SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
ความหมายของโปรแกรม
คอมพิว เตอร์
    โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คำาสั่งหรือ
ชุดคำาสั่ง ที่เขียนขึ้นมาเพื่อสังให้เครื่อง
                                ่
คอมพิวเตอร์ทำางานตามที่เราต้องการ  เราจะให้
คอมพิวเตอร์ทำาอะไรก็เขียนเป็นคำาสั่งตามลำาดับ
ขั้นตอน คำาสั่งเหล่านี้นักพัฒนาโปรแกรม จะ
เขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามลำาดับขั้น
ตอนของการพัฒนาโปรแกรม ดังนี้
มิ่ง  (Programming
Language)
          ภาษาโปรแกรมมิ่ง  หมาย ถึง ภาษา
ใดๆ ที่ถูกออกแบบโครงสร้างขึ้นมา เพื่อใช้ใน
การเขียนคำาสังหรือชุดคำาสัง ส่วนใหญ่เป็นภาษา
             ่            ่
อังกฤษที่มนุษย์เข้าใจ ประกอบด้วยโครงสร้าง
ของภาษา (Structure) รูปแบบไวยากรณ์
(Syntax) และคำาศัพท์ต่าง
ๆ (Vocabulary หรือ Keyword) เพื่อสั่งให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางานตามที่เราต้องการ ใน
งานเขียนโปรแกรมจะต้องมีการเตรียมงานเกี่ยว
กับการเขียนโปแกรมอย่างเป็นขั้นตอน เรียกขั้น
ขัน ตอนการพัฒ นาโปรแกรม
     ้
  1.    การวิเคราะห์ปญหา
                     ั
  การวิเคราะห์ปญหา ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ
                ั
  ดังนี้
    1.1   กำาหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อ
  พิจารณาว่าโปรแกรมต้องทำาการประมวลผล
  อะไรบ้าง
    1.2   พิจารณาข้อมูลนำาเข้า เพื่อให้ทราบว่าจะ
  ต้องนำาข้อมูลอะไรเข้าคอมพิวเตอร์ ข้อมูลมี
  คุณสมบัติเป็นอย่างไร ตลอดจนถึงลักษณะและ
  รูปแบบของข้อมูลที่จะนำาเข้า
  1.3   พิจารณาการประมวลผล ให้ทราบว่า
  โปรแกรมมีขั้นตอนการประมวลผลอย่างไร มี
  เงื่อนไปการประมวลผลอะไรบ้าง
    1.4   พิจารณาข้อสนเทศนำาออก เพื่อให้ทราบ
  ว่ามีข้อสนเทศอะไรที่จะแสดง รูปแบบและสือที่จะ
                                        ่
  ใช้ในการแสดงผล
2.  การออกแบบโปรแกรม
    การออกแบบขั้นตอนการทำางานของ
โปรแกรมเป็นขั้นตอนที่ใช้เป็นแนวทางในการลง
รหัสโปรแกรม ผู้ออกแบบขั้นตอนการทำางานของ
โปรแกรมอาจใช้เครื่องมือต่างๆ ช่วยในการ
ออกแบบ อาทิเช่น คำาสั่งลำาลอง (Pseudo
code) หรือ ผังงาน (Flow chart) การออกแบบ
โปรแกรมนั้นไม่ต้องพะวงกับรูปแบบคำาสั่งภาษา
คอมพิวเตอร์ แต่ให้มุ่งความสนใจไปที่ลำาดับขั้น
ตอนในการประมวลผลของโปรแกรมเท่านั้น
3.  การเขีย นโปรแกรมด้ว ยภาษา
คอมพิว เตอร์
           การเขียนโปรแกรมเป็นการนำาเอา
ผลลัพธ์ของการออกแบบโปรแกรม มาเปลี่ยน
เป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษา
หนึง ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องให้ความสนใจต่อ
     ่
รูปแบบคำาสังและกฎเกณฑ์ของภาษาที่ใช้เพื่อ
            ่
ให้การประมวลผลเป็นไปตามผลลัพธ์ที่ได้
ออกแบบไว้ นอกจากนั้นผูเขียนโปรแกรมควร
                        ้
แทรกคำาอธิบายการทำางานต่างๆ ลงในโปรแกรม
เพื่อให้โปรแกรมนันมีความกระจ่างชัดและง่าย
                  ้
4. การทดสอบและแก้ไ ขโปรแกรม
         การทดสอบโปรแกรมเป็นการนำา
โปรแกรมที่ลงรหัสแล้วเข้าคอมพิวเตอร์ เพื่อ
ตรวจสอบรูปแบบกฎเกณฑ์ของภาษา และผล
การทำางานของโปรแกรมนั้น ถ้าพบว่ายังไม่ถูกก็
แก้ไขให้ถูกต้องต่อไป ขั้นตอนการทดสอบและ
แก้ไขโปรแกรม อาจแบ่งได้เป็น 3 ขั้น
         4.1    สร้างแฟ้มเก็บโปรแกรมซึ่งส่วน
ใหญ่นยมนำาโปรแกรมเข้าผ่านทางแป้นพิมพ์
      ิ
โดยใช้โปรแกรมประมวลคำา
4.2  ใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แปล
โปรแกรมที่สร้างขึ้นเป็นภาษาเครื่อง โดยระหว่าง
การแปลจะมีการตรวจสอบความถูกต้องของรูป
แบบและกฎเกณฑ์ในการใช้ภาษา ถ้าคำาสังใดมีรูป
                                         ่
แบบไม่ถูกต้องก็จะแสดงข้อผิดพลาดออกมาเพื่อ
ให้ผู้เขียนนำาไปแก้ไขต่อไป ถ้าไม่มีข้อผิดพลาด
เราจะได้โปรแกรมภาษาเครื่องที่สามารถให้
คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้
    4.3  ตรวจสอบความถูกต้องของการ
ประมวลผลของโปรแกรม โปรแกรมที่ถูกต้องตาม
รูปแบบและกฎเกณฑ์ของภาษา แต่อาจให้ผลลัพธ์
ของการประมวลผลไม่ถูกต้องก็ได้ ดังนั้นผู้เขียน
วิธีการหนึงก็คือ สมมติข้อมูลตัวแทนจากข้อมูลจริง
           ่
นำาไปให้โปรแกรมประมวลผลแล้วตรวจสอบ
ผลลัพธ์ว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าพบว่าไม่ถูกต้องก็ต้อง
ดำาเนินการแก้ไขโปรแกรมต่อไป การสมมติข้อมูล
ตัวแทนเพื่อการทดสอบเป็นสิ่งที่มีความสำาคัญเป็น
อย่างมาก ลักษณะของข้อมูลตัวแทนที่ดีควรจะ
สมมติทั้งข้อมูลที่ถูกต้องและข้อมูลที่ผิดพลาด เพื่อ
ทดสอบว่าโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นสามารถครอบคลุม
การปฏิบติงานในเงื่อนไขต่างๆ ได้ครบถ้วน
         ั
นอกจากนีอาจตรวจสอบการทำางานของโปรแกรม
             ้
ด้วยการสมมติตัวเองเป็นคอมพิวเตอร์ทีจะประมวล
ผล แล้วทำาตามคำาสั่งทีละคำาสั่งของโปรแกรมนั้นๆ
5.  การทำา เอกสารประกอบโปรแกรม
    การทำาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็นงานที่
สำาคัญของการพัฒนาโปรแกรม เอกสารประกอบ
โปรแกรมช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์
ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์ที่
จะได้จากโปรแกรม การทำาโปรแกรมทุกโปรแกรม
จึงควรต้องทำาเอกสารกำากับ เพื่อใช้สำาหรับการ
อ้างอิงเมื่อจะใช้งานโปรแกรมและเมื่อต้องการ
แก้ไขปรับปรุงโปรแกรม เอกสารประกอบ
โปรแกรมที่จัดทำา ควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
1.    วัตถุประสงค์
2.    ประเภทและชนิดของคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์ที่ใช้ในโปรแกรม
3.    วิธีการใช้โปรแกรม
4.    แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม
5.    รายละเอียดโปรแกรม
6.    ข้อมูลตัวแทนที่ใช้ทดสอบ
7.    ผลลัพธ์ของการทดสอบ
6.  การบำา รุง รัก ษาโปรแกรม
           เมื่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตาม
ขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว และถูกนำามาให้ผู้ใช้ได้ใช้
งาน ในช่วงแรกผูใช้อาจจะยังไม่คุ้นเคยก็อาจ
                   ้
ทำาให้เกิดปัญหาขึ้นมาบ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอย
ควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการทำางาน การ
บำารุงรักษาโปรแกรมจึงเป็นขั้นตอนที่ผเขียน
                                       ู้
โปรแกรมต้องคอยเฝ้าดูและหาข้อผิดพลาดของ
โปรแกรมในระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรม และ
ปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น หรือ
ในการใช้งานโปรแกรมไปนานๆ ผู้ใช้อาจ
ต้องการเปลี่ยนแปลงการทำางานของระบบงาน
ภาษาคอมพิว เตอร์ (Computer
