SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
การสร้างงานโปรแกรมด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์
สมาชิก
1.นายพงศธร พุกคุ่ย เลขที่6
2.นายชัยธวัช รักษากุล เลขที่8
3.นางสาวคันธรส ใคร่ในธรรม เลขที่21
4.นางสาว รวิสรา คชายุทธ เลขที่23
5.นางสาว ธิดาพร แก้วตา เลขที่ 30
6.นางสาว กานติรัตน์ มนูเดชาวัชร เลขที่ 35
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ในหัวข้อเรื่องการเขียนโปรแกรมจะกล่าวถึงเนื้อหา 2 ส่วน คือความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และภาษาคอมพิวเตอร์ดังมี
รายละเอียดต่อไปนี้
1 ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (computer program) หมายถึง ชุดของคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ ส่วน
การเขียนโปรแกรม (programming) หมายถึง การเขียนชุดคาสั่งด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางาน
ตามโปรแกรมที่เราเขียนขึ้น
ดังนั้น ผู้เขียนโปรแกรม (programmer) จึงจาเป็นต้องเรียนรู้ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งหรือหลายภาษา แล้วฝึกฝนทักษะ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ที่ต้องการใช้งานให้เกิดความชานาญจึงจะสามารถเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2 ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ (computer language) หมายถึง ภาษาที่สามารถนามาใช้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งแต่ละภาษามี
รายละเอียดดังต่อไปนี้
1) ภาษาเครื่อง (machine language)
ภาษาเครื่องจัดเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาเดียวที่สามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง เพราะว่าการเขียนคาสั่งและ
ข้อมูลในภาษาเครื่องใช้ระบบเลขฐานสอง (binary number system) คือใช้ตัวเลข 0 และ 1 เท่านั้น ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์
สามารถทางานได้รวดเร็ว ส่วนข้อเสียของภาษาเครื่อง คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันมีลักษณะการเขียนภาษาเครื่องที่
แตกต่างกันไป และเกิดความยุ่งยากในการปรับปรุงแก้ไข ทาให้เกิดความไม่สะดวกในการใช้งาน ดังนั้นภาษานี้จึงไม่เหมาะ
กับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรม
2) ภาษาแอสเซมบลี (assembly language)
ภาษาแอสเซมบลีหรือจะเรียกชื่ออีกอย่างว่าภาษาระดับต่า ซึ่งเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรม
สามารถเขียนโปรแกรมติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ง่ายกว่าภาษาเครื่อง ส่วนการเขียนคาสั่งในภาษาแอสเซมบลีจะใช้คาย่อ
ของภาษาอังกฤษและอ้างถึงตาแหน่งที่อยู่ภายในคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ MOVE,DC,DS, CL10 เป็นต้น ผู้ที่ต้อง
ใช้ภาษาแอสเซมบลีส่วนมากจะเป็นวิศวกรคอมพิวเตอร์ ดังนั้นภาษาแอสเซมบลีจึงไม่เหมาะกับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรม
3) ภาษาระดับสูง (high level language)
ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจได้ง่ายกว่าภาษาแอสเซมบลีและภาษาเครื่อง ทั้งนี้ก็เพราะการเขียน
คาสั่งของภาษาระดับสูงมีลักษณะเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งอ่านแล้วเข้าใจได้ง่ายกว่าภาษาแอสเซมบลี เช่น ใช้คาว่า READ,
WRITE,PRINT,COMPUTE เป็นต้น ตัวอย่างของภาษา
4) ภาษาระดับสูงมาก (very high level language)
ภาษาระดับสูงมาก บางครั้งเรียกว่า Fourth Gerneration Languages(4GLs) เป็นภาษาที่มีลักษณะสาคัญ คือ ผู้เขียนโปรแกรมไม่
ต้องบอกวิธีการทางานโดยละเอียด เพียงแต่ระบุคาสั่งให้ทางานสั้น ๆ ให้ภาษาระดับสูงมากเข้าใจก็เพียงพอ ส่วนวิธีการคานวณ
หรือการทางานภาษาระดับสูงมากจะเป็นผู้จัดการเองทั้งสิ้น บางครั้งเรียกว่า non-procedurelanguage
ตัวอย่างภาษาระดับสูงมาก ได้แก่ ภาษา SQL (Structured Query Langauge) ซึ่งนิยมใช้กันในซอร์ฟแวร์พัฒนาระบบจัดการ
ฐานข้อมูล เช่น ORACLE เป็นต้น
5) ภาษาระดับธรรมชาติ (natural language)
ภาษาธรรมชาติจะเกี่ยวข้องกับระบบฐานความรู้ (knowledge based system ) และกฎอ้างอิง (inferencerules) เพียงแต่ผู้ใช้
ภาษาธรรมชาติป้อนคาถามผ่านเข้าไปในคอมพิวเตอร์ที่มีภาษาธรรมชาติก็จะทาการวิเคราะห์คาถามแล้วไปค้นหาคาตอบจากระบบ
ฐานความรู้ที่เก็บไว้
ตัวอย่างของภาษาธรรมชาติ ได้แก่ ภาษา PROLOG และภาษา LISP (List Processing Language)
ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
ความสําคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษากาหนดรหัสคาสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์
พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คาสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มี
อีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพคาสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งที่มีประสิทธิภาพ
ควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กาหนดจุดประสงค์ไว้
1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นคาสั่ง ควบคุมการทางาน มีพัฒนาการ
ของการสร้างรหัสคาสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน
2. ภาษาระดับสูง ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึงปัจจุบัน เพราะเป็นภาษาที่มี รูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งสั้น สื่อความหมายตรงกับการ
ทางาน ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้เพื่อเขียน ชุดรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน ใช้หน่วยความจาระบบน้อย จึงเหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะการสร้างงาน โปรแกรมประยุกต์งาน
คานวณในสาขางานต่าง ๆ เช่น ระบบงานคานวณทางวิศวกรรมโยธา ระบบงาน คานวณทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมใช้งาน มีดังนี้
1) ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’sAll-purposeSymbolic InstructionCode) เป็นภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการของสถาบันการศึกษา เพื่อฝึก
ทักษะการ เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ รูปแบบที่ใช้งานสั้น มีจานวนคาสั่งไม่มาก กฎเกณฑ์การใช้คาสั่ง
น้อย ใช้ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้สั้น เหมาะสมที่จะใช่ในการเรียนการสอน เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสควบคุมการ ทางานระบบ ข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งงานมีน้อย
เป็นภาษาที่ไม่มีรูปแบบโครงสร้าง จึงไม่เหมาะสมในการนาไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานในองค์กร
2) ภาษาโคบอล (COBOL: Common BusinessOriented Language) เป็นภาษาในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของภาษา
