SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
Welcome
บทที่ 1 การสร้างโปรแกรมด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์
จุดประสงค์
 อธิบายจุดเด่นประสิทธิภาพการทางานของภาษาคอมพิวเตอร์ที่กาหนดให้ได้
 อธิบายลักษณะการทางานของโปรแกรมประเภทตัวแปลภาษาที่กาหนดให้ได้
 อธิบายขั้นตอนการพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ได้
 อธิบายขั้นตอนการทางานของสัญลักษณ์ผังงานที่กาหนดให้ได้
 วิเคราะห์โจทย์ปัญหาที่กาหนดให้ แล้วเขียนขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นได้
 วิเคราะห์โจทย์ปัญหาที่กาหนดให้ และเขียนลาดับงานด้วยผังงานโปรแกรมได้
 วิเคราะห์ข้อผิดพลาดของผังงานโปรแกรมที่กาหนดให้ แล้วเขียนแก้ไขให้ถูกต้องได้
ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนา
ภาษากาหนดรหัสคาสั่ง ขึ้นมา ใช้คจุดประสงค์ไว้วบคุมการทางาน
อุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจาก
รหัส คาสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความ
ภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลาย
ภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพคาสั่งแตกตางกันไป
ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งที่มี
ประสิทธิภาพควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้าง
โปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กาหนด
1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็น
คาสั่ง ควบคุมการทางาน มีพัฒนาการของการสร้างรหัสคาสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน ดังนี้
ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทางานลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่าด้วย 0 กับ 1
ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบรหัสคาสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) ผู้ที่จะเขียนรหัสคาสั่ง
ควบคุมระบบได้จึงจากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ในห้องปฏิบัติการทดลองดาเนินงาน
ช่วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคาสั่งเป็นชุดเลขฐานสองมีความยุ่งยากในการจาชุดของรหัสคาสั่ง ควบคุมการทางาน จึงมีผู้พัฒนา
รหัสคาสั่งเป็นอักษรภาษาอังกฤษรวมกับเลขฐานอื่น เช่น เลขฐานสิบหก เพื่อให้เขียนคาสั่งควบคุมงานง่ายขึ้น ตั้งชื่อภาษาว่า
แอสแซมบลีหรือภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) พร้อมกันนี้ต้องพัฒนาโปรแกรมแปลภาษาขึ้นมาด้วย
(Translator Program) คือโปรแกรมแอสแซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งกลับมาเป็นเลขฐานสอง เพื่อให้ระบบ
สามารถประมวลผลได้
ช่วงที่ 3 เป็นช่วงที่บริษัทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลายภาษา เน้นให้ใช้งานง่ายขึ้น โดยรหัสคาสั่งเป็น
ข้อความใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม ภาษาระดับสูง (High Level Language) เช่น
ภาษาเบสิก ภาษาปาสค่าล ภาษาซี ในส่วนของ โปรแกรมแปลภาษามี 2 ลักษณะ คือ อินเทอรพรีตเทอร์ และคอมไพเลอร์
ช่วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นาไปใช้ควบคุมการทางานระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานรวมกับเทคโนโลยี
การสื่อสาร ภาษามีรูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งเป็นงานโปรแกรม เชิงวัตถุ (Object – Oriented Programming Language :
OOP) ติดต่อใช้งานกับผู้ใช้โปรแกรมเชิง กราฟฟิก (Graphic User Interface : GUI) ลดขั้นตอนการจดจาเพื่อพิมพ์รหัสคาสั่ง
มาเป็นการคลิก เลือกรายการคาสั่ง และป้อนค่าควบคุม เช่น ภาษาวิชวลเบสิก (Visual BASIC) ภาษาจาว่า (JAVA)
2. ภาษาระดับสูง ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึงปัจจุบัน เพราะเป็นภาษาที่มี รูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งสั้น
สื่อความหมายตรงกับการทางาน ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้เพื่อเขียน ชุดรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน ใช้หน่วยความจาระบบน้อย จึงเหมาะ
กับผู้เริ่มฝึกทักษะการสร้างงาน โปรแกรมประยุกต์งานคานวณในสาขางานต่าง ๆ เช่น ระบบงานคานวณทางวิศวกรรมโยธา ระบบงาน คานวณ
ทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมใช้งาน มีดังนี้
1) ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ใน
ห้องปฏิบัติการของสถาบันการศึกษา เพื่อฝึกทักษะการ เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์
ข้อดี คือ รูปแบบที่ใช้งานสั้น มีจานวนคาสั่งไม่มาก กฎเกณฑ์การใช้คาสั่งน้อย ใช้ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้สั้น เหมาะสมที่จะใช่ในการเรียนการ
สอน เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสควบคุมการ ทางานระบบ ข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งงานมีน้อย เป็นภาษาที่ไม่มีรูปแบบโครงสร้าง
จึงไม่เหมาะสมในการนาไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานในองค์กร
2) ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language) เป็นภาษาในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของ
ภาษาได้รับการออกแบบรหัสคาสั่งเพื่อ ควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท เมนเฟรม และมินิ ต่อมาจึงปรับรูปแบบคาสั่งให้ใช้
กับไมโครคอมพิวเตอร์ได้ข้อดีคือ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคาสั่ง
ควบคุมคอมพิวเตอร์ขนาดให้ญืในการทางานจริง ข้อจากัด คือ โครงสร้างภาษามีส่วนประกอบของบรรทัดคาสั่งงานมาก รูปแบบรหัส คาสั่งมี
ความยาว จดจาคาสั่งได้ยาก ไม่เหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะสร้างงานโปรแกรม
3) ภาษาปาสคาล (PASCAL) เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับการออกแบบ มาเพื่อใช้เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน
ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ แต่ละส่วนของโครงสร้างกาหนดหน้าที่การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมงาน ชัดเจน คาสั่งสั้น สื่อความหมายดี
จึงจดจาได้งาย ประสิทธิภาพคาสั่งงานมีเลือกใช้งานหลากหลาย รูปแบบ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ เหมาะสมกับการนาไปใช้ใน
หลักสูตรการเรียนการสอน ข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งไม่สามารถใช้ควบคุมการทางานในลักษณะ ระบบงานแบบฐานข้อมูล
หรือแบบเครือขายได้ แต่อาจใช้พื้นฐานความรู้สาหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษา เดลไฟ (DELPHI) ที่คาสั่งงานคลายภาษาปาสคาล
4) ภาษาซี เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คาสั่งมีประสิทธิภาพการคานวณที่ รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบรวมกับภาษา
แอสแซมบลีได้ ใช้ควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์
ข้อดี คือ ภาษาได้รับการพัฒนามาอย่างตอเนื่อง การออกแบบรหัสคาสั่งมีมาตรฐาน รวมกัน ถึงแม้จะเป็นภาษาซีตางบริษัทก็ใช้งาน
ส่วนคาสั่งพื้นฐานรวมกันได้ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ จึงเหมาะสมสาหรับนาไปใช้ในหลักสูตรการเรียนการสอน และนาไปใช้สร้าง
งานโปรแกรมระบบขนาด ใหญ่ได้ ข้อจากัด คือ อยู่ในส่วนของรุนภาษาซีมากกว่า เช่น เทอรโบซีจะไม่สามารถนาไป สร้างระบบงาน
ฐานข้อมูลได้ แต่หากต้องการนาไปสร้างงานโปรแกรมแบบฐานข้อมูล ต้องใช้วิชวล ซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็นต้น
5. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program) การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตาม ที่มิใช้ ภาษาเครื่อง ระบบไม่
