SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
บทที่ 1
การสร้างโปรแกรมด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์
หัวข้อ
1. ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
2.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์
3.แนวทางสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
4.การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน
5.กรณีศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน
1. ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์(Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่
ผู้พัฒนาภาษากําหนดรหัสคําสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทํางานอุปกรณ์ในระบบ
คอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คําสั่งอยู่ในรูปแบบ
เลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน
ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้าน
ประสิทธิภาพคําสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษา
ใดมีคําสั่งที่มีประสิทธิภาพควบคุมการทํางานตามต้องการ "เพื่อเลือกไปใช้สร้าง
โ ป ร แ ก ร ม ป ร ะ ยุ ก ต์ง า น ต า ม ที่ ไ ด้ก า ห น ด จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ไ ว้"
1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับ
การประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นคําสั่ง ควบคุมการทํางาน มี
พัฒนาการของการสร้างรหัสคําสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน ดังนี้
ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคํานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทํางาน
ลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบรหัสคําสั่ง
เป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) ผู้ที่จะเขียน
รหัสคําสั่งควบคุมระบบได้จึงจํากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ในห้องปฏิบัติการ
ทดลองดําเนินงาน
ช่วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคําสั่งเป็นชุดเลขฐานสองมีความยุ่งยากในการ
จําชุดของรหัสคําสั่ง ควบคุมการทํางาน จึงมีผู้พัฒนารหัสคําสั่งเป็นอักษร
ภาษาอังกฤษรวมกับเลขฐานอื่น เช่น เลขฐานสิบหก เพื่อให้เขียนคําสั่งควบคุม
งานง่ายขึ้น ตั้งชื่อภาษาว่า แอสแซมบลีหรือภาษาสัญลักษณ์ (Assembly /
Symbolic Language) พร้อมกันนี้ต้องพัฒนาโปรแกรมแปลภาษาขึ้นมาด้วย
(Translator Program) คือโปรแกรมแอสแซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปล
รหัสคําสั่งกลับมาเป็นเลขฐานสอง เพื่อให้ระบบ สามารถประมวลผลได้
ช่วงที่ 3 เป็นช่วงที่บริษัทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลาย
ภาษา เน้นให้ใช้งานง่ายขึ้น โดยรหัสคําสั่งเป็นข้อความใกล้เคียงกับ
ภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม ภาษาระดับสูง
(High Level Language) เช่น ภาษาเบสิก ภาษาปาสค่าล ภาษาซี ในส่วน
ของ โปรแกรมแปลภาษามี 2 ลักษณะ คือ อินเทอรพรีตเทอร์ และคอมไพเลอร์
ช่วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นําไปใช้ควบคุมการทํางาน
ระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานรวมกับเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามีรูปแบบการเขียน
รหัสคําสั่งเป็นงานโปรแกรม เชิงวัตถุ (Object – Oriented Programming
Language : OOP) ติดต่อใช้งานกับผู้ใช้โปรแกรมเชิง กราฟฟิก (Graphic User
Interface : GUI) ลดขั้นตอนการจดจําเพื่อพิมพ์รหัสคําสั่งมาเป็นการคลิก เลือก
รายการคําสั่ง และป้ อนค่าควบคุม เช่น ภาษาวิชวลเบสิก (Visual BASIC) ภาษาจา
ว่า (JAVA)
2. ภาษาระดับสูง ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึง
ปัจจุบัน เพราะเป็นภาษาที่มี รูปแบบการเขียนรหัสคําสั่งสั้น สื่อความหมายตรงกับการ
ทํางาน ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้เพื่อเขียน ชุดรหัสคําสั่งควบคุมการทํางาน ใช้
หน่วยความจําระบบน้อย จึงเหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะการสร้างงาน โปรแกรมประยุกต์
งานคํานวณในสาขางานต่าง ๆ เช่น ระบบงานคํานวณทางวิศวกรรมโยธา ระบบงาน
คํานวณทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมใช้งาน มีดังนี้
1) ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction
Code) เป็นภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการของ
สถาบันการศึกษา เพื่อฝึกทักษะการ เขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอร์
ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ รูปแบบที่ใช้งานสั้น มีจํานวนคําสั่งไม่มาก
กฎเกณฑ์การใช้คําสั่งน้อย ใช้ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้สั้น เหมาะสมที่จะใช่ในการเรียน
การสอน เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสควบคุมการ ทํางานระบบ ข้อจํากัด คือ
ประสิทธิภาพของคําสั่งงานมีน้อย เป็นภาษาที่ไม่มีรูปแบบโครงสร้าง จึงไม่เหมาะสมใน
การนําไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานในองค์กร
2) ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language) เป็นภาษา
ในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของภาษาได้รับการออกแบบรหัส
คําสั่งเพื่อ ควบคุมการทํางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท เมนเฟรม และมินิ ต่อมาจึง
ปรับรูปแบบคําสั่งให้ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ได้ข้อดี คือ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการเขียน
รหัสคําสั่งควบคุมการทํางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคําสั่งควบคุม