ได้รับการออกแบบรหัสคาสั่งเพื่อ ควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท เมนเฟรม และมินิ ต่อมาจึงปรับรูปแบบคาสั่งให้ใช้กับ
ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ข้อดี คือ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคาสั่ง
ควบคุมคอมพิวเตอร์ขนาดให้ญืในการทางานจริง ข้อจากัด คือ โครงสร้างภาษามีส่วนประกอบของบรรทัดคาสั่งงานมาก รูปแบบรหัส คาสั่งมี
ความยาว จดจาคาสั่งได้ยาก ไม่เหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะสร้างงานโปรแกรม
3) ภาษาปาสคาล (PASCAL)เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับการออกแบบ มาเพื่อใช้เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน
ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ แต่ละส่วนของโครงสร้างกาหนดหน้าที่การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมงาน ชัดเจน คาสั่งสั้น สื่อความหมายดี จึง
จดจาได้งาย ประสิทธิภาพคาสั่งงานมีเลือกใช้งานหลากหลาย รูปแบบ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ เหมาะสมกับการนาไปใช้ในหลักสูตรการ
เรียนการสอน ข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งไม่สามารถใช้ควบคุมการทางานในลักษณะ ระบบงานแบบฐานข้อมูล หรือแบบเครือขาย
ได้ แต่อาจใช้พื้นฐานความรู้สาหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษา เดลไฟ (DELPHI)ที่คาสั่งงานคลายภาษาปาสค่าล
4) ภาษาซี เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คาสั่งมีประสิทธิภาพการคานวณที่ รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบรวมกับภาษาแอส
แซมบลีได้ ใช้ควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์
ข้อดี คือ ภาษาได้รับการพัฒนามาอย่างตอเนื่อง การออกแบบรหัสคาสั่งมีมาตรฐาน รวมกัน ถึงแม้จะเป็นภาษาซีตางบริษัทก็ใช้งานส่วนคาสั่ง
พื้นฐานรวมกันได้ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ จึงเหมาะสมสาหรับนาไปใช้ในหลักสูตรการเรียนการสอน และนาไปใช้สร้างงานโปรแกรม
ระบบขนาด ใหญ่ได้ ข้อจากัด คือ อยู่ในส่วนของรุนภาษาซีมากกว่า เช่น เทอรโบซีจะไม่สามารถนาไป สร้างระบบงานฐานข้อมูลได้ แต่หาก
ต้องการนาไปสร้างงานโปรแกรมแบบฐานข้อมูล ต้องใช้วิชวล ซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็นต้น
3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (TranslatorProgram) การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตาม ที่มิใช้
ภาษาเครื่อง ระบบไม่สามารถประมวลผลได้ทันที เพราะการทางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 ดังนั้นผู้สร้าง
ภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสาหรับแปลรหัสคาสั่งให้เป็นรหัส เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์มีการ
ทางาน 3 ลักษณะ คือ
1.)โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งเฉพาะภาษา แอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง
2.) โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปลคาสั่งทั้ง โครงสร้างโปรแกรม แล้วจึงแจงข้อผิดพลาด
ทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้นต้องประมวลผลให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้มโปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่องภายหลังเมื่อ
เรียกใช้โปรแกรมนี้เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้างไว้นั้น จึงไม่ต้องเริ่มแปลรหัสให้ ข้อดี คือ ทางานได้รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปล
รหัสให้ทุกครั้ง ข้อจากัด คือ ต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ จึง จะสามารถคอมไพลปละประมวลผล
เพื่อแสดงผลได้
3.) โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล คือ แปลรหัสทีละคาสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทางาน
แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อแก้ไข จากนั้นประมวลผลให้ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้างแฟ้มโปรแกรมให้เพื่อเก็บรหัส
คาสั่ง คือ สั่งให้ประมวลผลรหัสคาสั่งเพื่อดูผลการทางานได้ทันทีที่ต้องการ โดยไม่ ข้อดี ต้องเขียนโปรแกรมถึงบรรทัดสุดทาย ข้อจากัด คือ
หากโปรแกรมมีบรรทัดคาสั่งจานวนมากจะประมวลผลชา เพราะต้องเริ่ม แปลรหัสคาสั่งให้ที่บรรทัดคาสั่งแรกทุกครั้งที่สั่งให้ประมวลผล
4.) การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มีข้อแนะนาในการนาไปใช้เป็นแนวทางพิจารณา
เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้
1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคาสั่งงานของแต่ละภาษา เปรียบเทียบกับลักษณะงาน เช่น สร้างโปรแกรมระบบงาน
คานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจเลือกใช้ภาษาซี ภาษา ปาสคาล
2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบนเครือข่ายอาจ เลือกใช้ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของ
โปรแกรมที่มีคาสั่งควบคุมการทางานได้
3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์และรุนของระบบปฏิบัติการที่ใช้ควบคุม เพื่อเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งาน
รวมกันกับระบบได้
4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชานาญอยู่แล้ว เพื่อไม่ต้อง เสียเวลาเริ่มต้นศึกษาเรียนรู้ภาษาให้
หรือหากเป็นภาษาให้ ควรเป็นภาษาที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม
5. ควรเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง มีความยืดหยุ่นสูง เอื้ออานวยความสะดวกใน การปรับปรุงพัฒนาระบบงานใน
อนาคต
6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่องการเข้าถึงข้อมูล ต้องคัดเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพเรื่องนี้ด้วย
7. พิจารณางบประมาณ ใช้จัดหาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องมาใช้งาน เพื่อป้องกัน ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งจะไม่ก่อปัญหาเมื่อขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม มากขึ้นในอนาคต
8. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทั่วไปเพื่อศึกษารวบรวมข้อมูล และ ป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต
และมีความเชื่อมั่นว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญให้ คาปรึกษาหากเกิดปัญหาขึ้น
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ
สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผน
ลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการ
ของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้
1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึง
ที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมี
ขั้นตอนย่อยดังนี้
1.) สิ่งที่ต้องการ
