษ มีจุดเด่น ด้านประสิทธิภาพการทางานที่แตกต่างกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้อง ศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งประสิทธิภาพควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อที่จะ สามารเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่กาหนดวัตถุประสงค์ไว้
  • 3. 1.1ภาษาคอมพิวเตอร์ - ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction Code) เป็นรูปแบบที่ใช้งานสั้น มีจานวน คาสั่งไม่มาก จึงเหมาะสาหรับห้องปฎิบัติการของสถานศึกษา เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ - ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language) ผู้ใช้ได้ฝึกทักษะการเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการ ทางานไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคาสั่งควบคุมคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในการทางานจริง ข้อจากัด รูปแบบรหัส คาสั่งมีความยาว จดจาคาสั่งได้ยาก - ภาษาปาสคาล (PASCAL) แต่ละส่วนของโครงสร้างกาหนดหน้าที่การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานได้ชัดเจน ประสิทธิภาพคาสั่งงานมีเลือกใช้งานหลาก ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ - ภาษาซี เน้นให้คาสั่งมีประสิทธิภาพการคานวณที่รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบร่วมกับภาษาแอสแซมบลีได้ เป็นภาษาที่ได้รับ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การออกแบบรหัสคาสั่งมีมาตราบานร่วมกัน และสามรถนาไปสร้างโปรแกรมขนาดใหญ่
  • 4. ➜ โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร์(Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งเฉพาะ ภาษาแอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง ➜ โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์(Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปลคาสั่งทั้ง โครงสร้างโปรแกรม แล้วจึงแจ้งข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้นต้องประมวลผล ใหม่ ➜ โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอร์พรีตเทอร์(Interpreter) ลักษณะการแปลคือ แปลที ละคาสั่งเมื่อพบข้อผิดพลาดจะหยุดทางาน แล้วจึงแจ้ข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อแก้ไข้ จากนั้นประมวลผลใหม่ 1.2 ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program)
  • 5. 2.การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ 1.ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition) เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อ พัฒนาระบบงานให้ อาจวิเคราะห์งานจากผลลัพธ์ 2. ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design) ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะห์ลาดับการทางานมี หลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธีอัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) 3. ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน (Coding) เป็นขั้นตอนเขียนคาสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตาม กฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กาหนดไว้
  • 6. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging) การทดสอบ การทางานของโปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดยพัฒนา ระบบงานเองโดย ใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คาสั่ง และวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลลัพธ์การทางานกับจุดประสงค์ของงาน หากไม่มีข้อผิดพลาดใด ๆ จึงสงมอบ การทาสอบ อีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง 5. ขั้นจัดทาคู่มือระบบ (Documentation) เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พัฒนา ระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคู่มือการใช้ 6. ขั้นการติดตั้ง (Implementation)เป็นขั้นตอนนาระบบให้ที่ผ่านการทดสอบ และได้รับ การยอมรับจากกลุ่มตัวแทนผู้ใช้ระบบว่า สามารถนามาทดแทนระบบงานเดิม 7. ขั้นการบารุงรักษา (Maintenance) เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยู่ใน สภาพพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา
  • 7. 3.แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงาน โปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถ วิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้ 1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะ รูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการ คานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ
  • 8. 2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโด โคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อน ไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้ 3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่ง ควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการ วางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตาม รูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้ กาหนดไว้
  • 9. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคน เดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และ ทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและ ผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบ จนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน 5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางาน ถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุด คือ รวมรวมเอกสารที่จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียด เกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน
  • 10. 4.การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทางานของ คอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ การควบคุมการทางาน โดยใช้สัญลักษณที่ กาหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน ด้วยลูกศร 1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน โปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. 1. ทิศทางการทางานต้องเรียงลาดับตามขั้นตอน ที่ได้วิเคราะห์ไว้ 2. ใช้ชื่อหนวยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับ ขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 3. ลูกศรกากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทาง เทานั้น 4. เส้นทางการทางานหามมีจุดตัดการทางาน 5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการ ทางานใด ๆ 6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน 7. หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวา ของสัญลักษณ์นั้น 2. หลักในการเขียนผังงาน
  • 15. 1. ทาให้มองเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก 2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนาไปเขียนคาสั่งได้ทุก ภาษา 3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว 3. ประโยชน์ของผังงาน
  • 16. 4. รูปแบบการเขียนผังงาน ➜ 1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ โดยไม่มีทาง แยกการทางานแต่อย่างใด ➜ 2.) การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน แสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ กาหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทางประมวลผลคาสั่งที่ ได้ ➜ 3.) การเขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ กาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ้าหรือออกจาก การวนซ้าเช่น ➜ 4.) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มี ลักษณะ ทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือก ทิศ ทางการวนซ้าหรือออกจากการวนซ้า
  • 17. วิธีการวิเคราะห์งานเป็น 5 ข้อ ดังนี้ ➜ สิ่งที่ต้องการ : เป็นการบอกให้ทราบว่างานที่ต้องการให้ทามีอะไรบ้าง ➜ รูปแบบผลลัพธ์ : เป็นการบอกลักษณะหรือรูปแบบที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาให้ ➜ ข้อมูลนาเข้า : ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลมีอะไรบ้าง ➜ ตัวแปรที่ใช้ : บอกว่าใช้ตัวแปรอะไรแทนข้อมูลนาเข้า หรือแทนค่าที่อยู่ระหว่างการประมวลผล ตลอดจนตัวแปรที่ใช้แสดงผล ➜ วิธีการประมวลผล : คือขั้นตอนของคาสั่งหรือวิธีการที่ใช้ในโปรกแกรม ซึ่งขั้นตอนบางอย่าง จะต้องเรียงลาดับก่อนหลัง สลับลาดับไม่ได้ เพราะจะทาให้ไม่สามารถประมวลผลหรือทาให้ได้ผล ลัพธ์ไม่ตรงตามที่ต้องการ 5.กรณีศึกษาการศึกษาระบบงานและวิเคราะห์งาน