Programming Language)
   ชนิด ของภาษาคอมพิว เตอร์ ภาษา
คอมพิวเตอร์เริ่มมาจากในมหาวิทยาลัย หรือใน
หน่วยงานของรัฐบาลที่ต้องการทำางานบางอย่าง
นอกจากนี้ บางภาษาเกิดขึ้นเพราะความต้องการ
ด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และอื่น ๆ อีก
มากมาย ทำาให้มีภาษาเกิดขึ้นเป็นจำานวนมาก
จากการที่มีภาษาจำานวนมากมายนั้น ทำาให้ต้อง
กำาหนดระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยใน
การแบ่งประเภทของภาษาเหล่านัน การกำาหนด
                                 ้
ว่าเป็นภาษาระดับตำ่าหรือภาษาระดับสูง จะขึ้นอยู่
กับภาษานั้นใกล้เคียงกับเครื่องคอมพิวเตอร์
(ใกล้เคียงกับรหัส 0 และ 1 เรียกว่า ภาษาระดับ
ตำ่า) หรือว่าใกล้เคียงกับภาษาที่มนุษย์ใช้ (ใกล้
เคียงกับภาษาอังกฤษ เรียกว่า ภาษาระดับสูง)
ภาษาเครื่อ ง (Machine Language)
ก่อนปีค.ศ. 1952 มีภาษาคอมพิวเตอร์เพียง
ภาษาเดียวเท่านั้นคือ ภาษาเครื่อง (Machine
Language) ซึ่งเป็นภาษาระดับตำ่าที่สด เพราะ
                                        ุ
ใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล และคำาสั่งต่าง ๆ
ทั้งหมดจะเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ หรือหน่วยประมวลผลที่ใช้ นั่นคือ
แต่ละเครื่องก็จะมีรูปแบบของคำาสังเฉพาะของ
                                   ่
ตนเอง ซึ่งนักคำานวณและนักเขียนโปรแกรมใน
สมัยก่อนต้องรู้จักวิธีที่จะรวมตัวเลขเพื่อแทนคำา
สั่งต่าง ๆ ทำาให้การเขียนโปรแกรมยุ่งยากมาก
นักคอมพิวเตอร์จึงได้พัฒนาภาษาแอสเซมบลีขึ้น
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly
Language) ต่อมาในปีค.ศ. 1952 ได้มีการ
พัฒนาโปรแกรมภาษาระดับตำ่าตัวใหม่ ชื่อภาษา
แอสเซมบลี (Assembly Language) โดยที่
ภาษาแอสเซมบลีใช้รหัสเป็นคำาแทนคำาสั่งภาษา
เครื่อง ทำาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียน
โปรแกรมได้ง่ายขึ้น ถึงแม้ว่าการเขียนโปรแกรม
จะยังไม่สะดวกเท่ากับการเขียนโปรแกรมภาษา
อื่น ๆ ในสมัยนี้ แต่ถ้าเปรียบเทียบในสมัยนั้นก็
ถือว่าเป็นการพัฒนาไปสู่ยุคของการเขียน
โปรแกรมแบบใหม่ คือใช้สญลักษณ์แทนเลข 0
                            ั
และ 1 ของภาษาเครื่อง ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้จะ
ตัว อย่า งนิว มอนิก โคด
    ถึงแม้ว่านิวมอนิกโคดที่ใช้จะไม่ใช้คำาใน
ภาษาอังกฤษ แต่ก็เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อความ
หมายให้ผู้ใช้สามารถจดจำาได้ง่ายกว่า
สัญลักษณ์เลข 0 และ 1 ผู้เขียนโปรแกรมภาษา
แอสเซมบลียังสามารถกำาหนดชือของที่เก็บ
                               ่
ข้อมูลในหน่วยความจำาเป็นคำาในภาษาอังกฤษ
แทนที่จะเป็นเลขที่ตำาแหน่งในหน่วยความจำา
เช่น TOTAL , INCOME เป็นต้น แต่ข้อจำากัด
ของภาษาภาษาแอสเซมบลี คือ จะแตกต่างกัน
ไปในแต่ละเครื่องเช่นเดียวกับภาษาเครื่อง
    ผู้เขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีต้องใช้
ภาษาระดับ สูง (High Level Language)
     ในปีค.ศ. 1960 ได้มีการพัฒนา ภาษาระดับ
สูง (High Level Language) ขึ้น ภาษาระดับ
สูงจะใช้คำาในภาษาอังกฤษแทนคำาสั่งต่าง ๆ รวม
ทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ได้ด้วย
ทำาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถใช้เวลามุ่งไป
ในการศึกษาถึงทางแก้ปญหาเท่านั้น ไม่ต้องเป็น
                         ั
กังวลว่าคอมพิวเตอร์จะทำางานอย่างไรอีกต่อไป
     ภาษาระดับสูงนี้ถือว่าเป็น ภาษายุคที่สาม
(third-generation language) ซึ่งทำาให้เกิด
การประมวลผลข้อมูลเพิ่มมากขึ้นอย่างมหาศาล
ระหว่างปี ค.ศ. 1960 ถึง ค.ศ. 1970 และมีผู้
อย่างไรก็ตาม ภาษาระดับสูงก็ยังคง
ต้องการตัวแปลภาษาให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อสัง่
ให้เครื่องทำางานต่อไป ตัวแปลภาษาที่นิยมใช้
งานกันโดยทั่วไปจะเป็นแบบคอมไพเลอร์ ซึ่ง
แต่ละภาษาก็มีคอมไพเลอร์ไม่เหมือนกัน รวม
ทั้งคอมไพเลอร์แต่ละตัวก็จะต่างกันไปบนเครื่อง
แต่ละชนิดด้วย เช่น ถ้าเขียนโปรแกรมภาษา
COBOL บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ก็จะต้อง
เลือกใช้คอมไพเลอร์ภาษา COBOL ที่ทำางาน
บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งการเขียน
โปรแกรมภาษาหนึ่งภาษาใดบนเครื่องที่ต่างกัน
อาจจะแตกต่างกันได้ เพราะคอมไพเลอร์ที่ใช้
ภาษาระดับ สูง มาก (Very high-level
Language)
    เป็นภาษายุคที่ 4 (fourth-generation
language) หรือ 4GLs จะเป็นภาษาที่ใช้เขียน
โปรแกรมได้สนกว่าภาษาในยุคก่อน ๆ การ
                ั้
ทำางานบางอย่างสามารถใช้เพียง 5 ถึง 10
บรรทัดเท่านันในขณะที่ถ้าเขียนด้วยภาษา อาจ
              ้
ต้องใช้ถึง 100 บรรทัด โดยพื้นฐานแล้ว ภาษา
ในยุคที่ 4 นี้มีคณสมบัติที่แยกจากภาษาในยุค
                   ุ
ก่อน ๆ อย่างชัดเจน กล่าวคือภาษาในยุคก่อน
นันใช้หลักการของ การเขียนโปรแกรมแบบโพร
  ้
ซีเยอร์ (procedurl language) ในขณะที่
ผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่กำาหนดว่าต้องการ
ให้โปรแกรมทำาอะไรบ้างก็สามารถเขียน
โปรแกรมได้ทันที โดยไม่ต้องทราบว่าทำาได้
อย่างไร ทำาให้การเขียนโปรแกรมสามารถทำาได้
ง่ายและรวดเร็ว
    มีนักเขียนโปรแกรมกล่าวว่า ถ้าใช้ภาษาใน
ยุคที่ 4 นี้เขียนโปรแกรมจะทำาให้ได้งานที่เพิ่ม
ขึ้นถึงสิบเท่าตัว ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการพิมพ์
รายงานแสดงจำานวนรายการสินค้าที่ขายให้
ลูกค้าแต่ละคนในหนึ่งเดือน โดยให้แสดงยอด
รวมของลูกค้าแต่ละคน และให้ขึ้นหน้าใหม่
ข้อ ดีข องภาษาในยุค ที่ 4
      การเขียนโปรแกรมจะเน้นที่ผลของงานว่า
ต้องการอะไร ไม่สนใจว่าจะทำาได้อย่างไร ช่วย
พัฒนาเนื้องาน เพราะเขียนและแก้ไขโปรแกรม
ได้ง่ายไม่ต้องเสียเวลาอบรมผูเขียนโปรแกรม
                            ้
มากนัก ไม่ว่าผูที่จะมาเขียนโปรแกรมนั้นมีความ
               ้
รู้ด้านการเขียนโปรแกรมหรือไม่ ผูเขียน
                                 ้
โปรแกรมไม่ต้องทราบถึงฮาร์ดแวร์ของเครื่อง
และโครงสร้างโปรแกรม
ภาษาธรรมชาติ (Nature
Language) เป็น ภาษายุคที่ 5 (fifth
generation language) หรือ 5GLs
ธรรมชาติหมายถึงธรรมชาติของมนุษย์ คือไม่
ต้องสนใจถึงคำาสังหรือลำาดับของข้อมูลที่ถูกต้อง
                  ่
ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่อง
คอมพิวเตอร์เป็นคำาหรือประโยคตามที่ผู้ใช้เข้าใจ
ซึ่งจะทำาให้มีรูปแบบของคำาสังหรือประโยคที่แตก
                                ่
ต่างกันออกไปได้มากมาย เพราะผู้ใช้แต่ละคน
อาจจะใช้ประโยคต่างกัน ใช้คำาศัพท์ต่างกัน
หรือแม้กระทั่งบางคนอาจจะใช้ศัพท์แสลงก็ได้
คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคำาหรือประโยคเหล่า
ตัว อย่า งภาษาคอมพิว เตอร์
 
        ปัจจุบันนีมีภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้
                  ้
    มากมายหลายภาษา แต่ละภาษาก็ถูกออกแบบมา
    ให้ใช้กับงานด้านต่าง ๆ กัน ตัวอย่างเช่น บาง
    ภาษาก็ออกแบบมาให้ใช้แก้ปัญหาทางธุรกิจ
    บางภาษาก็ใช้ในการคำานวณที่ซับซ้อน ซึ่งจะ
    กล่าวโดยสรุปถึงการใช้งานของแต่ละภาษาดังนี้
ภาษา BASIC
    เป็นภาษาที่ใช้ง่าย และติดตั้งอยู่บนเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์สวนมาก ใช้สำาหรับผู้เริ่มต้น
                     ่
ศึกษาการเขียนโปรแกรมและผู้ที่เขียนโปรแกรม
เป็นงานอดิเรก นิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมสั้น
ๆ ภาษา BASIC รุ่นแรกใช้ interpreter เป็นตัว
แปลภาษา ทำาให้เขียนโปรแกรม ทดสอบ และ
แก้ไขโปรแกรมได้อย่างง่ายดาย แต่ก็ทำางานได้
ช้า ทำาให้ผที่เขียนโปรแกรมเชี่ยวชาญแล้วไม่
           ู้
นิยมใช้งาน แต่ปจจุบนนี้มีภาษา BASIC รุ่นใหม่
                  ั    ั
ออกมาซึ่งใช้ conplier เป็นตัวแปลภาษา ทำาให้
ภาษา COBOL
    เป็นภาษาระดับสูงที่ออกแบบมาตั้งแต่ปีค.ศ.
1960 นิยมใช้สำาหรับการแก้ปัญหาทางด้านธุรกิจ
เช่น การจัดเก็บ เรียกใช้ และประมวลผลทางด้าน
บัญชี ตลอดจนทำางานด้านการควบคุมสินค้า
คงคลัง การรับและจ่ายเงิน เป็นต้น
คำาสังของภาษา COBOL จะคล้ายกับภาษา
     ่
อังกฤษทำาให้สามารถอ่านและเขียนโปรแกรมได้
ไม่ยากนัก ในยุคแรก ๆ ภาษา COBOL จะได้รับ
ความนิยมบนเครื่องระดับเมนเฟรม แต่ปจจุบนนี้
                                   ั   ั
จะมีตัวแปลภาษา COBOL ที่ใช้บนเครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์ด้วย รวมทั้งมีภาษา COBOL ที่ได้
รับการออกแบบตามแนวทางเชิงวัตถุ (Object
Oriented) เรียกว่า Visual COBOLซึ่งช่วยให้
โปรแกรมสามารถทำาได้ง่ายขึ้น และสามารถนำา
โปรแกรมที่เขียนไว้มาใช้ในการพัฒนางานอื่น ๆ
อีก
ภาษา Fortran
    เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับการพัฒนาโดย
บริษัท IBM ตั้งแต่ปีค.ศ. 1957 ย่อมาจากคำาว่า
FORmula TRANslator ซึ่งถือว่าเป็นการ
กำาเนิดของภาษาระดับสูงภาษาแรก นิยมใช้
สำาหรับงานที่มีการคำานวณมาก ๆ เช่น งานทาง
ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
วิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น
ภาษา Pascal
    เป็นภาษาระดับสูงที่เอื้ออำานวยให้ผู้เขียน
โปรแกรมเขียนโปรแกรมได้อย่างมีโครงสร้าง
และเขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าภาษาอื่น นิยม
ใช้บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เป็นภาษา
สำาหรับการเรียนการสอน และการเขียน
โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ภาษาปาสคาลมีตัวแปล
ภาษาทั้งที่เป็น interpreter และ Compiler
โดยจะมีโปรแกรมเทอร์โบปาสคาล (Turbo
Pascal) ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงทั้งในวงการ
ศึกษาและธุรกิจ เนื่องจากได้รับการปรับปรุงให้
ภาษา C และ C++
     ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นโดย ในปีค.ศ. 1972
ที่ห้องปฏิบัติการเบลล์ของบริษัท AT&T เป็น
ภาษาที่ใช้เขียนระบบปฏิบติการ UNIX ซึ่งเป็น
                         ั
ระบบปฏิบติการที่ได้รับความนิยมคู่กับภาษาซี
           ั
และมีการใช้งานอยู่ในเครื่องทุกระดับ
     ภาษา เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยม
ในหมู่นักเขียนโปรแกรมเป็นอย่างมาก
เนื่องจากภาษา จะเป็นภาษาที่รวมเอกข้อดีของ
ภาษาระดับสูงในเรื่องของความยืดหยุ่นและ
ไวยากรณ์ที่ง่ายต่อการเข้าใจ ซึ่งเป็นภาษาที่ได้
รับความนิยมใช้งานพัฒนาโปรแกรมอย่างมาก
กับข้อดีของภาษาแอสเซมบลีในเรื่องของ
ประสิทธิภาพและความเร็วในการทำางานทำาให้
โปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษาซีทำางานได้เร็วกว่า
โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงอื่น ๆ ใน
ขณะที่การพัฒนาและแก้ไขโปรแกรมสามารถ
ทำาได้ง่ายเช่นเดียวกันภาษาระดับสูงทั่ว ๆ ไป
นอกจากนี้ภาษา C ยังได้มีการพัฒนาก้าวหน้า
ขึ้นไปอีก โดยทำาการประยุกต์แนวความคิดของ
การโปรแกรมเชิงวัตถุเข้ามาใช้ในภาษา ทำาให้
เกิดเป็นภาษาใหม่คอ C++ (++ ในความหมาย
                   ื
ของภาษาซีคือการเพิ่มขึ้นอีกหนึงนันเอง) ซึ่ง
                              ่ ่
เป็นภาษาที่ได้รับความนิยมใช้งานพัฒนา
โปรแกรมอย่างมาก
ภาษาโปรแกรมเชิง วัต ถุ (Object-
Oriented Programming Language)
    นักเขียนโปรแกรมบางคนคิดว่าการเขียน
โปรแกรมขนาดใหญ่นั้น บางครั้งก็เป็นงานที่หนัก
และเสียเวลามาก จึงได้พยายามคิดหาวิธีที่จะ
ทำาให้การเขียนโปรแกรมนั้นง่ายขึ้น และสามารถ
เขียนได้อย่างรวดเร็ว ทำาให้เกิดเทคนิค การ
โปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented
Programming) หรือ OOP เพื่อช่วยลดความยุ่ง
ยากของการเขียนโปรแกรม
Object-Oriented Programming ต่าง
จากการเขียนโปรแกรมโดยทั่ว ๆ ไป โดยการ
เขียนโปรแกรมตามปกตินั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะ
พิจารณาถึงขั้นตอนการแก้ปัญหาของโปรแกรม
เหล่านัน แต่เทคนิคของ OOPจะมองเป็น วัตถุ
       ้
(object) เช่น กล่องโต้ตอบ (dialog box)
หรือไอคอนบนจอภาพ เป็นต้น โดยออบเจ็คใด
ออบเจ็คหนึงจะทำางานเฉพาะที่แน่นอน ถ้าผู้ใช้
           ่
ต้องการทำางานชนิดนั้นก็สามารถคัดลอกไปใช้
ในโปรแกรมที่ต้องการได้ทันที
การเลือ กใช้ภ าษา
คอมพิว เตอร์
     ในการเลือกใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์นี้ ก็จะมีดารพิจารณาหลายอย่างด้วย
กัน ดังที่จะกล่าวดังต่อไปนี้
     ในบางครั้งซึ่งในงานที่ไม่ยุ่งยากนักก็อาจใช้
ภาษาคอมพิวเตอร์พื้นฐานอย่างเช่น ภาษา Basic
เพราะเขียนโปรแกรมได้ง่าย รวดเร็ว และก็ยังมีติด
ตั้งอยู่บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากอยู่ด้วย
        
- ภาษาคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้ก็จะถูกจำากัด
โดยนักเขียนโปรแกรม เพราะว่าเราควรใช้ภาษา
ที่มีผรู้อยู่บาง
       ู้     ้
          - ผูใช้ก็ควรที่จะกำาจัดภาษา
                 ้
คอมพิวเตอร์ที่จะใช้ด้วย  ไม่ควรติดตั้งตัวแปล
ภาษาคอมพิวเตอร์
   ทุกภาษาบนเครื่อง
          -ในการเลือกภาษาในการเขียน
โปรแกรม เราก็ควรเลือกโดยการดูจากคุณสมบัติ
หรือข้อดีของ ภาษานั้น ๆ เป็นหลักด้วย
ลัก ษณะของภาษา html
       องค์ประกอบของภาษา HTML สามารถแบ่ง
  ออกเป็น 2 ส่วน คือ
             1) ส่วนที่เป็นข้อความทั่วๆไป
       2) ส่วนที่เป็นคำาสั่งที่ใช้ในการกำาหนดรูปแบบ
  ของข้อความที่แสดง ซึ่งเราเรียกคำาสั่งนี้ว่า
  แท็ก(Tag) โดยแท็กคำาสั่งของ HTML จะอยู่ใน
  เครื่องหมาย < และ > ซึ่งมีหลักในการเขียน คือ
  ส่วนเริ่มต้นของแท็ก เรียกว่า “แท็กเปิด” และส่วน
  จบของแท็ก เรียกว่า “แท็กปิด” โดยส่วนของแท็ก
  ปิดจะต้องมีเครื่องหมาย Slash (/) ดังนี้ ในกรณี
  ที่ใช้แท็กซ้อนกันมากกว่า 1 แท็ก เราจะต้องใช้
- บางแท็กไม่ต้องมีแท็กปิดก็สามารถใช้งาน
ได้ คือ <br> , <hr>
    - สามารถพิมพ์แท็กเป็นตัวเล็ก หรือตัวใหญ่
ก็ได้ แต่ควรจะเลือกใช้เพียงแบบเดียว
    - บางแท็กจะมีตัวกำาหนดคุณสมบัติ เรียกว่า
แอททริบวท์ (Attribute) และค่าที่ถูกกำาหนด
          ิ
ให้
ใช้แท็ก (Value) โดยจะเขียนไว้หลังแท็ก
เช่น <hr width=600 size=5>
แท็ก <hr> เป็นการกำาหนดเส้นขั้นทางแนว
นอน
หลัก การเขีย นภาษา HTML
1. รู้จ ัก กับ ภาษา HTML (HTML
Introduction)HTML ย่อมาจาก HyperText
Markup Language เป็นหนึ่งในภาษา
คอมพิวเตอร์ ที่มีลักษณะเป็นภาษาในเชิงการ
บรรยายเอกสารไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia
Document DescriptionLanguage) เพื่อเผย
แพร่เอกสารในระบบเครือข่าย WWW (World
Wide Web) มีโครงสร้างภาษาโดยใช้ตัวกำากับ
(Markup Tags)
เพื่อทำาหน้าที่ควบคุมการแสดงผลข้อมูล
รูปภาพ และวัตถุอื่น ๆผ่านทางโปรแกรมเว็บ
บราวเซอร์ ซึ่งในแต่ละ Tag จะมีส่วนขยาย
(Attribute) เพื่อควบคุมการแสดงผล ซึ่งเป็น
ภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย World Wide Web
Consortium (W3C) ซึ่งมีแม่แบบคือภาษา
SGML (Standard Generalized Markup
Language)การสร้างไฟล์ HTML จะต้องอาศัย
โปรแกรมที่มีคุณสมบัติเป็นเท็กซ์เอดิเตอร์
(TextEditor) โดยใช้สำาหรับเขียนคำาสั่งต่าง ๆ ที่
ต้องการแสดงผลทางจอภาพ และเก็บเป็นไฟล์
โดยมี
2. องค์ป ระกอบของ HTML (HTML
Elements)
     เอกสาร HTML ก็คอไฟล์เอกสาร (Text
                        ื
File) ที่สร้างขึ้นโดยมีองค์ประกอบของ HTML
ซึ่งองค์ประกอบของ HTML ก็คอ Tag ต่าง ๆ
                               ื
นันเอง
  ่