2.) สมการคานวณ
3.) ข้อมูล นาเข้า
4.) การแสดงผล
5.) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร
6.) ลาดับขั้นตอนการทางาน
2. ขั้นวางแผนลําดับการทํางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน
กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด
สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
3. ขั้นดําเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการ
วางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้
กาหนดไว้
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ
ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ระบบงาน
มิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงาน
เป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบ
ระบบงาน
5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการใช้
โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวมเอกสารที่จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับ
วิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน
การลําดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทํางานของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลําดับ การควบคุมการทํางาน โดยใช้สัญลักษณที่
กําหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทํางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลําดับขั้นตอนการทํางานด้วยผังงานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้
1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลาดับการทางาน
ได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้
1.) ทิศทางการทางานต้องเรียงลาดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
2.) ใช้ชื่อหนวยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
3.) ลูกศรกากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น
4.) เส้นทางการทางานหามมีจุดตัดการทางาน
5.) ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทางานใด ๆ
6.) ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน
7.) หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้
1.) ทาให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก
2.) การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนาไปเขียนคาสั่งได้ทุกภาษา
3. ) สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว
4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานของระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น เรื่อง
การออกแบบระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้
1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ โดยไม่มีทางแยกการ ทางานแต่อย่างใด เช่น
2.) การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน แสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบ
สรุปว่าจริงหรือเท็จเพื่อเลือกทิศทางประมวลผลคาสั่งที่ได้ กาหนดไว้เช่น รวบรวมโดยนางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตาแหน่ง
ผู้ชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล
3.) การเขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบ
ตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ้าหรือออกจากการวน ซ้าเช่น
4.) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ ทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนด
เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซ้าหรือออกจากการวนซ้า
กรณีศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน
การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทานั้น สิ่งที่สาคัญที่สุดในการแก้ปัญหา จะต้องดาเนินการตามขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลาดับ
ขั้นตอนการทางานว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนเป็นลาดับถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดท้าย
การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทาเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด โดยจะต้องกาหนดขอบเขตของงานหรือ
ปัญหา รวบรวมรายละเอียดของปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะ
ป้อนเข้าเครื่องเป็นอย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนาเข้า (Input) วิธีการประมวลผล (Process) และการ
กาหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม
หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสาคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานตามลาดับดังนี้
สิ่งที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางานงานแต่ละชนิดอาจต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และ
ควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการอาจจะดูที่คาสั่งหรือโจทย์ของงานนั้นๆว่าต้องการให้ทาอะไรบ้าง
ข้อมูลนาเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทาต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้ลักษณะของรายงานแน่นอนแล้ว เราก็มา
พิจารณาข้อมูลนาเข้านั้นจะต้องดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขั้นตอนในการประมวลผลด้วย
ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกาหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการอ้างถึงข้อมูล และการเขียน
โปรแกรม การตั้งชื่อตัวแปรควรจะตั้งให้มีความหมายและเกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้ากับหลักเกณฑ์ของ
ภาษาคอมพิวเตอร์นั้นๆ
วิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนของวิธีการ หรือการคานวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การสั่งให้เครื่องรับข้อมูลเข้าไป
ทาการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องการทางานทุกอย่างตามลาดับ จึงจาเป็นจะต้องจัดลาดับ
การทางานตามลาดับก่อนหลังให้ละเอียดและถูกต้องทุกขั้นตอน
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว
1.สิ่งที่ต้องการ :
หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว
2.รูปแบบผลลัพธ์ :
The area is xxxx
3.ข้อมูลนาเข้า :
ความกว้าง และ ความยาว
4.ตัวแปร :
L = ความยาว
W = ความกว้าง
Area = พื้นที่
5.วิธีประมวลผล :
1) รับข้อมูล L
2) รับข้อมูล W
3) ประมวลผล(คานวณหาพื้นที่) Area = L*W
4) แสดงผล “The area is xxxx”
5) จบการทางาน
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
ข้อสอบ o-net ปี 54 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบ o-net ปี 54 วิชาภาษาไทยข้อสอบ o-net ปี 54 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบ o-net ปี 54 วิชาภาษาไทยminorrr
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทVisanu Khumoun
 