คอมพิวเตอร์ขนาดให้ญืในการทํางานจริง ข้อจํากัด คือ โครงสร้างภาษามีส่วนประกอบ
ของบรรทัดคําสั่งงานมาก รูปแบบรหัส คําสั่งมีความยาว จดจําคําสั่งได้ยาก ไม่เหมาะกับ
ผู้เริ่มฝึกทักษะสร้างงานโปรแกรม
3) ภาษาปาสคาล (PASCAL) เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับการ
ออกแบบ มาเพื่อใช้เขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี
คือ แต่ละส่วนของโครงสร้างกําหนดหน้าที่การเขียนรหัสคําสั่งควบคุมงาน ชัดเจน
คําสั่งสั้น สื่อความหมายดี จึงจดจําได้งาย ประสิทธิภาพคําสั่งงานมีเลือกใช้งาน
หลากหลาย รูปแบบ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ เหมาะสมกับการนําไปใช้ใน
หลักสูตรการเรียนการสอน ข้อจํากัด คือ ประสิทธิภาพของคําสั่งไม่สามารถใช้
ควบคุมการทํางานในลักษณะ ระบบงานแบบฐานข้อมูล หรือแบบเครือขายได้
แต่อาจใช้พื้นฐานความรู้สําหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษา เดลไฟ (DELPHI) ที่
คําสั่งงานคลายภาษาปาสค่าล
4) ภาษาซี เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คําสั่งมี
ประสิทธิภาพการคํานวณที่ รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบรวมกับภาษาแอสแซมบ
ลีได้ ใช้ควบคุมการทํางานไมโครคอมพิวเตอร์
ข้อดี คือ ภาษาได้รับการพัฒนามาอย่างตอเนื่อง การออกแบบรหัสคําสั่งมี
มาตรฐาน รวมกัน ถึงแม้จะเป็นภาษาซีตางบริษัทก็ใช้งานส่วนคําสั่งพื้นฐานรวมกัน
ได้ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ จึงเหมาะสมสําหรับนําไปใช้ในหลักสูตรการเรียน
การสอน และนําไปใช้สร้างงานโปรแกรมระบบขนาด ใหญ่ได้ ข้อจากัด คือ อยู่ใน
ส่วนของรุนภาษาซีมากกว่า เช่น เทอรโบซีจะไม่สามารถนําไป สร้างระบบงาน
ฐานข้อมูลได้ แต่หากต้องการนําไปสร้างงานโปรแกรมแบบฐานข้อมูล ต้องใช้วิชวล
ซีพลัสพลัส (VisualC++) เป็นต้น
3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program) การเขียนรหัสคําสั่งควบคุมการ
ทํางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตาม ที่มิใช้ ภาษาเครื่อง ระบบไม่สามารถ
ประมวลผลได้ทันที เพราะการทํางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 ดังนั้น
ผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสําหรับแปลรหัสคําสั่งให้เป็นรหัส
เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคําสั่งภาษาคอมพิวเตอร์มีการทํางาน 3 ลักษณะ คือ
1.) โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร(Assembler) ใช้แปลรหัสคําสั่งเฉพาะ
ภาษา แอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง
2.) โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปล
คําสั่งทั้ง โครงสร้างโปรแกรม แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้นต้อง
ประมวลผลให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้ มโปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่อง
ภายหลังเมื่อเรียกใช้โปรแกรมนี้เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้างไว้นั้น จึงไม่ต้อง
เริ่มแปลรหัสให้ ข้อดี คือ ทํางานได้รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปลรหัสให้ทุกครั้ง ข้อจํากัด คือ
ต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ จึง จะสามารถคอม
ไพลปละประมวลผลเพื่อแสดงผลได้
3.) โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะ
การแปล คือ แปลรหัสทีละคําสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทํางาน แล้วจึงแจง
ข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อแก้ไข จากนั้นประมวลผลให้ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด
แต่ไม่มีการสร้างแฟ้ มโปรแกรมให้เพื่อเก็บรหัสคําสั่ง คือ สั่งให้ประมวลผลรหัส
คําสั่งเพื่อดูผลการทํางานได้ทันทีที่ต้องการ โดยไม่ ข้อดี ต้องเขียนโปรแกรมถึง
บรรทัดสุดท้าย ข้อจํากัด คือ หากโปรแกรมมีบรรทัดคําสั่งจํานวนมากจะ
ประมวลผลชาเพราะต้องเริ่ม แปลรหัสคําสั่งให้ที่บรรทัดคําสั่งแรกทุกครั้งที่สั่งให้
ประมวลผล
4.) การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มี
ข้อแนะนําในการนําไปใช้เป็นแนวทางพิจารณา เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้
1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคําสั่งงานของแต่ละภาษา เปรียบเทียบ
กับลักษณะงาน เช่น สร้างโปรแกรมระบบงานคํานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจ
เลือกใช้ภาษาซี ภาษา ปาสคาล
2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบน
เครือข่ายอาจ เลือกใช้ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของโปรแกรมที่มีคําสั่งควบคุมการ
ทํางานได้
3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์และรุนของระบบปฏิบัติการที่ใช้
ควบคุม เพื่อเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานรวมกันกับระบบได้
4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชํานาญอยู่
แล้ว เพื่อไม่ต้อง เสียเวลาเริ่มต้นศึกษาเรียนรู้ภาษาให้ หรือหากเป็นภาษาให้ ควร
เป็นภาษาที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม
5. ควรเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง มีความยืดหยุ่นสูง
เอื้ออํานวยความสะดวกใน การปรับปรุงพัฒนาระบบงานในอนาคต
6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่องการเข้าถึงข้อมูล ต้อง
คัดเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพเรื่องนี้ด้วย
7. พิจารณางบประมาณ ใช้จัดหาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องมาใช้งาน
เพื่อป้ องกัน ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะไม่ก่อปัญหาเมื่อ
ขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม มากขึ้นในอนาคต
8. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทั่วไปเพื่อศึกษา
รวบรวมข้อมูล และ ป้ องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และมีความ
เชื่อมั่นว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญให้ คําปรึกษาหากเกิดปัญหาขึ้น
2.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็นกระบวนการพัฒนา
ระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทํางานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทํางานมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น สําหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจาก
จัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนํามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหา
โปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ในการดําเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้างโปรแกรม
ประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง ดําเนินงาน
ดังนี้
1.) ขั้นกําหนดขอบเขตปัญหา
2.) ขั้นวางแผนและการออกแบบ
3.) ขั้นดําเนินการเขียน คําสั่งงาน
4.) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
5.) ขั้นจัดทําคู่มือระบบ
6.) ขั้นการติดตั้ง
7.) ขั้นการบํารุงรักษา
1.ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition) เริ่มต้นด้วย
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาระบบงานให้ อาจวิเคราะห์งานจาก
ผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป เช่น สมการที่ใช้
คํานวณ การนําเข้า ข้อมูลที่ใช้ประมวลผล กรณีเป็นระบบงานใหญ่ ความ
ซับซ้อนของงาน
ย่อมมากขึ้น อาจเริ่มจากสภาพปัญหา โดย รวบรวมข้อมูลปัญหาและ ความ
ต้องการ ต่าง ๆ จากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อสรุป และศึกษา
ความเป็นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานให้ การกําหนดความต้องการ
(Requirements Specification) เป็นความต้องการ ประสิทธิภาพการทํางาน
จากระบบงานให้ รวบรวมข้อมูลความต้องการโดยใช้เครื่องมือทางสถิติ เช่น
แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสังเกต เพื่อหาข้อสรุปรวมกันที่ชัดเจนระหว่าง
ผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ ระบบ การกําหนดความต้องการนั้นมีแนวทางในการ
ดําเนินงาน ดังนี้
1.) ประสานงานรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวของกับระบบ เพื่อประมวลความต้องการทั้งหมด
2.) จัดทําข้อสรุปความต้องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้ องกัน
ข้อขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนรับมอบระบบงาน
3.) การให้คําจํากัดความตาง ๆ ในเอกสาร ต้องมีความชัดเจน ไม่กํากวม การศึกษาความ
เป็นไปได้ (FeasibilityStudy) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวของกับระบบงานที่เป็นปัจจัย เอื้อต่อการทํางาน
หรืออุปสรรคในการทํางานมีแนวศึกษา ดังนี้
- ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (TechnicalFeasibility)เช่น ศึกษาระบบ
คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่เดิมต้องปรับปรุง (Upgrade) ประสิทธิภาพเครื่องอย่างไรบาง
- ศึกษาความเป็นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility)เช่น ต้นทุน
ค่าใช้จ่าย ในการดําเนินงานระบบงานให้ หรือด้านงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร รวบรวมโดย
นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตําแหน่ง ครูชํานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล
- ศึกษาความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility)เช่น ทักษะเดิม
ของ ผู้ใช้ระบบงานให้ การยอมรับระบบให้ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทํางาน
2. ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design) ขั้นตอนการวางแผนวิ
เคราะลําดับการทํางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธีอัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโด
โคด(Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) ลําดับขั้นตอนการออกแบบ
ระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบการแสดงผล (Output Design) การออกแบบ
รูปแบบการนําเข้า ข้อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี้
1.) จํานวนและประเภทเนื้อหาของข้อมูล (Content) ต้องมีเพียงพอ ครบถ้วน
สมบูรณ์ นําเสนอเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวของกันและแยกเป็นระบบงานย่อย
2.) รูปแบบ (Form) การนําเสนอข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบที่ผู้ใช้ระบบเข้าใจงาย
เช่น การ นําเสนอข้อมูลสรุปด้วยกราฟดีกว่าการนําเสนอข้อมูลสรุปในรูปแบบตาราง
3.) รูปแบบแสดงผล (Output Format) คํานึงว่าเป็นการแสดงผลรายงานทาง
จอภาพ หรือ เครื่องพิมพ์ เพราะการกําหนดรูปแบบ และรายละเอียดมีความแตก
ตางกัน
3. ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน (Coding) เป็นขั้นตอนเขียนคําสั่งควบคุมงาน ด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กําหนดไว้ ต้องลําดับคําสั่งตามขั้นตอนที่
วิเคราะห์ว่า สําหรับขั้นตอนการเขียนคําสั่งงาน มีแนวทางดําเนินงาน ดังนี้
1.) จัดทีมงานในองค์กรวิเคราะห์และพัฒนาระบบงานเอง มีข้อดี คือ ปรับแก้ไข
โปรแกรมได้ ตามต้องการ ได้รับความรวมมือจากคนในองค์กรในระดับดี เพราะเป็นกลุ่ม
บุคคลในองค์กร เดียวกัน ข้อเสีย คือ หากไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็นการ