   3. พื้น ฐาน HTML Tags
   วิธีการที่จะเรียนรู้ภาษา HTML ที่ดีที่สุดก็คือ
การลงมือปฏิบติั
4. HTML Character Entities
        บางกรณีตัวอักษรพิเศษเช่น © หรือ ® ถ้า
    ต้องการที่จะแสดงผลในเว็บบราวเซอร์ จะต้อง
    ใช้ Character Entity เพื่อที่จะทำาให้ตัวอักษร
    พิเศษเหล่านั้นแสดงผลได้ทางเว็บบราวเซอร์
 
    5. HTML Links
    HTML ใช้ Hyperlink เพื่อทำาการเชือมโยงไป
                                     ่
    ยังเอกสารอื่น ๆ ที่อยู่ในเว็บ
6. HTML Frames
   Frames สามารถทำาให้แสดงเว็บเพจได้
มากกว่า 1 หน้าภายในหนึ่งหน้าวินโดวส์

 7. HTML Tables
    Tables จะถูกกำาหนดโดย Tag <table>
Table จะถูกแบ่งออกเป็นแถว (Tag <tr>) ใน
แต่ละแถวจะแบ่งเป็นเซลล์ข้อมูล (Data Cells)
(Tag <td>) ซึ่งในเซลล์ข้อมูลนั้นสามารถที่จะ
เป็นได้ทั้งข้อความ รูปภาพ ฟอร์ม (Form)
ตาราง และอื่น ๆ
8. HTML Lists
   HTML จะประกอบด้วย Ordered Lists
และ Unordered Lists

 9. HTML Images
   HTML สามารถที่จะแสดงรูปภาพในเอกสาร
HTML

 10. HTML Backgrounds
   HTML สามารถที่จะแสดงพื้นหลัง
(Background) เป็นสี และก็สามารถแสดงเป็น
จัดทำาโดย
น.ส. สุว ภัท ร ร่ม สายหยุด         เลขที่   29
น.ส. อรฤทัย อิน ทนิล              เลขที่    33
น.ส. เมทิน ี เผ่า กาญจนา          เลขที่    34
น.ส. ช่อ ผกา อ่อ นเบา             เลขที่    35
น.ส. ผาณิต รี ถาวรพานิช           เลขที่    36
น.ส. พิม พ์ฤ ดี เพิ่ม ทอง         เลขที่    37
 น.ส. อัญ ชลี จำา เริญ รัก ษา      เลขที่   38
          ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 5/1
            ้
โปรแกรมคอม