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการPuzzle Chalermwan
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์พัน พัน
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantNattawut Kathaisong
 
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องแบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องkhruphuthons
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
ข้อสอบ o-net ปี 54 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบ o-net ปี 54 วิชาภาษาไทยข้อสอบ o-net ปี 54 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบ o-net ปี 54 วิชาภาษาไทย
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
สมดุลกล3
สมดุลกล3สมดุลกล3
สมดุลกล3
 
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
 
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
พงษ์ศักดิ์  หนูนาคพงษ์ศักดิ์  หนูนาค
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
 
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องแบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 

Similar to การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์benz18
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 

Similar to การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค (20)

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
mindmap
mindmapmindmap
mindmap
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
Intro program php
Intro program phpIntro program php
Intro program php
 

More from Thidaporn Kaewta

บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องThidaporn Kaewta
 
ขยะท่วมโลก บทที่-2
ขยะท่วมโลก บทที่-2ขยะท่วมโลก บทที่-2
ขยะท่วมโลก บทที่-2Thidaporn Kaewta
 
ขยะท่วมโลก บทที่ 2
ขยะท่วมโลก บทที่ 2ขยะท่วมโลก บทที่ 2
ขยะท่วมโลก บทที่ 2Thidaporn Kaewta
 
ขยะท่วมโลก55
ขยะท่วมโลก55ขยะท่วมโลก55
ขยะท่วมโลก55Thidaporn Kaewta
 
บทที่ 2 ขยะท้วมโลก
บทที่ 2 ขยะท้วมโลกบทที่ 2 ขยะท้วมโลก
บทที่ 2 ขยะท้วมโลกThidaporn Kaewta
 
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5Thidaporn Kaewta
 

More from Thidaporn Kaewta (8)

บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ขยะท่วมโลก บทที่-2
ขยะท่วมโลก บทที่-2ขยะท่วมโลก บทที่-2
ขยะท่วมโลก บทที่-2
 