ทํางานเฉพาะกิจ จะ เกิดความเสี่ยงในระบบงาน เช่น งานลาชา หรืองานไม่เสร็จสิ้นตาม
กําหนด
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging) การทดสอบการ
ทํางานของโปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดยพัฒนา ระบบงานเอง
โดยใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คําสั่ง และ
วิเคราะห์ เปรียบเทียบผลลัพธ์การทํางานกับจุดประสงค์ของงาน หากไม่มีข้อผิดพลาด
ใด ๆ จึงสงมอบการทําสอบ อีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง ทั้งนี้ข้อผิดพลาด
ที่เกิดจากการทดสอบ โดยสรุปมี 2 รูปแบบ คือ
1.) จัดซื้อโปรแกรมสําเร็จรูป ข้อดี คือ มีโปรแกรมที่นํามาใช้กับงานได้ทันที งาน
ขององค์กรไม่ หยุดชะงัก และมีบริการอบรมการใช้โปรแกรม ส่วนใหญ่โปรแกรม
ออกแบบมาดี จึงใช้งาน ง่าย ข้อเสีย คือ โปรแกรมสําเร็จรูปมีข้อจํากัดในตัวเอง ไม่
สามารถตอบสนองความ ต้องการผู้ใช้ระบบได้ครอบคลุมทุกด้าน และผู้ใช้ไม่
สามารถแก้ไขข้อจํากัดตาง ๆ ของ โปรแกรมได้ด้วยต้นเอง
2.) จัดจ้างบริษัทพัฒนาระบบ ข้อดี คือ พัฒนาระบบงานได้รวดเร็วเพราะมี
ทีมงานที่มีความ ชํานาญงานระบบงานตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ ข้อเสีย
คือ ค่าจ้างการพัฒนามี ราค่าสูง เพราะต้องวิเคราะห์ระบบงานให้ และรวมราคาการ
บํารุงรักษาโปรแกรมใน อนาคตไวแล้ว
1.) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คําสั่งผิดรูปแบบไวยากรณ์ที่ภาษากําหนดไว้
(Syntex Errors)
2.) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (LogicError) กรณี
ระบบงานขนาดใหญ่ การทดสอบระบบงานให้ โดยผู้ใช้ระบบอาจต้องฝึกอบรมการใช้
โปรแกรมก่อนแล้วจึงหาข้อสรุปข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น มีแนวทางจัดฝึกอบรมการใช้
โปรแกรม ดังนี้
- ฝึกอบรมโดยวิทยากร ใช้วิธี บรรยาย สาธิต และจําลองข้อมูลนําเข้า เพื่อ
ทดสอบระบบ
- เรียนรู้ด้วยต้นเอง ผู้ใช้ระบบศึกษาอ่านจากคู่มือระบบงาน หรือใช้ซีดีรอม
เรียนรู้ด้วยต้นเอง
5. ขั้นจัดทาคู่มือระบบ (Documentation) เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ
ผู้พัฒนาระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทําคู่มือการใช้ ระบบงานให้ คู่มือ
ระบบงานมีความสําคัญมาก เพราะเปรียบเสมือนกับพิมพ์เขียวของบาน คู่มือระบบ
จึงถูกใช้เพื่อศึกษารูปแบบระบบงานเพื่อพัฒนาระบบในอนาคต คู่มือระบบมีหลาย
รูปแบบ เช่น
1.) คู่มือสําหรับผู้ใช้ระบบ (User Documentation) เป็นส่วนอธิบายขั้นตอน
การทํางานของ ระบบเพื่อให้ผู้ใช้ระบบเรียนรู้การทํางาน เช่น วิธีกรอกข้อมูลในส่วน
ตาง ๆ
2.) คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทําสําหรับผู้ดูแลระบบ เช่น
ขั้นตอนการ ติดตั้งโปรแกรม การแก้ปัญหาระบบงานขั้นพื้นฐาน
6. ขั้นการติดตั้ง (Implementation) เป็นขั้นตอนนําระบบให้ที่ผ่านการทดสอบ และ
ได้รับการยอมรับจากกลุ่มตัวแทนผู้ใช้ระบบว่า สามารถนํามาทดแทนระบบงานเดิม มี
แนวทางใช้ระบบงานให้ ดังนี้
1.) ติดตั้งระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทั้งหมด และใช้ระบบงานให้ทันที (Direct
Changeover) วิธีนี้สะดวกกับผู้ใช้คือ ทํางานระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูง หาก
ระบบงานให้มีปัญหาจะไม่สามารถใช้ระบบงานระบบใดได้เลย
2.) ติดตั้งระบบแบบคู่ขนาน (ParallelRunning) เป็นการทํางาน 2 ระบบในคราว
เดียวกัน เพื่อป้ องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบงานให้ ยังคงมีระบบงานเดิมสํารองความ
ผิดพลาด ที่ไม่อาจคาดคิด เกิดขึ้นได้ แต่เป็นการเพิ่มภาระงานของผู้ใช้ระบบที่ต้องทํางาน
ทั้ง 2 ระบบ จนกว่าแน่ใจว่าระบบงานให้ สามารถใช้รองรับการทํางานได้โดยไม่มี
ข้อผิดพลาดใด ๆ
3.) ติดตั้งระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็นการติดตั้งระบบ
ย่อยทีละระบบจาก ระบบงานทั้งหมด เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพการทํางาน
หากมีข้อผิดพลาดที่เฟสใดจะ ดําเนินการแก้ไขเฉพาะเฟสนั้นก่อน จากนั้นจึง
ขยายจนครบทั้งระบบ
4.) ติดตั้งระบบแบบโครงการนํารอง (Pilot Project) พิจารณาจัดทํา
เฉพาะงานของหน่วยงาน ในองค์กรที่มีความสําคัญและความจําเป็น พิจารณา
ผลงานที่ได้ หากไม่มีปัญหาเรื่องใด จึง ขยายระบบงานตอไป
7. ขั้นการบารุงรักษา (Maintenance) เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้ง
ระบบ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา สาเหตุที่ต้อง บํารุงรักษา มีดังนี้
1.) การบํารุงรักษาด้วยการแก้ไขระบบให้ถูกต้อง (Corrective
Maintenance) เป็น ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นหลังจากมีการใช้ข้อมูลจริงใน
ระบบงาน ซี่งตรวจสอบไม่พบในขั้นการ ทดสอบระบบ
2.) การบํารุงรักษาด้วยการปรับปรุงให้ดีขึ้น (Perfective Maintenance)
เป็นการปรับ ระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุงการคํานวณภาษีที่มี
การเปลี่ยนแปลงไปตาม นโยบายของรัฐ
3.) การบํารุงรักษาด้วยการป้ องกัน (Preventive Maintenance)เช่น
ป้ องกันการเกิดความ สูญหายของข้อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟ้ า การทําระบบ
สํารองข้อมูล การป้ องกันไวรัส คอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุกข้อมูล (Hacker)
3.แนวทางสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงาน
โปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคํานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งาน
วิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ใน
สาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลําดับการทํางาน และลําดับคําสั่ง
ควบคุมการทํางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทํา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะ
ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงาน
ได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดําเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้
1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะ
รูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือ
สมการคํานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ
วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อยดังนี้
1.) สิ่งที่ต้องการ
2.) สมการคํานวณ
3.) ข้อมูล นําเข้า
4.) การแสดงผล
5.) กําหนดคุณสมบัติตัวแปร
6.) ลําดับขั้นตอนการทํางาน
2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่าง
มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลําดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผล
ลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคําสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมี
ข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคําสั่งควบคุมตามลําดับการ
ทํางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการวางแผน ลําดับการทํางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้
คําสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคําสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้
กําหนดไว้
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็น
คนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คําสั่งงาน และ
ทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้
ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง
ระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมี
ข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะ
ถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน
5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทํางาน
ถูกต้อง ต้องจัดทําเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ
รวมรวมเอกสารที่จัดทําจาก 1 – 4 มารวมเล่ม
4.การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน
การลําดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทํางานของ
คอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลําดับ การควบคุมการทํางาน โดยใช้สัญ
ลักษณที่กําหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทํางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้
กล่าวถึงการลําดับขั้นตอนการทํางานด้วยผังงานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้
1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
โปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนําในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้
ศึกษา ตรวจสอบลําดับการทํางานได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้
1. ทิศทางการทํางานต้องเรียงลําดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
2. ใช้ชื่อหนวยความจํา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
3. ลูกศรกํากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเท่านั้น
4. เส้นทางการทํางานหามมีจุดตัดการทํางาน
5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทํางานใดๆ
6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน
7. หากมีคําอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
3. ข้อจากัดของการเขียนผังงาน
นักเขียนโปรแกรมบางคนไม่นิยมการเขียนผังงานก่อนที่จะเขียนโปรแกรม เพราะ
เสียเวลา ในการเขียนเป็นรูปภาพหรือสัญลักษณ์ต่างๆ นอกจากนี้ยังมีเหตุผลอื่นๆ ได้แก่
1. ผังงานเป็นการสื่อความหมายระหว่างบุคคลต่อบุคคลมากกว่าที่จะสื่อ
ความหมายบุคคลกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษา
ใดภาษาหนึ่ง ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถรับรู้และเข้าใจว่าผังงานต้องการอะไร
2. ผังงานไม่สามารถแทนลักษณะคาสั่งของภาษาคอมพิวเตอร์บางคาสั่งได้อย่าง
ชัดเจน
3. กรณีที่งานมีขนาดใหญ่ ผังงานจะมีขนาดใหญ่ด้วย ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข
จะทาได้ยาก ควรเขียนแยกเป็นส่วน ๆ แล้วค่อยสร้างจุดเชื่อมโยงในแต่ละส่วน
4. การเขียนผังงานอาจเป็นการสิ้นเปลืองกระดาษและอุปกรณ์อื่นๆ ประกอบการ
เขียนภาพ ทั้ง ๆ ที่การอธิบายงานหรือการเขียนโปรแกรมจะใช้เนื้อที่เพียง 3 -4 บรรทัด
เท่านั้น
4. วิธีการเขียนผังงานที่ดี การเขียนผังงานควรคานึงถึงสิ่งต่าง ๆ ดังนี้
1. ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้
2. ผังงานจะต้องมีจุดเริ่มต้น (Start)และสิ้นสุด (Stop/End/Finish)
3. ใช้หัวลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่างหรือซ้ายไปขวา (ยกเว้น
ที่ต้องทาซํ้าา)
4. ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า 1 เส้นและออก 1 เส้นโดยไม่มีการ
ปล่อยจุดใดจุดหนึ่งไว้
5. เขียนคาอธิบายการทางานในแต่ละขั้นตอนโดยใช้ข้อความที่สั้น กะทัดรัด ชัดเจน
และเข้าใจได้ง่าย
6. ควรหลีกเลี่ยงโยงเส้นไปมาทาให้เกิดจุดตัดมากเพราะจะทาให้เกิดข้อผิดพลาด
ง่าย ควรใช้สัญลักษณ์เชื่อมจุดต่อเนื่องแทน
7. ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน
8. ผังงานที่ดีควรมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและชัดเจน สามารถเข้าใจ
และติดตามขั้นตอนได้ง่าย
9. ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนไปเขียนโปรแกรม
5.กรณีศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน
การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทํานั้น สิ่งที่สําคัญที่สุดในการ
แก้ปัญหา จะต้องดําเนินการตามขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลําดับขั้นตอนการ
ทํางานว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนเป็นลําดับถัดไป จนกระทั่ง
ถึงขั้นตอนสุดท้าย
การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทําเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็นขั้นตอน
ที่สําคัญที่สุด โดยจะต้องกําหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวมรายละเอียดของ
ปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทําอย่างไร ผลลัพธ์ที่
ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้ อนเข้าเครื่องเป็นอย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์
เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนําเข้า (Input) วิธีการ
ประมวลผล (Process) และการกําหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม
หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสําคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทํางาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานตามลําดับดังนี้
สิ่งที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์
ทํางานงานแต่ละชนิดอาจต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง
และควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการอาจจะดูที่คําสั่ง
หรือโจทย์ของงานนั้นๆว่าต้องการให้ทําอะไรบ้าง
ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือ
รูปแบบของผลลัพธ์ที่เราต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงออกมา รายละเอียดที่
ต้องการในรายงานหรือผลลัพธ์นั้น ๆ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมที่จะต้อง
กําหนดรูปแบบว่างานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทํานั้น ควรจะมีรายละเอียด
อะไร เพื่อความสะดวกของผู้นําผลลัพธ์ไปใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่
จําเป็นและมีความสําคัญ และต้องพิจารณาอย่างละเอียด เพราะการวิเคราะห์
รายงานจะทําให้เราทราบจุดหมายที่ต้องการ หรือเป็นการกําหนดขอบเขตของ
งานที่เราต้องการทํานั่นเอง
ข้อมูลนําเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทําต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจาก
ที่เราได้ลักษณะของรายงานแน่นอนแล้ว เราก็มาพิจารณาข้อมูลนําเข้านั้น
จะต้องดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขั้นตอนในการประมวลผลด้วย
ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกําหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการ
อ้างถึงข้อมูล และการเขียนโปรแกรม การตั้งชื่อตัวแปรควรจะตั้งให้มีความหมายและ
เกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้ากับหลักเกณฑ์ของภาษาคอมพิวเตอร์
นั้นๆ
วิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนของวิธีการ หรือการคํานวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์
ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การสั่งให้เครื่องรับข้อมูลเข้าไปทําการประมวลผลและ
แสดงผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องการทํางานทุกอย่างตามลําดับ จึง
จําเป็นจะต้องจัดลําดับการทํางานตามลําดับก่อนหลังให้ละเอียดและถูกต้องทุก
ขั้นตอน
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
- จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร
พื้นที่ = ความกว้าง xความยาว
1. สิ่งที่ต้องการ : หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง
x ความยาว
2. รูปแบบผลลัพธ์ : The area is _______
3. ข้อมูลนําเข้า : ความกว้าง และ ความยาว
4. ตัวแปร : L = ความยาว
W = ความกว้าง
Area = พื้นที่
5. วิธีประมวลผล :
1 ) รับข้อมูล L
2 ) รับข้อมูล W
3 ) ประมวลผล (คํานวณหาพื้นที่) Area = L*W
4 ) แสดงผล “The area is _____” 5 )จบการทํางาน
-ลําดับขั้นการทํางานด้วยผังโปรแกรม
1. นายกวิน หลิมย่านกวย เลขที่ 1
2. นายกิตติศักดิ์ จันทวาส เลขที่ 2
3. นายพาคร พรหมวรรณ เลขที่ 5
4. นายขจรยศ พิลาวงษ์ เลขที่ 6
5. นางสาวปทิตตา อินทรโสภา เลขที่ 10
6. นางสาวชลัญธร สืบกลัด เลขที่ 25
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

More Related Content

What's hot

การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ B'Benz Sunisa
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์benz18
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊คThidaporn Kaewta
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาtyt13
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีssuser5adb53
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Primprapa Palmy Eiei
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต
 

What's hot (20)

การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
mindmap
mindmapmindmap
mindmap
 

Similar to การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ Last'z Regrets
 
สอบ
สอบสอบ
สอบRewTD89
 

Similar to การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ (20)

คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
2
22
2
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
1236363
12363631236363
1236363
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
สอบ
สอบสอบ
สอบ
 

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

  • 1.