สามารถประมวลผลได้ทันที เพราะการทางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 ดังนั้นผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสาหรับแปลรหัสคาสั่ง
ให้เป็นรหัส เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์มีการทางาน 3 ลักษณะ คือ
1.)โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งเฉพาะภาษา แอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง
2.) โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปลคาสั่งทั้ง โครงสร้างโปรแกรม แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้น
ต้องประมวลผลให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้มโปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่องภายหลังเมื่อเรียกใช้โปรแกรมนี้ เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่
สร้างไว้นั้น จึงไม่ต้องเริ่มแปลรหัสให้ ข้อดี คือ ทางานได้รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปลรหัสให้ทุกครั้ง ข้อจากัด คือ ต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้าง
ภาษาคอมพิวเตอร์ จึง จะสามารถคอมไพลปละประมวลผลเพื่อแสดงผลได้
3.) โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล คือ แปลรหัสทีละคาสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทางาน แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดให้
ทราบ เพื่อแก้ไข จากนั้นประมวลผลให้ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้างแฟ้มโปรแกรมให้เพื่อเก็บรหัสคาสั่ง คือ สั่งให้ประมวลผลรหัสคาสั่งเพื่อดูผลการ
ทางานได้ทันทีที่ต้องการ โดยไม่ ข้อดี ต้องเขียนโปรแกรมถึงบรรทัดสุดทาย ข้อจากัด คือ หากโปรแกรมมีบรรทัดคาสั่งจานวนมากจะประมวลผลชา เพราะต้องเริ่ม
แปลรหัสคาสั่งให้ที่บรรทัดคาสั่งแรกทุกครั้งที่สั่งให้ประมวลผล
4.) การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มีข้อแนะนาในการนาไปใช้เป็นแนวทาง
พิจารณา เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้
1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคาสั่งงานของแต่ละภาษา เปรียบเทียบกับลักษณะงาน เช่น สร้างโปรแกรมระบบงาน
คานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจเลือกใช้ภาษาซี ภาษา ปาสคาล
2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบนเครือข่ายอาจ เลือกใช้ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของ
โปรแกรมที่มีคาสั่งควบคุมการทางานได้
3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์และรุนของระบบปฏิบัติการที่ใช้ควบคุม เพื่อเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้
งานรวมกันกับระบบได้
4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชานาญอยู่แล้ว เพื่อไม่ต้อง เสียเวลาเริ่มต้นศึกษาเรียนรู้ภาษาให้
หรือหากเป็นภาษาให้ ควรเป็นภาษาที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม
5. ควรเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง มีความยืดหยุ่นสูง เอื้ออานวยความสะดวกใน การปรับปรุงพัฒนาระบบงานใน
อนาคต
6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่องการเข้าถึงข้อมูล ต้องคัดเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพเรื่องนี้ด้วย
7. พิจารณางบประมาณ ใช้จัดหาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องมาใช้งาน เพื่อป้องกัน ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งจะไม่ก่อปัญหาเมื่อขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม มากขึ้นในอนาคต
8. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทั่วไปเพื่อศึกษารวบรวมข้อมูล และ ป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ใน
อนาคต และมีความเชื่อมั่นว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญให้ คาปรึกษาหากเกิดปัญหาขึ้น
ที่มา: https://programsc.wordpress.com/ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบทางคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็นกระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทางาน
แบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สาหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์
นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้
ในการดาเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ใน
ที่นี้มีแนวทาง ดาเนินงานดังนี้
1.) ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา
2.) ขั้นวางแผนและการออกแบบ
3.) ขั้นดาเนินการเขียน คาสั่งงาน
4.) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
5.) ขั้นจัดทาคู่มือระบบ
6.) ขั้นการติดตั้ง
7.) ขั้นการบารุงรักษา
1.ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition)
เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาระบบงานให้ อาจวิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนที่
เกี่ยวข้องต่อไป เช่น สมการที่ใช้คานวณ การนาเข้า ข้อมูลที่ใช้ประมวลผล กรณีเป็นระบบงานใหญ่ ความซับซ้อนของงานย่อมมากขึ้น อาจเริ่ม
จากสภาพปัญหา โดยรวบรวมข้อมูลปัญหาและ ความต้องการ ต่าง ๆ จากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อสรุป และศึกษา ความ
เป็นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานให้ การกาหนดความต้องการ (Requirements Specification) เป็นความต้องการ ประสิทธิภาพการทางาน
จากระบบงานให้ รวบรวมข้อมูลความต้องการโดยใช้เครื่องมือทางสถิติ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสังเกต เพื่อหาข้อสรุปรวมกันที่
ชัดเจนระหว่างผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ ระบบการกาหนดความต้องการนั้นมีแนวทางในการดาเนินงาน ดังนี้
1.) ประสานงานรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวของกับระบบ เพื่อประมวลความต้องการทั้งหมด
2.) จัดทาข้อสรุปความต้องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกัน ข้อขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอน
รับมอบระบบงาน
3.) การให้คาจากัดความตาง ๆ ในเอกสาร ต้องมีความชัดเจน ไม่กากวม การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ศึกษา
สิ่งที่เกี่ยวของกับระบบงานที่เป็นปัจจัย เอื้อต่อการทางาน หรืออุปสรรคในการทางานมีแนวศึกษา ดังนี้
1.) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical Feasibility) เช่น ศึกษาระบบ คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่เดิมต้องปรับปรุง (Upgrade)
ประสิทธิภาพเครื่องอย่างไรบาง
2.) ศึกษาความเป็นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) เช่น ต้นทุนค่าใช้จ่าย ในการดาเนินงานระบบงานให้ หรือ
ด้านงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตาแหน่ง ครูชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุม
พล
3.) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) เช่น ทักษะเดิมของ ผู้ใช้ระบบงานให้ การยอมรับระบบ
ให้ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางาน
2. ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design)
ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะลาดับการทางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธีอัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด
(Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) ลาดับขั้นตอนการออกแบบ ระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบการ
แสดงผล (Output Design) การออกแบบรูปแบบการนาเข้า ข้อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี้
1.) จานวนและประเภทเนื้อหาของข้อมูล (Content) ต้องมีเพียงพอ ครบถ้วนสมบูรณ์ นาเสนอเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวของ
กันและแยกเป็นระบบงานย่อย
2.) รูปแบบ (Form) การนาเสนอข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบที่ผู้ใช้ระบบเข้าใจงาย เช่น การ นาเสนอข้อมูลสรุปด้วยกราฟ
ดีกว่าการนาเสนอข้อมูลสรุปในรูปแบบตาราง
3.) รูปแบบแสดงผล (Output Format) คานึงว่าเป็นการแสดงผลรายงานทางจอภาพ หรือ เครื่องพิมพ์ เพราะการ
กาหนดรูปแบบ และรายละเอียดมีความแตกตางกัน
3. ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน (Coding)
เป็นขั้นตอนเขียนคาสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กาหนดไว้ ต้องลาดับคาสั่งตามขั้นตอนที่วิเคราะห์ว่า
สาหรับขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน มีแนวทางดาเนินงาน ดังนี้
1.) จัดทีมงานในองค์กรวิเคราะห์และพัฒนาระบบงานเอง มีข้อดี คือ ปรับแก้ไขโปรแกรมได้ ตามต้องการ ได้รับความรวมมือจากคนใน
องค์กรในระดับดี เพราะเป็นกลุ่มบุคคลในองค์กร เดียวกัน ข้อเสีย คือ หากไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็นการทางานเฉพาะกิจ จะ
เกิดความเสี่ยงในระบบงาน เช่น งานลาชา หรืองานไม่เสร็จสิ้นตามกาหนด
2.) จัดซื้อโปรแกรมสาเร็จรูป ข้อดี คือ มีโปรแกรมที่นามาใช้กับงานได้ทันที งานขององค์กรไม่ หยุดชะงัก และมีบริการอบรมการใช้
โปรแกรม ส่วนใหญ่โปรแกรมออกแบบมาดี จึงใช้งาน ง่าย ข้อเสีย คือ โปรแกรมสาเร็จรูปมีข้อจากัดในตัวเอง ไม่สามารถตอบสนองความ
ต้องการผู้ใช้ระบบได้ครอบคลุมทุกด้าน และผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขข้อจากัดตาง ๆ ของ โปรแกรมได้ด้วยต้นเอง
3.) จัดจ้างบริษัทพัฒนาระบบ ข้อดี คือ พัฒนาระบบงานได้รวดเร็วเพราะมีทีมงานที่มีความ ชานาญงานระบบงานตรงตามความต้องการของ
ผู้ใช้ระบบ ข้อเสีย คือ ค่าจ้างการพัฒนามี ราค่าสูง เพราะต้องวิเคราะห์ระบบงานให้ และรวมราคาการบารุงรักษาโปรแกรมใน อนาคตไวแล้ว
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging)
การทดสอบการทางานของโปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดยพัฒนา ระบบงานเองโดยใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบ
เพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คาสั่ง และวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลลัพธ์การทางานกับจุดประสงค์ของงาน หากไม่มี
ข้อผิดพลาดใด ๆ จึงสงมอบการทาสอบ อีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง ทั้งนี้ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการทดสอบ โดยสรุปมี
2 รูปแบบ คือ
1.) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คาสั่งผิดรูปแบบไวยากรณ์ที่ภาษากาหนดไว้ (Syntex Errors)
2.) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (Logic Error) กรณีระบบงานขนาดใหญ่ การทดสอบระบบงานให้ โดยผู้ใช้
ระบบอาจต้องฝึกอบรมการใช้ โปรแกรมก่อนแล้วจึงหาข้อสรุปข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น มีแนวทางจัดฝึกอบรมการใช้โปรแกรม ดังนี้
1.) ฝึกอบรมโดยวิทยากร ใช้วิธี บรรยาย สาธิต และจาลองข้อมูลนาเข้า เพื่อทดสอบระบบ
2.) เรียนรู้ด้วยต้นเอง ผู้ใช้ระบบศึกษาอ่านจากคู่มือระบบงาน หรือใช้ซีดีรอมเรียนรู้ด้วยตนเอง
5. ขั้นจัดทาคู่มือระบบ (Documentation)
เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พัฒนาระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคู่มือการใช้ ระบบงานให้ คู่มือระบบงานมีความสาคัญ
มาก เพราะเปรียบเสมือนกับพิมพ์เขียวของบาน คู่มือระบบ จึงถูกใช้เพื่อศึกษารูปแบบระบบงานเพื่อพัฒนาระบบในอนาคต คู่มือ
ระบบมีหลายรูปแบบ เช่น
1.) คู่มือสาหรับผู้ใช้ระบบ (User Documentation) เป็นส่วนอธิบายขั้นตอนการทางานของ ระบบเพื่อให้ผู้ใช้ระบบเรียนรู้การทางาน
เช่น วิธีกรอกข้อมูลในส่วนตาง ๆ
2.) คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทาสาหรับผู้ดูแลระบบ เช่น ขั้นตอนการ ติดตั้งโปรแกรม การแก้ปัญหาระบบงาน
ขั้นพื้นฐาน
6. ขั้นการติดตั้ง (Implementation)
เป็นขั้นตอนนาระบบให้ที่ผ่านการทดสอบและได้รับการยอมรับจากกลุ่มตัวแทนผู้ใช้ระบบว่า สามารถนามาทดแทนระบบงาน
เดิม มีแนวทางใช้ระบบงานให้ ดังนี้
1.) ติดตั้งระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทั้งหมด และใช้ระบบงานให้ทันที (Direct Changeover) วิธีนี้สะดวกกับผู้ใช้คือ ทางาน
ระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูง หาก ระบบงานให้มีปัญหาจะไม่สามารถใช้ระบบงานระบบใดได้เลย
2.) ติดตั้งระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Running) เป็นการทางาน 2 ระบบในคราวเดียวกัน เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับ
ระบบงานให้ ยังคงมีระบบงานเดิมสารองความผิดพลาด ที่ไม่อาจคาดคิด เกิดขึ้นได้ แต่เป็นการเพิ่มภาระงานของผู้ใช้ระบบที่
ต้องทางานทั้ง 2 ระบบ จนกว่าแน่ใจว่าระบบงานให้ สามารถใช้รองรับการทางานได้โดยไม่มีข้อผิดพลาดใด ๆ
3.) ติดตั้งระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็นการติดตั้งระบบย่อยทีละระบบจาก ระบบงานทั้งหมด เพื่อพิจารณา
ประสิทธิภาพการทางาน หากมีข้อผิดพลาดที่เฟสใดจะ ดาเนินการแก้ไขเฉพาะเฟสนั้นก่อน จากนั้นจึงขยายจนครบทั้งระบบ
4.) ติดตั้งระบบแบบโครงการนารอง (Pilot Project) พิจารณาจัดทาเฉพาะงานของหน่วยงาน ในองค์กรที่มีความสาคัญและ
ความจาเป็น พิจารณาผลงานที่ได้ หากไม่มีปัญหาเรื่องใด จึง ขยายระบบงานต่อไป
7. ขั้นการบารุงรักษา (Maintenance)
เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา สาเหตุที่ต้อง บารุงรักษา มีดังนี้
1.) การบารุงรักษาด้วยการแก้ไขระบบให้ถูกต้อง (Corrective Maintenance) เป็น ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นหลังจากมีการใช้ข้อมูลจริงในระบบงาน ซี่ง
ตรวจสอบไม่พบในขั้นการ ทดสอบระบบ
2.) การบารุงรักษาด้วยการปรับปรุงให้ดีขึ้น (Perfective Maintenance) เป็นการปรับ ระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุงการคานวณภาษีที่
มีการเปลี่ยนแปลงไปตาม นโยบายของรัฐ
3.) การบารุงรักษาด้วยการป้องกัน (Preventive Maintenance) เช่น ป้องกันการเกิดความ สูญหายของข้อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟ้า การทาระบบ
สารองข้อมูล การป้องกันไวรัส คอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุกข้อมูล (Hacker)
ที่มา : https://sites.google.com/site/grup12559/kar-phathna-rabb-ngan-thang-
khxmphiwtexr
แนวทางสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสาย
วิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพ
นั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา
ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง
มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้
1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น
อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูล
ที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อยดังนี้
1.) สิ่งที่ต้องการ
2.) สมการคานวณ
3.) ข้อมูล นาเข้า
4.) การแสดงผล
5.) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร
6.) ลาดับขั้นตอนการทางาน
2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน
มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อน
ไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม
เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้อง
ตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้กาหนดไว้
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริง
เพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน
เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะ
ถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน
5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ
เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวม
เอกสารที่จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม
ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
ที่มา : https://programsc.wordpress.com/แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน
การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทางานของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ
การควบคุมการทางาน โดยใช้สัญลักษณที่กาหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการ
ลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้
1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่
ดังนี้
2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลาดับการทางานได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้
1. ทิศทางการทางานต้องเรียงลาดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
2. ใช้ชื่อหนวยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
3. ลูกศรกากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น
4. เส้นทางการทางานหามมีจุดตัดการทางาน
5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทางานใด ๆ
6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน
7. หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้
1. ทาให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก
2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนาไปเขียนคาสั่งได้ทุกภาษา
3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว
4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานของระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น เรื่องการออกแบบระบบงานของแต่
ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้
1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ โดยไม่มีทางแยกการ ทางานแต่อย่างใด
2.) การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน แสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบ
สรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทางประมวลผลคาสั่งที่ได้ กาหนดไว้ เช่น รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี
ตาแหน่ง ผู้ชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล
3.) การเขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบ
ตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ้าหรือออกจากการวน ซ้าเช่น
4.) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ ทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนด
เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซ้าหรือออกจากการวนซ้า
ที่มา : https://programsc.wordpress.com/แนวทางสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
กรณีการศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน
การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทานั้น สิ่งที่สาคัญที่สุดในการแก้ปัญหา จะต้องดาเนินการตาม
ขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลาดับขั้นตอนการทางานว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนเป็น
ลาดับถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดท้าย
การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทาเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด โดยจะต้อง
กาหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวมรายละเอียดของปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้
คอมพิวเตอร์ทาอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้อนเข้าเครื่องเป็นอย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์
เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนาเข้า (Input) วิธีการประมวลผล (Process) และการ
กาหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม
หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสาคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งาน
ตามลาดับดังนี้
สิ่งที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางานงานแต่ละชนิดอาจต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงผล
ลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการอาจจะดูที่คาสั่งหรือโจทย์ของงานนั้นๆว่าต้องการให้
ทาอะไรบ้าง
ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือรูปแบบของผลลัพธ์ที่เราต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงออกมา
รายละเอียดที่ต้องการในรายงานหรือผลลัพธ์นั้น ๆ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมที่จะต้องกาหนดรูปแบบว่างานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์
ทานั้น ควรจะมีรายละเอียดอะไร เพื่อความสะดวกของผู้นาผลลัพธ์ไปใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่จาเป็นและมีความสาคัญ และต้อง
พิจารณาอย่างละเอียด เพราะการวิเคราะห์รายงานจะทาให้เราทราบจุดหมายที่ต้องการ หรือเป็นการกาหนดขอบเขตของงานที่เราต้องการทา
นั่นเอง
ข้อมูลนาเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทาต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้ลักษณะของรายงานแน่นอนแล้ว เราก็มาพิจารณา
ข้อมูลนาเข้านั้นจะต้องดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขั้นตอนในการประมวลผลด้วย
ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกาหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการอ้างถึงข้อมูล และการเขียนโปรแกรม การตั้งชื่อ
ตัวแปรควรจะตั้งให้มีความหมายและเกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้ากับหลักเกณฑ์ของภาษาคอมพิวเตอร์นั้นๆ
วิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนของวิธีการ หรือการคานวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การสั่งให้เครื่องรับข้อมูลเข้าไปทาการ
ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องการทางานทุกอย่างตามลาดับ จึงจาเป็นจะต้องจัดลาดับการทางานตามลาดับ
ก่อนหลังให้ละเอียดและถูกต้องทุกขั้นตอน
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว
1.สิ่งที่ต้องการ : หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว
2.รูปแบบผลลัพธ์ : The area is xxxx
3.ข้อมูลนาเข้า : ความกว้าง และ ความยาว
4.ตัวแปร :L = ความยาว
W = ความกว้าง
Area = พื้นที่
5.วิธีประมวลผล :1) รับข้อมูล L
2) รับข้อมูล W
3) ประมวลผล(คานวณหาพื้นที่) Area = L*W
4) แสดงผล “The area is xxxx”
5) จบการทางาน
ที่มา : https://sites.google.com/site/kanjanannui/home/krni-suksa-kar-wikheraah-rabb-ngan-laea-phang-ngan
แผนผังความคิด
ผู้จัดทา
1. นายภูมิพชร สิทธิสร ม.6/1 เลขที่ 2
2. นายวีรภัทร ทองบุญเหลือ ม.6/1เลขที่ 4
3. นายสมพร มานพพนาไพร ม.6/1 เลขที่ 5
4. นายวิทยากร พรหมชนะ ม.6/1 เลขที่ 6
5. นายพุฒิพงศ์ ปิยะพันธ์ ม.6/1 เลขที่ 7
6. นายเดช เดชาบูรพา ม.6/1 เลขที่ 8