ขยะท่วมโลก บทที่ 2
ขยะท่วมโลก บทที่ 2ขยะท่วมโลก บทที่ 2
ขยะท่วมโลก บทที่ 2
 
ขยะท่วมโลก55
ขยะท่วมโลก55ขยะท่วมโลก55
ขยะท่วมโลก55
 
บทที่ 2 ขยะท้วมโลก
บทที่ 2 ขยะท้วมโลกบทที่ 2 ขยะท้วมโลก
บทที่ 2 ขยะท้วมโลก
 
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
 
ข่าว It
ข่าว Itข่าว It
ข่าว It
 

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค

  • 2. สมาชิก 1.นายพงศธร พุกคุ่ย เลขที่6 2.นายชัยธวัช รักษากุล เลขที่8 3.นางสาวคันธรส ใคร่ในธรรม เลขที่21 4.นางสาว รวิสรา คชายุทธ เลขที่23 5.นางสาว ธิดาพร แก้วตา เลขที่ 30 6.นางสาว กานติรัตน์ มนูเดชาวัชร เลขที่ 35
  • 3. การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ในหัวข้อเรื่องการเขียนโปรแกรมจะกล่าวถึงเนื้อหา 2 ส่วน คือความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และภาษาคอมพิวเตอร์ดังมี รายละเอียดต่อไปนี้ 1 ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (computer program) หมายถึง ชุดของคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ ส่วน การเขียนโปรแกรม (programming) หมายถึง การเขียนชุดคาสั่งด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางาน ตามโปรแกรมที่เราเขียนขึ้น ดังนั้น ผู้เขียนโปรแกรม (programmer) จึงจาเป็นต้องเรียนรู้ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งหรือหลายภาษา แล้วฝึกฝนทักษะ การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ที่ต้องการใช้งานให้เกิดความชานาญจึงจะสามารถเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
  • 4. 2 ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (computer language) หมายถึง ภาษาที่สามารถนามาใช้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งแต่ละภาษามี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) ภาษาเครื่อง (machine language) ภาษาเครื่องจัดเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาเดียวที่สามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง เพราะว่าการเขียนคาสั่งและ ข้อมูลในภาษาเครื่องใช้ระบบเลขฐานสอง (binary number system) คือใช้ตัวเลข 0 และ 1 เท่านั้น ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถทางานได้รวดเร็ว ส่วนข้อเสียของภาษาเครื่อง คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันมีลักษณะการเขียนภาษาเครื่องที่ แตกต่างกันไป และเกิดความยุ่งยากในการปรับปรุงแก้ไข ทาให้เกิดความไม่สะดวกในการใช้งาน ดังนั้นภาษานี้จึงไม่เหมาะ กับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรม 2) ภาษาแอสเซมบลี (assembly language) ภาษาแอสเซมบลีหรือจะเรียกชื่ออีกอย่างว่าภาษาระดับต่า ซึ่งเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรม สามารถเขียนโปรแกรมติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ง่ายกว่าภาษาเครื่อง ส่วนการเขียนคาสั่งในภาษาแอสเซมบลีจะใช้คาย่อ ของภาษาอังกฤษและอ้างถึงตาแหน่งที่อยู่ภายในคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ MOVE,DC,DS, CL10 เป็นต้น ผู้ที่ต้อง ใช้ภาษาแอสเซมบลีส่วนมากจะเป็นวิศวกรคอมพิวเตอร์ ดังนั้นภาษาแอสเซมบลีจึงไม่เหมาะกับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรม 3) ภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจได้ง่ายกว่าภาษาแอสเซมบลีและภาษาเครื่อง ทั้งนี้ก็เพราะการเขียน คาสั่งของภาษาระดับสูงมีลักษณะเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งอ่านแล้วเข้าใจได้ง่ายกว่าภาษาแอสเซมบลี เช่น ใช้คาว่า READ, WRITE,PRINT,COMPUTE เป็นต้น ตัวอย่างของภาษา
  • 5. 4) ภาษาระดับสูงมาก (very high level language) ภาษาระดับสูงมาก บางครั้งเรียกว่า Fourth Gerneration Languages(4GLs) เป็นภาษาที่มีลักษณะสาคัญ คือ ผู้เขียนโปรแกรมไม่ ต้องบอกวิธีการทางานโดยละเอียด เพียงแต่ระบุคาสั่งให้ทางานสั้น ๆ ให้ภาษาระดับสูงมากเข้าใจก็เพียงพอ ส่วนวิธีการคานวณ หรือการทางานภาษาระดับสูงมากจะเป็นผู้จัดการเองทั้งสิ้น บางครั้งเรียกว่า non-procedurelanguage ตัวอย่างภาษาระดับสูงมาก ได้แก่ ภาษา SQL (Structured Query Langauge) ซึ่งนิยมใช้กันในซอร์ฟแวร์พัฒนาระบบจัดการ ฐานข้อมูล เช่น ORACLE เป็นต้น 5) ภาษาระดับธรรมชาติ (natural language) ภาษาธรรมชาติจะเกี่ยวข้องกับระบบฐานความรู้ (knowledge based system ) และกฎอ้างอิง (inferencerules) เพียงแต่ผู้ใช้ ภาษาธรรมชาติป้อนคาถามผ่านเข้าไปในคอมพิวเตอร์ที่มีภาษาธรรมชาติก็จะทาการวิเคราะห์คาถามแล้วไปค้นหาคาตอบจากระบบ ฐานความรู้ที่เก็บไว้ ตัวอย่างของภาษาธรรมชาติ ได้แก่ ภาษา PROLOG และภาษา LISP (List Processing Language)