  • 4. 1. ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์(Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ ผู้พัฒนาภาษากําหนดรหัสคําสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทํางานอุปกรณ์ในระบบ คอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คําสั่งอยู่ในรูปแบบ เลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้าน ประสิทธิภาพคําสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษา ใดมีคําสั่งที่มีประสิทธิภาพควบคุมการทํางานตามต้องการ "เพื่อเลือกไปใช้สร้าง โ ป ร แ ก ร ม ป ร ะ ยุ ก ต์ง า น ต า ม ที่ ไ ด้ก า ห น ด จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ไ ว้"
  • 5. 1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับ การประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นคําสั่ง ควบคุมการทํางาน มี พัฒนาการของการสร้างรหัสคําสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน ดังนี้ ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคํานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทํางาน ลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบรหัสคําสั่ง เป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) ผู้ที่จะเขียน รหัสคําสั่งควบคุมระบบได้จึงจํากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ในห้องปฏิบัติการ ทดลองดําเนินงาน
  • 6. ช่วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคําสั่งเป็นชุดเลขฐานสองมีความยุ่งยากในการ จําชุดของรหัสคําสั่ง ควบคุมการทํางาน จึงมีผู้พัฒนารหัสคําสั่งเป็นอักษร ภาษาอังกฤษรวมกับเลขฐานอื่น เช่น เลขฐานสิบหก เพื่อให้เขียนคําสั่งควบคุม งานง่ายขึ้น ตั้งชื่อภาษาว่า แอสแซมบลีหรือภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) พร้อมกันนี้ต้องพัฒนาโปรแกรมแปลภาษาขึ้นมาด้วย (Translator Program) คือโปรแกรมแอสแซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปล รหัสคําสั่งกลับมาเป็นเลขฐานสอง เพื่อให้ระบบ สามารถประมวลผลได้ ช่วงที่ 3 เป็นช่วงที่บริษัทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลาย ภาษา เน้นให้ใช้งานง่ายขึ้น โดยรหัสคําสั่งเป็นข้อความใกล้เคียงกับ ภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม ภาษาระดับสูง (High Level Language) เช่น ภาษาเบสิก ภาษาปาสค่าล ภาษาซี ในส่วน ของ โปรแกรมแปลภาษามี 2 ลักษณะ คือ อินเทอรพรีตเทอร์ และคอมไพเลอร์
  • 7. ช่วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นําไปใช้ควบคุมการทํางาน ระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานรวมกับเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามีรูปแบบการเขียน รหัสคําสั่งเป็นงานโปรแกรม เชิงวัตถุ (Object – Oriented Programming Language : OOP) ติดต่อใช้งานกับผู้ใช้โปรแกรมเชิง กราฟฟิก (Graphic User Interface : GUI) ลดขั้นตอนการจดจําเพื่อพิมพ์รหัสคําสั่งมาเป็นการคลิก เลือก รายการคําสั่ง และป้ อนค่าควบคุม เช่น ภาษาวิชวลเบสิก (Visual BASIC) ภาษาจา ว่า (JAVA)
  • 8. 2. ภาษาระดับสูง ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึง ปัจจุบัน เพราะเป็นภาษาที่มี รูปแบบการเขียนรหัสคําสั่งสั้น สื่อความหมายตรงกับการ ทํางาน ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้เพื่อเขียน ชุดรหัสคําสั่งควบคุมการทํางาน ใช้ หน่วยความจําระบบน้อย จึงเหมาะกับผู้เริ่มฝึกทักษะการสร้างงาน โปรแกรมประยุกต์ งานคํานวณในสาขางานต่าง ๆ เช่น ระบบงานคํานวณทางวิศวกรรมโยธา ระบบงาน คํานวณทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมใช้งาน มีดังนี้ 1) ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการของ สถาบันการศึกษา เพื่อฝึกทักษะการ เขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ รูปแบบที่ใช้งานสั้น มีจํานวนคําสั่งไม่มาก กฎเกณฑ์การใช้คําสั่งน้อย ใช้ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้สั้น เหมาะสมที่จะใช่ในการเรียน การสอน เพื่อฝึกทักษะการเขียนรหัสควบคุมการ ทํางานระบบ ข้อจํากัด คือ ประสิทธิภาพของคําสั่งงานมีน้อย เป็นภาษาที่ไม่มีรูปแบบโครงสร้าง จึงไม่เหมาะสมใน การนําไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานในองค์กร