More Related Content

What's hot

การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Patitta Intarasopa
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Hm Thanachot
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ B'Benz Sunisa
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีssuser5adb53
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาtyt13
 
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ttyuj tgyhuj
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊คThidaporn Kaewta
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9naraporn buanuch
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Primprapa Palmy Eiei
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 

What's hot (20)

การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 

Similar to ภาษาคอมพิวเตอร์

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ Last'z Regrets
 
Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1patchareepoim
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์benz18
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานNoTe Tumrong
 

Similar to ภาษาคอมพิวเตอร์ (20)

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
mindmap
mindmapmindmap
mindmap
 
Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Know1 2
Know1 2Know1 2
Know1 2
 
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 

ภาษาคอมพิวเตอร์

  • 3. จุดประสงค์  อธิบายจุดเด่นประสิทธิภาพการทางานของภาษาคอมพิวเตอร์ที่กาหนดให้ได้  อธิบายลักษณะการทางานของโปรแกรมประเภทตัวแปลภาษาที่กาหนดให้ได้  อธิบายขั้นตอนการพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ได้  อธิบายขั้นตอนการทางานของสัญลักษณ์ผังงานที่กาหนดให้ได้  วิเคราะห์โจทย์ปัญหาที่กาหนดให้ แล้วเขียนขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นได้  วิเคราะห์โจทย์ปัญหาที่กาหนดให้ และเขียนลาดับงานด้วยผังงานโปรแกรมได้  วิเคราะห์ข้อผิดพลาดของผังงานโปรแกรมที่กาหนดให้ แล้วเขียนแก้ไขให้ถูกต้องได้
  • 4. ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนา ภาษากาหนดรหัสคาสั่ง ขึ้นมา ใช้คจุดประสงค์ไว้วบคุมการทางาน อุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจาก รหัส คาสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความ ภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลาย ภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพคาสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งที่มี ประสิทธิภาพควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้าง โปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กาหนด
  • 5. 1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็น คาสั่ง ควบคุมการทางาน มีพัฒนาการของการสร้างรหัสคาสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน ดังนี้ ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทางานลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบรหัสคาสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) ผู้ที่จะเขียนรหัสคาสั่ง ควบคุมระบบได้จึงจากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ในห้องปฏิบัติการทดลองดาเนินงาน ช่วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคาสั่งเป็นชุดเลขฐานสองมีความยุ่งยากในการจาชุดของรหัสคาสั่ง ควบคุมการทางาน จึงมีผู้พัฒนา รหัสคาสั่งเป็นอักษรภาษาอังกฤษรวมกับเลขฐานอื่น เช่น เลขฐานสิบหก เพื่อให้เขียนคาสั่งควบคุมงานง่ายขึ้น ตั้งชื่อภาษาว่า แอสแซมบลีหรือภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) พร้อมกันนี้ต้องพัฒนาโปรแกรมแปลภาษาขึ้นมาด้วย (Translator Program) คือโปรแกรมแอสแซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งกลับมาเป็นเลขฐานสอง เพื่อให้ระบบ สามารถประมวลผลได้ ช่วงที่ 3 เป็นช่วงที่บริษัทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลายภาษา เน้นให้ใช้งานง่ายขึ้น โดยรหัสคาสั่งเป็น ข้อความใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม ภาษาระดับสูง (High Level Language) เช่น ภาษาเบสิก ภาษาปาสค่าล ภาษาซี ในส่วนของ โปรแกรมแปลภาษามี 2 ลักษณะ คือ อินเทอรพรีตเทอร์ และคอมไพเลอร์ ช่วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นาไปใช้ควบคุมการทางานระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานรวมกับเทคโนโลยี การสื่อสาร ภาษามีรูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งเป็นงานโปรแกรม เชิงวัตถุ (Object – Oriented Programming Language : OOP) ติดต่อใช้งานกับผู้ใช้โปรแกรมเชิง กราฟฟิก (Graphic User Interface : GUI) ลดขั้นตอนการจดจาเพื่อพิมพ์รหัสคาสั่ง มาเป็นการคลิก เลือกรายการคาสั่ง และป้อนค่าควบคุม เช่น ภาษาวิชวลเบสิก (Visual BASIC) ภาษาจาว่า (JAVA)
  • 6. 2. ภาษาระดับสูง ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึงปัจจุบัน เพราะเป็นภาษาที่มี รูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งสั้น สื่อความหมายตรงกับการทางาน ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้เพื่อเขียน ชุดรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน ใช้หน่วยความจาระบบน้อย จึงเหมาะ กับผู้เริ่มฝึกทักษะการสร้างงาน โปรแกรมประยุกต์งานคานวณในสาขางานต่าง ๆ เช่น ระบบงานคานวณทางวิศวกรรมโยธา ระบบงาน คานวณ ทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมใช้งาน มีดังนี้ 1) ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ใน ห้องปฏิบัติการของสถาบันการศึกษา เพื่อฝึกทักษะการ เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ รูปแบบที่ใช้งานสั้น มีจานวนคาสั่งไม่มาก กฎเกณฑ์การใช้คาสั่งน้อย ใช้ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้สั้น เหมาะสมที่จะใช่ในการเรียนการ สอน เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสควบคุมการ ทางานระบบ ข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งงานมีน้อย เป็นภาษาที่ไม่มีรูปแบบโครงสร้าง จึงไม่เหมาะสมในการนาไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานในองค์กร 2) ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language) เป็นภาษาในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของ ภาษาได้รับการออกแบบรหัสคาสั่งเพื่อ ควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท เมนเฟรม และมินิ ต่อมาจึงปรับรูปแบบคาสั่งให้ใช้ กับไมโครคอมพิวเตอร์ได้ข้อดีคือ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคาสั่ง ควบคุมคอมพิวเตอร์ขนาดให้ญืในการทางานจริง ข้อจากัด คือ โครงสร้างภาษามีส่วนประกอบของบรรทัดคาสั่งงานมาก รูปแบบรหัส คาสั่งมี ความยาว จดจาคาสั่งได้ยาก ไม่เหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะสร้างงานโปรแกรม