  • 6. ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ความสําคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษากาหนดรหัสคาสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คาสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มี อีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพคาสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งที่มีประสิทธิภาพ ควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กาหนดจุดประสงค์ไว้ 1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นคาสั่ง ควบคุมการทางาน มีพัฒนาการ ของการสร้างรหัสคาสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน 2. ภาษาระดับสูง ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึงปัจจุบัน เพราะเป็นภาษาที่มี รูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งสั้น สื่อความหมายตรงกับการ ทางาน ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้เพื่อเขียน ชุดรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน ใช้หน่วยความจาระบบน้อย จึงเหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะการสร้างงาน โปรแกรมประยุกต์งาน คานวณในสาขางานต่าง ๆ เช่น ระบบงานคานวณทางวิศวกรรมโยธา ระบบงาน คานวณทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมใช้งาน มีดังนี้ 1) ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’sAll-purposeSymbolic InstructionCode) เป็นภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการของสถาบันการศึกษา เพื่อฝึก ทักษะการ เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ รูปแบบที่ใช้งานสั้น มีจานวนคาสั่งไม่มาก กฎเกณฑ์การใช้คาสั่ง น้อย ใช้ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้สั้น เหมาะสมที่จะใช่ในการเรียนการสอน เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสควบคุมการ ทางานระบบ ข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งงานมีน้อย เป็นภาษาที่ไม่มีรูปแบบโครงสร้าง จึงไม่เหมาะสมในการนาไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานในองค์กร
  • 7. 2) ภาษาโคบอล (COBOL: Common BusinessOriented Language) เป็นภาษาในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของภาษา ได้รับการออกแบบรหัสคาสั่งเพื่อ ควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท เมนเฟรม และมินิ ต่อมาจึงปรับรูปแบบคาสั่งให้ใช้กับ ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ข้อดี คือ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคาสั่ง ควบคุมคอมพิวเตอร์ขนาดให้ญืในการทางานจริง ข้อจากัด คือ โครงสร้างภาษามีส่วนประกอบของบรรทัดคาสั่งงานมาก รูปแบบรหัส คาสั่งมี ความยาว จดจาคาสั่งได้ยาก ไม่เหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะสร้างงานโปรแกรม 3) ภาษาปาสคาล (PASCAL)เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับการออกแบบ มาเพื่อใช้เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ แต่ละส่วนของโครงสร้างกาหนดหน้าที่การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมงาน ชัดเจน คาสั่งสั้น สื่อความหมายดี จึง จดจาได้งาย ประสิทธิภาพคาสั่งงานมีเลือกใช้งานหลากหลาย รูปแบบ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ เหมาะสมกับการนาไปใช้ในหลักสูตรการ เรียนการสอน ข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งไม่สามารถใช้ควบคุมการทางานในลักษณะ ระบบงานแบบฐานข้อมูล หรือแบบเครือขาย ได้ แต่อาจใช้พื้นฐานความรู้สาหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษา เดลไฟ (DELPHI)ที่คาสั่งงานคลายภาษาปาสค่าล 4) ภาษาซี เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คาสั่งมีประสิทธิภาพการคานวณที่ รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบรวมกับภาษาแอส แซมบลีได้ ใช้ควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ ภาษาได้รับการพัฒนามาอย่างตอเนื่อง การออกแบบรหัสคาสั่งมีมาตรฐาน รวมกัน ถึงแม้จะเป็นภาษาซีตางบริษัทก็ใช้งานส่วนคาสั่ง พื้นฐานรวมกันได้ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ จึงเหมาะสมสาหรับนาไปใช้ในหลักสูตรการเรียนการสอน และนาไปใช้สร้างงานโปรแกรม ระบบขนาด ใหญ่ได้ ข้อจากัด คือ อยู่ในส่วนของรุนภาษาซีมากกว่า เช่น เทอรโบซีจะไม่สามารถนาไป สร้างระบบงานฐานข้อมูลได้ แต่หาก ต้องการนาไปสร้างงานโปรแกรมแบบฐานข้อมูล ต้องใช้วิชวล ซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็นต้น