More Related Content

What's hot

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ B'Benz Sunisa
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาtyt13
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Hm Thanachot
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊คThidaporn Kaewta
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์benz18
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 

What's hot (17)

ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
ฝ้าย 55
ฝ้าย 55ฝ้าย 55
ฝ้าย 55
 

Similar to โปรแกรมคอม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25Fai Sudhadee
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์bpatra
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxssuser07f67b
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์Onrutai Intanin
 

Similar to โปรแกรมคอม (18)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
ฝ้าย 55
ฝ้าย 55ฝ้าย 55
ฝ้าย 55
 
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 

โปรแกรมคอม

  • 1.
  • 2. ความหมายของโปรแกรม คอมพิว เตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คำาสั่งหรือ ชุดคำาสั่ง ที่เขียนขึ้นมาเพื่อสังให้เครื่อง ่ คอมพิวเตอร์ทำางานตามที่เราต้องการ  เราจะให้ คอมพิวเตอร์ทำาอะไรก็เขียนเป็นคำาสั่งตามลำาดับ ขั้นตอน คำาสั่งเหล่านี้นักพัฒนาโปรแกรม จะ เขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามลำาดับขั้น ตอนของการพัฒนาโปรแกรม ดังนี้
  • 3. มิ่ง  (Programming Language) ภาษาโปรแกรมมิ่ง  หมาย ถึง ภาษา ใดๆ ที่ถูกออกแบบโครงสร้างขึ้นมา เพื่อใช้ใน การเขียนคำาสังหรือชุดคำาสัง ส่วนใหญ่เป็นภาษา ่ ่ อังกฤษที่มนุษย์เข้าใจ ประกอบด้วยโครงสร้าง ของภาษา (Structure) รูปแบบไวยากรณ์ (Syntax) และคำาศัพท์ต่าง ๆ (Vocabulary หรือ Keyword) เพื่อสั่งให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางานตามที่เราต้องการ ใน งานเขียนโปรแกรมจะต้องมีการเตรียมงานเกี่ยว กับการเขียนโปแกรมอย่างเป็นขั้นตอน เรียกขั้น
  • 4. ขัน ตอนการพัฒ นาโปรแกรม ้ 1.    การวิเคราะห์ปญหา ั การวิเคราะห์ปญหา ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ั ดังนี้     1.1   กำาหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อ พิจารณาว่าโปรแกรมต้องทำาการประมวลผล อะไรบ้าง     1.2   พิจารณาข้อมูลนำาเข้า เพื่อให้ทราบว่าจะ ต้องนำาข้อมูลอะไรเข้าคอมพิวเตอร์ ข้อมูลมี คุณสมบัติเป็นอย่างไร ตลอดจนถึงลักษณะและ รูปแบบของข้อมูลที่จะนำาเข้า
  • 5.   1.3   พิจารณาการประมวลผล ให้ทราบว่า โปรแกรมมีขั้นตอนการประมวลผลอย่างไร มี เงื่อนไปการประมวลผลอะไรบ้าง     1.4   พิจารณาข้อสนเทศนำาออก เพื่อให้ทราบ ว่ามีข้อสนเทศอะไรที่จะแสดง รูปแบบและสือที่จะ ่ ใช้ในการแสดงผล
  • 6. 2.  การออกแบบโปรแกรม การออกแบบขั้นตอนการทำางานของ โปรแกรมเป็นขั้นตอนที่ใช้เป็นแนวทางในการลง รหัสโปรแกรม ผู้ออกแบบขั้นตอนการทำางานของ โปรแกรมอาจใช้เครื่องมือต่างๆ ช่วยในการ ออกแบบ อาทิเช่น คำาสั่งลำาลอง (Pseudo code) หรือ ผังงาน (Flow chart) การออกแบบ โปรแกรมนั้นไม่ต้องพะวงกับรูปแบบคำาสั่งภาษา คอมพิวเตอร์ แต่ให้มุ่งความสนใจไปที่ลำาดับขั้น ตอนในการประมวลผลของโปรแกรมเท่านั้น
  • 7. 3.  การเขีย นโปรแกรมด้ว ยภาษา คอมพิว เตอร์ การเขียนโปรแกรมเป็นการนำาเอา ผลลัพธ์ของการออกแบบโปรแกรม มาเปลี่ยน เป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษา หนึง ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องให้ความสนใจต่อ ่ รูปแบบคำาสังและกฎเกณฑ์ของภาษาที่ใช้เพื่อ ่ ให้การประมวลผลเป็นไปตามผลลัพธ์ที่ได้ ออกแบบไว้ นอกจากนั้นผูเขียนโปรแกรมควร ้ แทรกคำาอธิบายการทำางานต่างๆ ลงในโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมนันมีความกระจ่างชัดและง่าย ้
  • 8. 4. การทดสอบและแก้ไ ขโปรแกรม การทดสอบโปรแกรมเป็นการนำา โปรแกรมที่ลงรหัสแล้วเข้าคอมพิวเตอร์ เพื่อ ตรวจสอบรูปแบบกฎเกณฑ์ของภาษา และผล การทำางานของโปรแกรมนั้น ถ้าพบว่ายังไม่ถูกก็ แก้ไขให้ถูกต้องต่อไป ขั้นตอนการทดสอบและ แก้ไขโปรแกรม อาจแบ่งได้เป็น 3 ขั้น 4.1    สร้างแฟ้มเก็บโปรแกรมซึ่งส่วน ใหญ่นยมนำาโปรแกรมเข้าผ่านทางแป้นพิมพ์ ิ โดยใช้โปรแกรมประมวลคำา
  • 9. 4.2  ใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แปล โปรแกรมที่สร้างขึ้นเป็นภาษาเครื่อง โดยระหว่าง การแปลจะมีการตรวจสอบความถูกต้องของรูป แบบและกฎเกณฑ์ในการใช้ภาษา ถ้าคำาสังใดมีรูป ่ แบบไม่ถูกต้องก็จะแสดงข้อผิดพลาดออกมาเพื่อ ให้ผู้เขียนนำาไปแก้ไขต่อไป ถ้าไม่มีข้อผิดพลาด เราจะได้โปรแกรมภาษาเครื่องที่สามารถให้ คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้ 4.3  ตรวจสอบความถูกต้องของการ ประมวลผลของโปรแกรม โปรแกรมที่ถูกต้องตาม รูปแบบและกฎเกณฑ์ของภาษา แต่อาจให้ผลลัพธ์ ของการประมวลผลไม่ถูกต้องก็ได้ ดังนั้นผู้เขียน
  • 10. วิธีการหนึงก็คือ สมมติข้อมูลตัวแทนจากข้อมูลจริง ่ นำาไปให้โปรแกรมประมวลผลแล้วตรวจสอบ ผลลัพธ์ว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าพบว่าไม่ถูกต้องก็ต้อง ดำาเนินการแก้ไขโปรแกรมต่อไป การสมมติข้อมูล ตัวแทนเพื่อการทดสอบเป็นสิ่งที่มีความสำาคัญเป็น อย่างมาก ลักษณะของข้อมูลตัวแทนที่ดีควรจะ สมมติทั้งข้อมูลที่ถูกต้องและข้อมูลที่ผิดพลาด เพื่อ ทดสอบว่าโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นสามารถครอบคลุม การปฏิบติงานในเงื่อนไขต่างๆ ได้ครบถ้วน ั นอกจากนีอาจตรวจสอบการทำางานของโปรแกรม ้ ด้วยการสมมติตัวเองเป็นคอมพิวเตอร์ทีจะประมวล ผล แล้วทำาตามคำาสั่งทีละคำาสั่งของโปรแกรมนั้นๆ
  • 11. 5.  การทำา เอกสารประกอบโปรแกรม การทำาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็นงานที่ สำาคัญของการพัฒนาโปรแกรม เอกสารประกอบ โปรแกรมช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์ที่ จะได้จากโปรแกรม การทำาโปรแกรมทุกโปรแกรม จึงควรต้องทำาเอกสารกำากับ เพื่อใช้สำาหรับการ อ้างอิงเมื่อจะใช้งานโปรแกรมและเมื่อต้องการ แก้ไขปรับปรุงโปรแกรม เอกสารประกอบ โปรแกรมที่จัดทำา ควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
  • 13. 6.  การบำา รุง รัก ษาโปรแกรม เมื่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตาม ขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว และถูกนำามาให้ผู้ใช้ได้ใช้ งาน ในช่วงแรกผูใช้อาจจะยังไม่คุ้นเคยก็อาจ ้ ทำาให้เกิดปัญหาขึ้นมาบ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอย ควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการทำางาน การ บำารุงรักษาโปรแกรมจึงเป็นขั้นตอนที่ผเขียน ู้ โปรแกรมต้องคอยเฝ้าดูและหาข้อผิดพลาดของ โปรแกรมในระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรม และ ปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น หรือ ในการใช้งานโปรแกรมไปนานๆ ผู้ใช้อาจ ต้องการเปลี่ยนแปลงการทำางานของระบบงาน
  • 14. ภาษาคอมพิว เตอร์ (Computer Programming Language) ชนิด ของภาษาคอมพิว เตอร์ ภาษา คอมพิวเตอร์เริ่มมาจากในมหาวิทยาลัย หรือใน หน่วยงานของรัฐบาลที่ต้องการทำางานบางอย่าง นอกจากนี้ บางภาษาเกิดขึ้นเพราะความต้องการ ด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และอื่น ๆ อีก มากมาย ทำาให้มีภาษาเกิดขึ้นเป็นจำานวนมาก
  • 15. จากการที่มีภาษาจำานวนมากมายนั้น ทำาให้ต้อง กำาหนดระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยใน การแบ่งประเภทของภาษาเหล่านัน การกำาหนด ้ ว่าเป็นภาษาระดับตำ่าหรือภาษาระดับสูง จะขึ้นอยู่ กับภาษานั้นใกล้เคียงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ (ใกล้เคียงกับรหัส 0 และ 1 เรียกว่า ภาษาระดับ ตำ่า) หรือว่าใกล้เคียงกับภาษาที่มนุษย์ใช้ (ใกล้ เคียงกับภาษาอังกฤษ เรียกว่า ภาษาระดับสูง)