  • 7. 3) ภาษาปาสคาล (PASCAL) เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับการออกแบบ มาเพื่อใช้เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ แต่ละส่วนของโครงสร้างกาหนดหน้าที่การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมงาน ชัดเจน คาสั่งสั้น สื่อความหมายดี จึงจดจาได้งาย ประสิทธิภาพคาสั่งงานมีเลือกใช้งานหลากหลาย รูปแบบ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ เหมาะสมกับการนาไปใช้ใน หลักสูตรการเรียนการสอน ข้อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งไม่สามารถใช้ควบคุมการทางานในลักษณะ ระบบงานแบบฐานข้อมูล หรือแบบเครือขายได้ แต่อาจใช้พื้นฐานความรู้สาหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษา เดลไฟ (DELPHI) ที่คาสั่งงานคลายภาษาปาสคาล 4) ภาษาซี เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คาสั่งมีประสิทธิภาพการคานวณที่ รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบรวมกับภาษา แอสแซมบลีได้ ใช้ควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ ภาษาได้รับการพัฒนามาอย่างตอเนื่อง การออกแบบรหัสคาสั่งมีมาตรฐาน รวมกัน ถึงแม้จะเป็นภาษาซีตางบริษัทก็ใช้งาน ส่วนคาสั่งพื้นฐานรวมกันได้ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ จึงเหมาะสมสาหรับนาไปใช้ในหลักสูตรการเรียนการสอน และนาไปใช้สร้าง งานโปรแกรมระบบขนาด ใหญ่ได้ ข้อจากัด คือ อยู่ในส่วนของรุนภาษาซีมากกว่า เช่น เทอรโบซีจะไม่สามารถนาไป สร้างระบบงาน ฐานข้อมูลได้ แต่หากต้องการนาไปสร้างงานโปรแกรมแบบฐานข้อมูล ต้องใช้วิชวล ซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็นต้น
  • 8. 5. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program) การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตาม ที่มิใช้ ภาษาเครื่อง ระบบไม่ สามารถประมวลผลได้ทันที เพราะการทางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 ดังนั้นผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสาหรับแปลรหัสคาสั่ง ให้เป็นรหัส เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์มีการทางาน 3 ลักษณะ คือ 1.)โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งเฉพาะภาษา แอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง 2.) โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปลคาสั่งทั้ง โครงสร้างโปรแกรม แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้น ต้องประมวลผลให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้มโปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่องภายหลังเมื่อเรียกใช้โปรแกรมนี้ เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่ สร้างไว้นั้น จึงไม่ต้องเริ่มแปลรหัสให้ ข้อดี คือ ทางานได้รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปลรหัสให้ทุกครั้ง ข้อจากัด คือ ต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้าง ภาษาคอมพิวเตอร์ จึง จะสามารถคอมไพลปละประมวลผลเพื่อแสดงผลได้ 3.) โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล คือ แปลรหัสทีละคาสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทางาน แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดให้ ทราบ เพื่อแก้ไข จากนั้นประมวลผลให้ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้างแฟ้มโปรแกรมให้เพื่อเก็บรหัสคาสั่ง คือ สั่งให้ประมวลผลรหัสคาสั่งเพื่อดูผลการ ทางานได้ทันทีที่ต้องการ โดยไม่ ข้อดี ต้องเขียนโปรแกรมถึงบรรทัดสุดทาย ข้อจากัด คือ หากโปรแกรมมีบรรทัดคาสั่งจานวนมากจะประมวลผลชา เพราะต้องเริ่ม แปลรหัสคาสั่งให้ที่บรรทัดคาสั่งแรกทุกครั้งที่สั่งให้ประมวลผล
  • 9. 4.) การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มีข้อแนะนาในการนาไปใช้เป็นแนวทาง พิจารณา เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคาสั่งงานของแต่ละภาษา เปรียบเทียบกับลักษณะงาน เช่น สร้างโปรแกรมระบบงาน คานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจเลือกใช้ภาษาซี ภาษา ปาสคาล 2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบนเครือข่ายอาจ เลือกใช้ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของ โปรแกรมที่มีคาสั่งควบคุมการทางานได้ 3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์และรุนของระบบปฏิบัติการที่ใช้ควบคุม เพื่อเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ งานรวมกันกับระบบได้ 4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชานาญอยู่แล้ว เพื่อไม่ต้อง เสียเวลาเริ่มต้นศึกษาเรียนรู้ภาษาให้ หรือหากเป็นภาษาให้ ควรเป็นภาษาที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม 5. ควรเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง มีความยืดหยุ่นสูง เอื้ออานวยความสะดวกใน การปรับปรุงพัฒนาระบบงานใน อนาคต 6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่องการเข้าถึงข้อมูล ต้องคัดเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพเรื่องนี้ด้วย 7. พิจารณางบประมาณ ใช้จัดหาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องมาใช้งาน เพื่อป้องกัน ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะ อย่างยิ่งจะไม่ก่อปัญหาเมื่อขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม มากขึ้นในอนาคต 8. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทั่วไปเพื่อศึกษารวบรวมข้อมูล และ ป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ใน อนาคต และมีความเชื่อมั่นว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญให้ คาปรึกษาหากเกิดปัญหาขึ้น ที่มา: https://programsc.wordpress.com/ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
  • 10. การพัฒนาระบบทางคอมพิวเตอร์ การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็นกระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทางาน แบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สาหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์ นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ ในการดาเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ใน ที่นี้มีแนวทาง ดาเนินงานดังนี้ 1.) ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา 2.) ขั้นวางแผนและการออกแบบ 3.) ขั้นดาเนินการเขียน คาสั่งงาน 4.) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 5.) ขั้นจัดทาคู่มือระบบ 6.) ขั้นการติดตั้ง 7.) ขั้นการบารุงรักษา
  • 11. 1.ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition) เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาระบบงานให้ อาจวิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนที่ เกี่ยวข้องต่อไป เช่น สมการที่ใช้คานวณ การนาเข้า ข้อมูลที่ใช้ประมวลผล กรณีเป็นระบบงานใหญ่ ความซับซ้อนของงานย่อมมากขึ้น อาจเริ่ม จากสภาพปัญหา โดยรวบรวมข้อมูลปัญหาและ ความต้องการ ต่าง ๆ จากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อสรุป และศึกษา ความ เป็นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานให้ การกาหนดความต้องการ (Requirements Specification) เป็นความต้องการ ประสิทธิภาพการทางาน จากระบบงานให้ รวบรวมข้อมูลความต้องการโดยใช้เครื่องมือทางสถิติ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสังเกต เพื่อหาข้อสรุปรวมกันที่ ชัดเจนระหว่างผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ ระบบการกาหนดความต้องการนั้นมีแนวทางในการดาเนินงาน ดังนี้ 1.) ประสานงานรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวของกับระบบ เพื่อประมวลความต้องการทั้งหมด 2.) จัดทาข้อสรุปความต้องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกัน ข้อขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอน รับมอบระบบงาน 3.) การให้คาจากัดความตาง ๆ ในเอกสาร ต้องมีความชัดเจน ไม่กากวม การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ศึกษา สิ่งที่เกี่ยวของกับระบบงานที่เป็นปัจจัย เอื้อต่อการทางาน หรืออุปสรรคในการทางานมีแนวศึกษา ดังนี้ 1.) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical Feasibility) เช่น ศึกษาระบบ คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่เดิมต้องปรับปรุง (Upgrade) ประสิทธิภาพเครื่องอย่างไรบาง 2.) ศึกษาความเป็นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) เช่น ต้นทุนค่าใช้จ่าย ในการดาเนินงานระบบงานให้ หรือ ด้านงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตาแหน่ง ครูชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุม พล 3.) ศึกษาความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) เช่น ทักษะเดิมของ ผู้ใช้ระบบงานให้ การยอมรับระบบ ให้ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางาน
  • 12. 2. ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design) ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะลาดับการทางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธีอัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) ลาดับขั้นตอนการออกแบบ ระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบการ แสดงผล (Output Design) การออกแบบรูปแบบการนาเข้า ข้อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี้ 1.) จานวนและประเภทเนื้อหาของข้อมูล (Content) ต้องมีเพียงพอ ครบถ้วนสมบูรณ์ นาเสนอเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวของ กันและแยกเป็นระบบงานย่อย 2.) รูปแบบ (Form) การนาเสนอข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบที่ผู้ใช้ระบบเข้าใจงาย เช่น การ นาเสนอข้อมูลสรุปด้วยกราฟ ดีกว่าการนาเสนอข้อมูลสรุปในรูปแบบตาราง 3.) รูปแบบแสดงผล (Output Format) คานึงว่าเป็นการแสดงผลรายงานทางจอภาพ หรือ เครื่องพิมพ์ เพราะการ กาหนดรูปแบบ และรายละเอียดมีความแตกตางกัน
  • 13. 3. ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน (Coding) เป็นขั้นตอนเขียนคาสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กาหนดไว้ ต้องลาดับคาสั่งตามขั้นตอนที่วิเคราะห์ว่า สาหรับขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน มีแนวทางดาเนินงาน ดังนี้ 1.) จัดทีมงานในองค์กรวิเคราะห์และพัฒนาระบบงานเอง มีข้อดี คือ ปรับแก้ไขโปรแกรมได้ ตามต้องการ ได้รับความรวมมือจากคนใน องค์กรในระดับดี เพราะเป็นกลุ่มบุคคลในองค์กร เดียวกัน ข้อเสีย คือ หากไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็นการทางานเฉพาะกิจ จะ เกิดความเสี่ยงในระบบงาน เช่น งานลาชา หรืองานไม่เสร็จสิ้นตามกาหนด 2.) จัดซื้อโปรแกรมสาเร็จรูป ข้อดี คือ มีโปรแกรมที่นามาใช้กับงานได้ทันที งานขององค์กรไม่ หยุดชะงัก และมีบริการอบรมการใช้ โปรแกรม ส่วนใหญ่โปรแกรมออกแบบมาดี จึงใช้งาน ง่าย ข้อเสีย คือ โปรแกรมสาเร็จรูปมีข้อจากัดในตัวเอง ไม่สามารถตอบสนองความ ต้องการผู้ใช้ระบบได้ครอบคลุมทุกด้าน และผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขข้อจากัดตาง ๆ ของ โปรแกรมได้ด้วยต้นเอง 3.) จัดจ้างบริษัทพัฒนาระบบ ข้อดี คือ พัฒนาระบบงานได้รวดเร็วเพราะมีทีมงานที่มีความ ชานาญงานระบบงานตรงตามความต้องการของ ผู้ใช้ระบบ ข้อเสีย คือ ค่าจ้างการพัฒนามี ราค่าสูง เพราะต้องวิเคราะห์ระบบงานให้ และรวมราคาการบารุงรักษาโปรแกรมใน อนาคตไวแล้ว
  • 14. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging) การทดสอบการทางานของโปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดยพัฒนา ระบบงานเองโดยใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบ เพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คาสั่ง และวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลลัพธ์การทางานกับจุดประสงค์ของงาน หากไม่มี ข้อผิดพลาดใด ๆ จึงสงมอบการทาสอบ อีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง ทั้งนี้ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการทดสอบ โดยสรุปมี 2 รูปแบบ คือ 1.) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คาสั่งผิดรูปแบบไวยากรณ์ที่ภาษากาหนดไว้ (Syntex Errors) 2.) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (Logic Error) กรณีระบบงานขนาดใหญ่ การทดสอบระบบงานให้ โดยผู้ใช้ ระบบอาจต้องฝึกอบรมการใช้ โปรแกรมก่อนแล้วจึงหาข้อสรุปข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น มีแนวทางจัดฝึกอบรมการใช้โปรแกรม ดังนี้ 1.) ฝึกอบรมโดยวิทยากร ใช้วิธี บรรยาย สาธิต และจาลองข้อมูลนาเข้า เพื่อทดสอบระบบ 2.) เรียนรู้ด้วยต้นเอง ผู้ใช้ระบบศึกษาอ่านจากคู่มือระบบงาน หรือใช้ซีดีรอมเรียนรู้ด้วยตนเอง 5. ขั้นจัดทาคู่มือระบบ (Documentation) เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พัฒนาระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคู่มือการใช้ ระบบงานให้ คู่มือระบบงานมีความสาคัญ มาก เพราะเปรียบเสมือนกับพิมพ์เขียวของบาน คู่มือระบบ จึงถูกใช้เพื่อศึกษารูปแบบระบบงานเพื่อพัฒนาระบบในอนาคต คู่มือ ระบบมีหลายรูปแบบ เช่น 1.) คู่มือสาหรับผู้ใช้ระบบ (User Documentation) เป็นส่วนอธิบายขั้นตอนการทางานของ ระบบเพื่อให้ผู้ใช้ระบบเรียนรู้การทางาน เช่น วิธีกรอกข้อมูลในส่วนตาง ๆ 2.) คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทาสาหรับผู้ดูแลระบบ เช่น ขั้นตอนการ ติดตั้งโปรแกรม การแก้ปัญหาระบบงาน ขั้นพื้นฐาน
  • 15. 6. ขั้นการติดตั้ง (Implementation) เป็นขั้นตอนนาระบบให้ที่ผ่านการทดสอบและได้รับการยอมรับจากกลุ่มตัวแทนผู้ใช้ระบบว่า สามารถนามาทดแทนระบบงาน เดิม มีแนวทางใช้ระบบงานให้ ดังนี้ 1.) ติดตั้งระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทั้งหมด และใช้ระบบงานให้ทันที (Direct Changeover) วิธีนี้สะดวกกับผู้ใช้คือ ทางาน ระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูง หาก ระบบงานให้มีปัญหาจะไม่สามารถใช้ระบบงานระบบใดได้เลย 2.) ติดตั้งระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Running) เป็นการทางาน 2 ระบบในคราวเดียวกัน เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับ ระบบงานให้ ยังคงมีระบบงานเดิมสารองความผิดพลาด ที่ไม่อาจคาดคิด เกิดขึ้นได้ แต่เป็นการเพิ่มภาระงานของผู้ใช้ระบบที่ ต้องทางานทั้ง 2 ระบบ จนกว่าแน่ใจว่าระบบงานให้ สามารถใช้รองรับการทางานได้โดยไม่มีข้อผิดพลาดใด ๆ 3.) ติดตั้งระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็นการติดตั้งระบบย่อยทีละระบบจาก ระบบงานทั้งหมด เพื่อพิจารณา ประสิทธิภาพการทางาน หากมีข้อผิดพลาดที่เฟสใดจะ ดาเนินการแก้ไขเฉพาะเฟสนั้นก่อน จากนั้นจึงขยายจนครบทั้งระบบ 4.) ติดตั้งระบบแบบโครงการนารอง (Pilot Project) พิจารณาจัดทาเฉพาะงานของหน่วยงาน ในองค์กรที่มีความสาคัญและ ความจาเป็น พิจารณาผลงานที่ได้ หากไม่มีปัญหาเรื่องใด จึง ขยายระบบงานต่อไป
  • 16. 7. ขั้นการบารุงรักษา (Maintenance) เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา สาเหตุที่ต้อง บารุงรักษา มีดังนี้ 1.) การบารุงรักษาด้วยการแก้ไขระบบให้ถูกต้อง (Corrective Maintenance) เป็น ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นหลังจากมีการใช้ข้อมูลจริงในระบบงาน ซี่ง ตรวจสอบไม่พบในขั้นการ ทดสอบระบบ 2.) การบารุงรักษาด้วยการปรับปรุงให้ดีขึ้น (Perfective Maintenance) เป็นการปรับ ระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุงการคานวณภาษีที่ มีการเปลี่ยนแปลงไปตาม นโยบายของรัฐ 3.) การบารุงรักษาด้วยการป้องกัน (Preventive Maintenance) เช่น ป้องกันการเกิดความ สูญหายของข้อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟ้า การทาระบบ สารองข้อมูล การป้องกันไวรัส คอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุกข้อมูล (Hacker) ที่มา : https://sites.google.com/site/grup12559/kar-phathna-rabb-ngan-thang- khxmphiwtexr
  • 17. แนวทางสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสาย วิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพ นั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้