  • 8. 3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (TranslatorProgram) การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตาม ที่มิใช้ ภาษาเครื่อง ระบบไม่สามารถประมวลผลได้ทันที เพราะการทางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 ดังนั้นผู้สร้าง ภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสาหรับแปลรหัสคาสั่งให้เป็นรหัส เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์มีการ ทางาน 3 ลักษณะ คือ 1.)โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งเฉพาะภาษา แอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง 2.) โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปลคาสั่งทั้ง โครงสร้างโปรแกรม แล้วจึงแจงข้อผิดพลาด ทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้นต้องประมวลผลให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้มโปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่องภายหลังเมื่อ เรียกใช้โปรแกรมนี้เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้างไว้นั้น จึงไม่ต้องเริ่มแปลรหัสให้ ข้อดี คือ ทางานได้รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปล รหัสให้ทุกครั้ง ข้อจากัด คือ ต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ จึง จะสามารถคอมไพลปละประมวลผล เพื่อแสดงผลได้ 3.) โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล คือ แปลรหัสทีละคาสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทางาน แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อแก้ไข จากนั้นประมวลผลให้ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้างแฟ้มโปรแกรมให้เพื่อเก็บรหัส คาสั่ง คือ สั่งให้ประมวลผลรหัสคาสั่งเพื่อดูผลการทางานได้ทันทีที่ต้องการ โดยไม่ ข้อดี ต้องเขียนโปรแกรมถึงบรรทัดสุดทาย ข้อจากัด คือ หากโปรแกรมมีบรรทัดคาสั่งจานวนมากจะประมวลผลชา เพราะต้องเริ่ม แปลรหัสคาสั่งให้ที่บรรทัดคาสั่งแรกทุกครั้งที่สั่งให้ประมวลผล
  • 9. 4.) การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มีข้อแนะนาในการนาไปใช้เป็นแนวทางพิจารณา เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคาสั่งงานของแต่ละภาษา เปรียบเทียบกับลักษณะงาน เช่น สร้างโปรแกรมระบบงาน คานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจเลือกใช้ภาษาซี ภาษา ปาสคาล 2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบนเครือข่ายอาจ เลือกใช้ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของ โปรแกรมที่มีคาสั่งควบคุมการทางานได้ 3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์และรุนของระบบปฏิบัติการที่ใช้ควบคุม เพื่อเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งาน รวมกันกับระบบได้ 4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชานาญอยู่แล้ว เพื่อไม่ต้อง เสียเวลาเริ่มต้นศึกษาเรียนรู้ภาษาให้ หรือหากเป็นภาษาให้ ควรเป็นภาษาที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม 5. ควรเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง มีความยืดหยุ่นสูง เอื้ออานวยความสะดวกใน การปรับปรุงพัฒนาระบบงานใน อนาคต 6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่องการเข้าถึงข้อมูล ต้องคัดเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพเรื่องนี้ด้วย 7. พิจารณางบประมาณ ใช้จัดหาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องมาใช้งาน เพื่อป้องกัน ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งจะไม่ก่อปัญหาเมื่อขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม มากขึ้นในอนาคต 8. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทั่วไปเพื่อศึกษารวบรวมข้อมูล และ ป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และมีความเชื่อมั่นว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญให้ คาปรึกษาหากเกิดปัญหาขึ้น
  • 10. แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผน ลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการ ของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้ 1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึง ที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมี ขั้นตอนย่อยดังนี้ 1.) สิ่งที่ต้องการ 2.) สมการคานวณ 3.) ข้อมูล นาเข้า 4.) การแสดงผล 5.) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร 6.) ลาดับขั้นตอนการทางาน
  • 11. 2. ขั้นวางแผนลําดับการทํางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้ 3. ขั้นดําเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการ วางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้ กาหนดไว้ 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ระบบงาน มิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงาน เป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบ ระบบงาน 5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวมเอกสารที่จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับ วิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
  • 12. การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน การลําดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทํางานของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลําดับ การควบคุมการทํางาน โดยใช้สัญลักษณที่ กําหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทํางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลําดับขั้นตอนการทํางานด้วยผังงานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้ 1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