  • 16. ภาษาเครื่อ ง (Machine Language) ก่อนปีค.ศ. 1952 มีภาษาคอมพิวเตอร์เพียง ภาษาเดียวเท่านั้นคือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งเป็นภาษาระดับตำ่าที่สด เพราะ ุ ใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล และคำาสั่งต่าง ๆ ทั้งหมดจะเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่อง คอมพิวเตอร์ หรือหน่วยประมวลผลที่ใช้ นั่นคือ แต่ละเครื่องก็จะมีรูปแบบของคำาสังเฉพาะของ ่ ตนเอง ซึ่งนักคำานวณและนักเขียนโปรแกรมใน สมัยก่อนต้องรู้จักวิธีที่จะรวมตัวเลขเพื่อแทนคำา สั่งต่าง ๆ ทำาให้การเขียนโปรแกรมยุ่งยากมาก นักคอมพิวเตอร์จึงได้พัฒนาภาษาแอสเซมบลีขึ้น
  • 17. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ต่อมาในปีค.ศ. 1952 ได้มีการ พัฒนาโปรแกรมภาษาระดับตำ่าตัวใหม่ ชื่อภาษา แอสเซมบลี (Assembly Language) โดยที่ ภาษาแอสเซมบลีใช้รหัสเป็นคำาแทนคำาสั่งภาษา เครื่อง ทำาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียน โปรแกรมได้ง่ายขึ้น ถึงแม้ว่าการเขียนโปรแกรม จะยังไม่สะดวกเท่ากับการเขียนโปรแกรมภาษา อื่น ๆ ในสมัยนี้ แต่ถ้าเปรียบเทียบในสมัยนั้นก็ ถือว่าเป็นการพัฒนาไปสู่ยุคของการเขียน โปรแกรมแบบใหม่ คือใช้สญลักษณ์แทนเลข 0 ั และ 1 ของภาษาเครื่อง ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้จะ
  • 18. ตัว อย่า งนิว มอนิก โคด ถึงแม้ว่านิวมอนิกโคดที่ใช้จะไม่ใช้คำาใน ภาษาอังกฤษ แต่ก็เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อความ หมายให้ผู้ใช้สามารถจดจำาได้ง่ายกว่า สัญลักษณ์เลข 0 และ 1 ผู้เขียนโปรแกรมภาษา แอสเซมบลียังสามารถกำาหนดชือของที่เก็บ ่ ข้อมูลในหน่วยความจำาเป็นคำาในภาษาอังกฤษ แทนที่จะเป็นเลขที่ตำาแหน่งในหน่วยความจำา เช่น TOTAL , INCOME เป็นต้น แต่ข้อจำากัด ของภาษาภาษาแอสเซมบลี คือ จะแตกต่างกัน ไปในแต่ละเครื่องเช่นเดียวกับภาษาเครื่อง ผู้เขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีต้องใช้
  • 19. ภาษาระดับ สูง (High Level Language) ในปีค.ศ. 1960 ได้มีการพัฒนา ภาษาระดับ สูง (High Level Language) ขึ้น ภาษาระดับ สูงจะใช้คำาในภาษาอังกฤษแทนคำาสั่งต่าง ๆ รวม ทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ได้ด้วย ทำาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถใช้เวลามุ่งไป ในการศึกษาถึงทางแก้ปญหาเท่านั้น ไม่ต้องเป็น ั กังวลว่าคอมพิวเตอร์จะทำางานอย่างไรอีกต่อไป ภาษาระดับสูงนี้ถือว่าเป็น ภาษายุคที่สาม (third-generation language) ซึ่งทำาให้เกิด การประมวลผลข้อมูลเพิ่มมากขึ้นอย่างมหาศาล ระหว่างปี ค.ศ. 1960 ถึง ค.ศ. 1970 และมีผู้
  • 20. อย่างไรก็ตาม ภาษาระดับสูงก็ยังคง ต้องการตัวแปลภาษาให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อสัง่ ให้เครื่องทำางานต่อไป ตัวแปลภาษาที่นิยมใช้ งานกันโดยทั่วไปจะเป็นแบบคอมไพเลอร์ ซึ่ง แต่ละภาษาก็มีคอมไพเลอร์ไม่เหมือนกัน รวม ทั้งคอมไพเลอร์แต่ละตัวก็จะต่างกันไปบนเครื่อง แต่ละชนิดด้วย เช่น ถ้าเขียนโปรแกรมภาษา COBOL บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ก็จะต้อง เลือกใช้คอมไพเลอร์ภาษา COBOL ที่ทำางาน บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งการเขียน โปรแกรมภาษาหนึ่งภาษาใดบนเครื่องที่ต่างกัน อาจจะแตกต่างกันได้ เพราะคอมไพเลอร์ที่ใช้
  • 21. ภาษาระดับ สูง มาก (Very high-level Language) เป็นภาษายุคที่ 4 (fourth-generation language) หรือ 4GLs จะเป็นภาษาที่ใช้เขียน โปรแกรมได้สนกว่าภาษาในยุคก่อน ๆ การ ั้ ทำางานบางอย่างสามารถใช้เพียง 5 ถึง 10 บรรทัดเท่านันในขณะที่ถ้าเขียนด้วยภาษา อาจ ้ ต้องใช้ถึง 100 บรรทัด โดยพื้นฐานแล้ว ภาษา ในยุคที่ 4 นี้มีคณสมบัติที่แยกจากภาษาในยุค ุ ก่อน ๆ อย่างชัดเจน กล่าวคือภาษาในยุคก่อน นันใช้หลักการของ การเขียนโปรแกรมแบบโพร ้ ซีเยอร์ (procedurl language) ในขณะที่
  • 22. ผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่กำาหนดว่าต้องการ ให้โปรแกรมทำาอะไรบ้างก็สามารถเขียน โปรแกรมได้ทันที โดยไม่ต้องทราบว่าทำาได้ อย่างไร ทำาให้การเขียนโปรแกรมสามารถทำาได้ ง่ายและรวดเร็ว มีนักเขียนโปรแกรมกล่าวว่า ถ้าใช้ภาษาใน ยุคที่ 4 นี้เขียนโปรแกรมจะทำาให้ได้งานที่เพิ่ม ขึ้นถึงสิบเท่าตัว ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการพิมพ์ รายงานแสดงจำานวนรายการสินค้าที่ขายให้ ลูกค้าแต่ละคนในหนึ่งเดือน โดยให้แสดงยอด รวมของลูกค้าแต่ละคน และให้ขึ้นหน้าใหม่
  • 23. ข้อ ดีข องภาษาในยุค ที่ 4 การเขียนโปรแกรมจะเน้นที่ผลของงานว่า ต้องการอะไร ไม่สนใจว่าจะทำาได้อย่างไร ช่วย พัฒนาเนื้องาน เพราะเขียนและแก้ไขโปรแกรม ได้ง่ายไม่ต้องเสียเวลาอบรมผูเขียนโปรแกรม ้ มากนัก ไม่ว่าผูที่จะมาเขียนโปรแกรมนั้นมีความ ้ รู้ด้านการเขียนโปรแกรมหรือไม่ ผูเขียน ้ โปรแกรมไม่ต้องทราบถึงฮาร์ดแวร์ของเครื่อง และโครงสร้างโปรแกรม
  • 24. ภาษาธรรมชาติ (Nature Language) เป็น ภาษายุคที่ 5 (fifth generation language) หรือ 5GLs ธรรมชาติหมายถึงธรรมชาติของมนุษย์ คือไม่ ต้องสนใจถึงคำาสังหรือลำาดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ่ ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่อง คอมพิวเตอร์เป็นคำาหรือประโยคตามที่ผู้ใช้เข้าใจ ซึ่งจะทำาให้มีรูปแบบของคำาสังหรือประโยคที่แตก ่ ต่างกันออกไปได้มากมาย เพราะผู้ใช้แต่ละคน อาจจะใช้ประโยคต่างกัน ใช้คำาศัพท์ต่างกัน หรือแม้กระทั่งบางคนอาจจะใช้ศัพท์แสลงก็ได้ คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคำาหรือประโยคเหล่า
  • 25. ตัว อย่า งภาษาคอมพิว เตอร์   ปัจจุบันนีมีภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้ ้ มากมายหลายภาษา แต่ละภาษาก็ถูกออกแบบมา ให้ใช้กับงานด้านต่าง ๆ กัน ตัวอย่างเช่น บาง ภาษาก็ออกแบบมาให้ใช้แก้ปัญหาทางธุรกิจ บางภาษาก็ใช้ในการคำานวณที่ซับซ้อน ซึ่งจะ กล่าวโดยสรุปถึงการใช้งานของแต่ละภาษาดังนี้
  • 26. ภาษา BASIC เป็นภาษาที่ใช้ง่าย และติดตั้งอยู่บนเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์สวนมาก ใช้สำาหรับผู้เริ่มต้น ่ ศึกษาการเขียนโปรแกรมและผู้ที่เขียนโปรแกรม เป็นงานอดิเรก นิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมสั้น ๆ ภาษา BASIC รุ่นแรกใช้ interpreter เป็นตัว แปลภาษา ทำาให้เขียนโปรแกรม ทดสอบ และ แก้ไขโปรแกรมได้อย่างง่ายดาย แต่ก็ทำางานได้ ช้า ทำาให้ผที่เขียนโปรแกรมเชี่ยวชาญแล้วไม่ ู้ นิยมใช้งาน แต่ปจจุบนนี้มีภาษา BASIC รุ่นใหม่ ั ั ออกมาซึ่งใช้ conplier เป็นตัวแปลภาษา ทำาให้
  • 27. ภาษา COBOL เป็นภาษาระดับสูงที่ออกแบบมาตั้งแต่ปีค.ศ. 1960 นิยมใช้สำาหรับการแก้ปัญหาทางด้านธุรกิจ เช่น การจัดเก็บ เรียกใช้ และประมวลผลทางด้าน บัญชี ตลอดจนทำางานด้านการควบคุมสินค้า คงคลัง การรับและจ่ายเงิน เป็นต้น
  • 28. คำาสังของภาษา COBOL จะคล้ายกับภาษา ่ อังกฤษทำาให้สามารถอ่านและเขียนโปรแกรมได้ ไม่ยากนัก ในยุคแรก ๆ ภาษา COBOL จะได้รับ ความนิยมบนเครื่องระดับเมนเฟรม แต่ปจจุบนนี้ ั ั จะมีตัวแปลภาษา COBOL ที่ใช้บนเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์ด้วย รวมทั้งมีภาษา COBOL ที่ได้ รับการออกแบบตามแนวทางเชิงวัตถุ (Object Oriented) เรียกว่า Visual COBOLซึ่งช่วยให้ โปรแกรมสามารถทำาได้ง่ายขึ้น และสามารถนำา โปรแกรมที่เขียนไว้มาใช้ในการพัฒนางานอื่น ๆ อีก