  • 18. 1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูล ที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อยดังนี้ 1.) สิ่งที่ต้องการ 2.) สมการคานวณ 3.) ข้อมูล นาเข้า 4.) การแสดงผล 5.) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร 6.) ลาดับขั้นตอนการทางาน 2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อน ไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้ 3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้อง ตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้กาหนดไว้
  • 19. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริง เพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะ ถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน 5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวม เอกสารที่จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น ที่มา : https://programsc.wordpress.com/แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
  • 21. การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทางานของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ การควบคุมการทางาน โดยใช้สัญลักษณที่กาหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการ ลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้ 1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
  • 22. 2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลาดับการทางานได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ทิศทางการทางานต้องเรียงลาดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 2. ใช้ชื่อหนวยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 3. ลูกศรกากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น 4. เส้นทางการทางานหามมีจุดตัดการทางาน 5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทางานใด ๆ 6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน 7. หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น 3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้ 1. ทาให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก 2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนาไปเขียนคาสั่งได้ทุกภาษา 3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว 4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานของระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น เรื่องการออกแบบระบบงานของแต่ ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้
  • 23. 1.) การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ โดยไม่มีทางแยกการ ทางานแต่อย่างใด 2.) การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน แสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบ สรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทางประมวลผลคาสั่งที่ได้ กาหนดไว้ เช่น รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตาแหน่ง ผู้ชานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล 3.) การเขียนผังงานตรวจสอบเงื่อนไขก่อนวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบ ตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ้าหรือออกจากการวน ซ้าเช่น 4.) การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซ้าแสดงขั้นตอนการทางานที่มีลักษณะ ทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนด เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซ้าหรือออกจากการวนซ้า ที่มา : https://programsc.wordpress.com/แนวทางสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
  • 24. กรณีการศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทานั้น สิ่งที่สาคัญที่สุดในการแก้ปัญหา จะต้องดาเนินการตาม ขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลาดับขั้นตอนการทางานว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนเป็น ลาดับถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดท้าย การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทาเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด โดยจะต้อง กาหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวมรายละเอียดของปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้ คอมพิวเตอร์ทาอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้อนเข้าเครื่องเป็นอย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์ เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนาเข้า (Input) วิธีการประมวลผล (Process) และการ กาหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม
  • 25. หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสาคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งาน ตามลาดับดังนี้ สิ่งที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางานงานแต่ละชนิดอาจต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงผล ลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการอาจจะดูที่คาสั่งหรือโจทย์ของงานนั้นๆว่าต้องการให้ ทาอะไรบ้าง ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือรูปแบบของผลลัพธ์ที่เราต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงออกมา รายละเอียดที่ต้องการในรายงานหรือผลลัพธ์นั้น ๆ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมที่จะต้องกาหนดรูปแบบว่างานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ ทานั้น ควรจะมีรายละเอียดอะไร เพื่อความสะดวกของผู้นาผลลัพธ์ไปใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่จาเป็นและมีความสาคัญ และต้อง พิจารณาอย่างละเอียด เพราะการวิเคราะห์รายงานจะทาให้เราทราบจุดหมายที่ต้องการ หรือเป็นการกาหนดขอบเขตของงานที่เราต้องการทา นั่นเอง ข้อมูลนาเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทาต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้ลักษณะของรายงานแน่นอนแล้ว เราก็มาพิจารณา ข้อมูลนาเข้านั้นจะต้องดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขั้นตอนในการประมวลผลด้วย ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกาหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการอ้างถึงข้อมูล และการเขียนโปรแกรม การตั้งชื่อ ตัวแปรควรจะตั้งให้มีความหมายและเกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้ากับหลักเกณฑ์ของภาษาคอมพิวเตอร์นั้นๆ วิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนของวิธีการ หรือการคานวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การสั่งให้เครื่องรับข้อมูลเข้าไปทาการ ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องการทางานทุกอย่างตามลาดับ จึงจาเป็นจะต้องจัดลาดับการทางานตามลาดับ ก่อนหลังให้ละเอียดและถูกต้องทุกขั้นตอน
  • 26. ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว 1.สิ่งที่ต้องการ : หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว 2.รูปแบบผลลัพธ์ : The area is xxxx 3.ข้อมูลนาเข้า : ความกว้าง และ ความยาว 4.ตัวแปร :L = ความยาว W = ความกว้าง Area = พื้นที่ 5.วิธีประมวลผล :1) รับข้อมูล L 2) รับข้อมูล W 3) ประมวลผล(คานวณหาพื้นที่) Area = L*W 4) แสดงผล “The area is xxxx” 5) จบการทางาน ที่มา : https://sites.google.com/site/kanjanannui/home/krni-suksa-kar-wikheraah-rabb-ngan-laea-phang-ngan
  • 28.
  • 29. ผู้จัดทา 1. นายภูมิพชร สิทธิสร ม.6/1 เลขที่ 2 2. นายวีรภัทร ทองบุญเหลือ ม.6/1เลขที่ 4 3. นายสมพร มานพพนาไพร ม.6/1 เลขที่ 5 4. นายวิทยากร พรหมชนะ ม.6/1 เลขที่ 6 5. นายพุฒิพงศ์ ปิยะพันธ์ ม.6/1 เลขที่ 7 6. นายเดช เดชาบูรพา ม.6/1 เลขที่ 8