  • 13. 2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลาดับการทางาน ได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1.) ทิศทางการทางานต้องเรียงลาดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 2.) ใช้ชื่อหนวยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 3.) ลูกศรกากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น 4.) เส้นทางการทางานหามมีจุดตัดการทางาน 5.) ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทางานใด ๆ 6.) ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน 7.) หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
  • 14. 3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้ 1.) ทาให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก 2.) การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนาไปเขียนคาสั่งได้ทุกภาษา 3. ) สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว 4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานของระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น เรื่อง การออกแบบระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้ 1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ โดยไม่มีทางแยกการ ทางานแต่อย่างใด เช่น 2.) การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน แสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบ สรุปว่าจริงหรือเท็จเพื่อเลือกทิศทางประมวลผลคาสั่งที่ได้ กาหนดไว้เช่น รวบรวมโดยนางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตาแหน่ง ผู้ชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล 3.) การเขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบ ตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ้าหรือออกจากการวน ซ้าเช่น 4.) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ ทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซ้าหรือออกจากการวนซ้า
  • 15. กรณีศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทานั้น สิ่งที่สาคัญที่สุดในการแก้ปัญหา จะต้องดาเนินการตามขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลาดับ ขั้นตอนการทางานว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนเป็นลาดับถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดท้าย การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทาเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด โดยจะต้องกาหนดขอบเขตของงานหรือ ปัญหา รวบรวมรายละเอียดของปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะ ป้อนเข้าเครื่องเป็นอย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนาเข้า (Input) วิธีการประมวลผล (Process) และการ กาหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสาคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานตามลาดับดังนี้ สิ่งที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางานงานแต่ละชนิดอาจต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และ ควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการอาจจะดูที่คาสั่งหรือโจทย์ของงานนั้นๆว่าต้องการให้ทาอะไรบ้าง
  • 16. ข้อมูลนาเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทาต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้ลักษณะของรายงานแน่นอนแล้ว เราก็มา พิจารณาข้อมูลนาเข้านั้นจะต้องดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขั้นตอนในการประมวลผลด้วย ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกาหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการอ้างถึงข้อมูล และการเขียน โปรแกรม การตั้งชื่อตัวแปรควรจะตั้งให้มีความหมายและเกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้ากับหลักเกณฑ์ของ ภาษาคอมพิวเตอร์นั้นๆ วิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนของวิธีการ หรือการคานวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การสั่งให้เครื่องรับข้อมูลเข้าไป ทาการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องการทางานทุกอย่างตามลาดับ จึงจาเป็นจะต้องจัดลาดับ การทางานตามลาดับก่อนหลังให้ละเอียดและถูกต้องทุกขั้นตอน
  • 17. ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว 1.สิ่งที่ต้องการ : หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว 2.รูปแบบผลลัพธ์ : The area is xxxx 3.ข้อมูลนาเข้า : ความกว้าง และ ความยาว 4.ตัวแปร : L = ความยาว W = ความกว้าง Area = พื้นที่ 5.วิธีประมวลผล : 1) รับข้อมูล L 2) รับข้อมูล W 3) ประมวลผล(คานวณหาพื้นที่) Area = L*W 4) แสดงผล “The area is xxxx” 5) จบการทางาน