  • 29. ภาษา Fortran เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับการพัฒนาโดย บริษัท IBM ตั้งแต่ปีค.ศ. 1957 ย่อมาจากคำาว่า FORmula TRANslator ซึ่งถือว่าเป็นการ กำาเนิดของภาษาระดับสูงภาษาแรก นิยมใช้ สำาหรับงานที่มีการคำานวณมาก ๆ เช่น งานทาง ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น
  • 30. ภาษา Pascal เป็นภาษาระดับสูงที่เอื้ออำานวยให้ผู้เขียน โปรแกรมเขียนโปรแกรมได้อย่างมีโครงสร้าง และเขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าภาษาอื่น นิยม ใช้บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เป็นภาษา สำาหรับการเรียนการสอน และการเขียน โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ภาษาปาสคาลมีตัวแปล ภาษาทั้งที่เป็น interpreter และ Compiler โดยจะมีโปรแกรมเทอร์โบปาสคาล (Turbo Pascal) ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงทั้งในวงการ ศึกษาและธุรกิจ เนื่องจากได้รับการปรับปรุงให้
  • 31. ภาษา C และ C++ ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นโดย ในปีค.ศ. 1972 ที่ห้องปฏิบัติการเบลล์ของบริษัท AT&T เป็น ภาษาที่ใช้เขียนระบบปฏิบติการ UNIX ซึ่งเป็น ั ระบบปฏิบติการที่ได้รับความนิยมคู่กับภาษาซี ั และมีการใช้งานอยู่ในเครื่องทุกระดับ ภาษา เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยม ในหมู่นักเขียนโปรแกรมเป็นอย่างมาก เนื่องจากภาษา จะเป็นภาษาที่รวมเอกข้อดีของ ภาษาระดับสูงในเรื่องของความยืดหยุ่นและ ไวยากรณ์ที่ง่ายต่อการเข้าใจ ซึ่งเป็นภาษาที่ได้ รับความนิยมใช้งานพัฒนาโปรแกรมอย่างมาก
  • 32. กับข้อดีของภาษาแอสเซมบลีในเรื่องของ ประสิทธิภาพและความเร็วในการทำางานทำาให้ โปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษาซีทำางานได้เร็วกว่า โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงอื่น ๆ ใน ขณะที่การพัฒนาและแก้ไขโปรแกรมสามารถ ทำาได้ง่ายเช่นเดียวกันภาษาระดับสูงทั่ว ๆ ไป นอกจากนี้ภาษา C ยังได้มีการพัฒนาก้าวหน้า ขึ้นไปอีก โดยทำาการประยุกต์แนวความคิดของ การโปรแกรมเชิงวัตถุเข้ามาใช้ในภาษา ทำาให้ เกิดเป็นภาษาใหม่คอ C++ (++ ในความหมาย ื ของภาษาซีคือการเพิ่มขึ้นอีกหนึงนันเอง) ซึ่ง ่ ่ เป็นภาษาที่ได้รับความนิยมใช้งานพัฒนา โปรแกรมอย่างมาก
  • 33. ภาษาโปรแกรมเชิง วัต ถุ (Object- Oriented Programming Language) นักเขียนโปรแกรมบางคนคิดว่าการเขียน โปรแกรมขนาดใหญ่นั้น บางครั้งก็เป็นงานที่หนัก และเสียเวลามาก จึงได้พยายามคิดหาวิธีที่จะ ทำาให้การเขียนโปรแกรมนั้นง่ายขึ้น และสามารถ เขียนได้อย่างรวดเร็ว ทำาให้เกิดเทคนิค การ โปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) หรือ OOP เพื่อช่วยลดความยุ่ง ยากของการเขียนโปรแกรม
  • 34. Object-Oriented Programming ต่าง จากการเขียนโปรแกรมโดยทั่ว ๆ ไป โดยการ เขียนโปรแกรมตามปกตินั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะ พิจารณาถึงขั้นตอนการแก้ปัญหาของโปรแกรม เหล่านัน แต่เทคนิคของ OOPจะมองเป็น วัตถุ ้ (object) เช่น กล่องโต้ตอบ (dialog box) หรือไอคอนบนจอภาพ เป็นต้น โดยออบเจ็คใด ออบเจ็คหนึงจะทำางานเฉพาะที่แน่นอน ถ้าผู้ใช้ ่ ต้องการทำางานชนิดนั้นก็สามารถคัดลอกไปใช้ ในโปรแกรมที่ต้องการได้ทันที
  • 35. การเลือ กใช้ภ าษา คอมพิว เตอร์ ในการเลือกใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์นี้ ก็จะมีดารพิจารณาหลายอย่างด้วย กัน ดังที่จะกล่าวดังต่อไปนี้ ในบางครั้งซึ่งในงานที่ไม่ยุ่งยากนักก็อาจใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์พื้นฐานอย่างเช่น ภาษา Basic เพราะเขียนโปรแกรมได้ง่าย รวดเร็ว และก็ยังมีติด ตั้งอยู่บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากอยู่ด้วย         
  • 36. - ภาษาคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้ก็จะถูกจำากัด โดยนักเขียนโปรแกรม เพราะว่าเราควรใช้ภาษา ที่มีผรู้อยู่บาง ู้ ้           - ผูใช้ก็ควรที่จะกำาจัดภาษา ้ คอมพิวเตอร์ที่จะใช้ด้วย  ไม่ควรติดตั้งตัวแปล ภาษาคอมพิวเตอร์    ทุกภาษาบนเครื่อง           -ในการเลือกภาษาในการเขียน โปรแกรม เราก็ควรเลือกโดยการดูจากคุณสมบัติ หรือข้อดีของ ภาษานั้น ๆ เป็นหลักด้วย
  • 37. ลัก ษณะของภาษา html องค์ประกอบของภาษา HTML สามารถแบ่ง ออกเป็น 2 ส่วน คือ   1) ส่วนที่เป็นข้อความทั่วๆไป 2) ส่วนที่เป็นคำาสั่งที่ใช้ในการกำาหนดรูปแบบ ของข้อความที่แสดง ซึ่งเราเรียกคำาสั่งนี้ว่า แท็ก(Tag) โดยแท็กคำาสั่งของ HTML จะอยู่ใน เครื่องหมาย < และ > ซึ่งมีหลักในการเขียน คือ ส่วนเริ่มต้นของแท็ก เรียกว่า “แท็กเปิด” และส่วน จบของแท็ก เรียกว่า “แท็กปิด” โดยส่วนของแท็ก ปิดจะต้องมีเครื่องหมาย Slash (/) ดังนี้ ในกรณี ที่ใช้แท็กซ้อนกันมากกว่า 1 แท็ก เราจะต้องใช้
  • 38. - บางแท็กไม่ต้องมีแท็กปิดก็สามารถใช้งาน ได้ คือ <br> , <hr> - สามารถพิมพ์แท็กเป็นตัวเล็ก หรือตัวใหญ่ ก็ได้ แต่ควรจะเลือกใช้เพียงแบบเดียว - บางแท็กจะมีตัวกำาหนดคุณสมบัติ เรียกว่า แอททริบวท์ (Attribute) และค่าที่ถูกกำาหนด ิ ให้ ใช้แท็ก (Value) โดยจะเขียนไว้หลังแท็ก เช่น <hr width=600 size=5> แท็ก <hr> เป็นการกำาหนดเส้นขั้นทางแนว นอน
  • 39. หลัก การเขีย นภาษา HTML 1. รู้จ ัก กับ ภาษา HTML (HTML Introduction)HTML ย่อมาจาก HyperText Markup Language เป็นหนึ่งในภาษา คอมพิวเตอร์ ที่มีลักษณะเป็นภาษาในเชิงการ บรรยายเอกสารไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia Document DescriptionLanguage) เพื่อเผย แพร่เอกสารในระบบเครือข่าย WWW (World Wide Web) มีโครงสร้างภาษาโดยใช้ตัวกำากับ (Markup Tags)
  • 40. เพื่อทำาหน้าที่ควบคุมการแสดงผลข้อมูล รูปภาพ และวัตถุอื่น ๆผ่านทางโปรแกรมเว็บ บราวเซอร์ ซึ่งในแต่ละ Tag จะมีส่วนขยาย (Attribute) เพื่อควบคุมการแสดงผล ซึ่งเป็น ภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย World Wide Web Consortium (W3C) ซึ่งมีแม่แบบคือภาษา SGML (Standard Generalized Markup Language)การสร้างไฟล์ HTML จะต้องอาศัย โปรแกรมที่มีคุณสมบัติเป็นเท็กซ์เอดิเตอร์ (TextEditor) โดยใช้สำาหรับเขียนคำาสั่งต่าง ๆ ที่ ต้องการแสดงผลทางจอภาพ และเก็บเป็นไฟล์ โดยมี
  • 41. 2. องค์ป ระกอบของ HTML (HTML Elements) เอกสาร HTML ก็คอไฟล์เอกสาร (Text ื File) ที่สร้างขึ้นโดยมีองค์ประกอบของ HTML ซึ่งองค์ประกอบของ HTML ก็คอ Tag ต่าง ๆ ื นันเอง ่ 3. พื้น ฐาน HTML Tags วิธีการที่จะเรียนรู้ภาษา HTML ที่ดีที่สุดก็คือ การลงมือปฏิบติั
  • 42. 4. HTML Character Entities บางกรณีตัวอักษรพิเศษเช่น © หรือ ® ถ้า ต้องการที่จะแสดงผลในเว็บบราวเซอร์ จะต้อง ใช้ Character Entity เพื่อที่จะทำาให้ตัวอักษร พิเศษเหล่านั้นแสดงผลได้ทางเว็บบราวเซอร์   5. HTML Links HTML ใช้ Hyperlink เพื่อทำาการเชือมโยงไป ่ ยังเอกสารอื่น ๆ ที่อยู่ในเว็บ
  • 43. 6. HTML Frames Frames สามารถทำาให้แสดงเว็บเพจได้ มากกว่า 1 หน้าภายในหนึ่งหน้าวินโดวส์ 7. HTML Tables Tables จะถูกกำาหนดโดย Tag <table> Table จะถูกแบ่งออกเป็นแถว (Tag <tr>) ใน แต่ละแถวจะแบ่งเป็นเซลล์ข้อมูล (Data Cells) (Tag <td>) ซึ่งในเซลล์ข้อมูลนั้นสามารถที่จะ เป็นได้ทั้งข้อความ รูปภาพ ฟอร์ม (Form) ตาราง และอื่น ๆ
  • 44. 8. HTML Lists HTML จะประกอบด้วย Ordered Lists และ Unordered Lists 9. HTML Images HTML สามารถที่จะแสดงรูปภาพในเอกสาร HTML 10. HTML Backgrounds HTML สามารถที่จะแสดงพื้นหลัง (Background) เป็นสี และก็สามารถแสดงเป็น
  • 45. จัดทำาโดย น.ส. สุว ภัท ร ร่ม สายหยุด เลขที่ 29 น.ส. อรฤทัย อิน ทนิล เลขที่ 33 น.ส. เมทิน ี เผ่า กาญจนา เลขที่ 34 น.ส. ช่อ ผกา อ่อ นเบา เลขที่ 35 น.ส. ผาณิต รี ถาวรพานิช เลขที่ 36 น.ส. พิม พ์ฤ ดี เพิ่ม ทอง เลขที่ 37 น.ส. อัญ ชลี จำา เริญ รัก ษา เลขที่ 38 ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 5/1 ้