  • 9. 2) ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language) เป็นภาษา ในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของภาษาได้รับการออกแบบรหัส คําสั่งเพื่อ ควบคุมการทํางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท เมนเฟรม และมินิ ต่อมาจึง ปรับรูปแบบคําสั่งให้ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ได้ข้อดี คือ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการเขียน รหัสคําสั่งควบคุมการทํางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคําสั่งควบคุม คอมพิวเตอร์ขนาดให้ญืในการทํางานจริง ข้อจํากัด คือ โครงสร้างภาษามีส่วนประกอบ ของบรรทัดคําสั่งงานมาก รูปแบบรหัส คําสั่งมีความยาว จดจําคําสั่งได้ยาก ไม่เหมาะกับ ผู้เริ่มฝึกทักษะสร้างงานโปรแกรม
  • 10. 3) ภาษาปาสคาล (PASCAL) เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับการ ออกแบบ มาเพื่อใช้เขียนรหัสคําสั่งควบคุมการทํางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ แต่ละส่วนของโครงสร้างกําหนดหน้าที่การเขียนรหัสคําสั่งควบคุมงาน ชัดเจน คําสั่งสั้น สื่อความหมายดี จึงจดจําได้งาย ประสิทธิภาพคําสั่งงานมีเลือกใช้งาน หลากหลาย รูปแบบ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ เหมาะสมกับการนําไปใช้ใน หลักสูตรการเรียนการสอน ข้อจํากัด คือ ประสิทธิภาพของคําสั่งไม่สามารถใช้ ควบคุมการทํางานในลักษณะ ระบบงานแบบฐานข้อมูล หรือแบบเครือขายได้ แต่อาจใช้พื้นฐานความรู้สําหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษา เดลไฟ (DELPHI) ที่ คําสั่งงานคลายภาษาปาสค่าล
  • 11. 4) ภาษาซี เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คําสั่งมี ประสิทธิภาพการคํานวณที่ รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบรวมกับภาษาแอสแซมบ ลีได้ ใช้ควบคุมการทํางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ ภาษาได้รับการพัฒนามาอย่างตอเนื่อง การออกแบบรหัสคําสั่งมี มาตรฐาน รวมกัน ถึงแม้จะเป็นภาษาซีตางบริษัทก็ใช้งานส่วนคําสั่งพื้นฐานรวมกัน ได้ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรียนรู้ จึงเหมาะสมสําหรับนําไปใช้ในหลักสูตรการเรียน การสอน และนําไปใช้สร้างงานโปรแกรมระบบขนาด ใหญ่ได้ ข้อจากัด คือ อยู่ใน ส่วนของรุนภาษาซีมากกว่า เช่น เทอรโบซีจะไม่สามารถนําไป สร้างระบบงาน ฐานข้อมูลได้ แต่หากต้องการนําไปสร้างงานโปรแกรมแบบฐานข้อมูล ต้องใช้วิชวล ซีพลัสพลัส (VisualC++) เป็นต้น
  • 12. 3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program) การเขียนรหัสคําสั่งควบคุมการ ทํางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตาม ที่มิใช้ ภาษาเครื่อง ระบบไม่สามารถ ประมวลผลได้ทันที เพราะการทํางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 ดังนั้น ผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสําหรับแปลรหัสคําสั่งให้เป็นรหัส เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคําสั่งภาษาคอมพิวเตอร์มีการทํางาน 3 ลักษณะ คือ 1.) โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร(Assembler) ใช้แปลรหัสคําสั่งเฉพาะ ภาษา แอสแซมบลีให้เป็นเลขฐานสอง 2.) โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปล คําสั่งทั้ง โครงสร้างโปรแกรม แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้นต้อง ประมวลผลให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้ มโปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่อง ภายหลังเมื่อเรียกใช้โปรแกรมนี้เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้างไว้นั้น จึงไม่ต้อง เริ่มแปลรหัสให้ ข้อดี คือ ทํางานได้รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปลรหัสให้ทุกครั้ง ข้อจํากัด คือ ต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ จึง จะสามารถคอม ไพลปละประมวลผลเพื่อแสดงผลได้
  • 13. 3.) โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะ การแปล คือ แปลรหัสทีละคําสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทํางาน แล้วจึงแจง ข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อแก้ไข จากนั้นประมวลผลให้ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้างแฟ้ มโปรแกรมให้เพื่อเก็บรหัสคําสั่ง คือ สั่งให้ประมวลผลรหัส คําสั่งเพื่อดูผลการทํางานได้ทันทีที่ต้องการ โดยไม่ ข้อดี ต้องเขียนโปรแกรมถึง บรรทัดสุดท้าย ข้อจํากัด คือ หากโปรแกรมมีบรรทัดคําสั่งจํานวนมากจะ ประมวลผลชาเพราะต้องเริ่ม แปลรหัสคําสั่งให้ที่บรรทัดคําสั่งแรกทุกครั้งที่สั่งให้ ประมวลผล
  • 14. 4.) การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มี ข้อแนะนําในการนําไปใช้เป็นแนวทางพิจารณา เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคําสั่งงานของแต่ละภาษา เปรียบเทียบ กับลักษณะงาน เช่น สร้างโปรแกรมระบบงานคํานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจ เลือกใช้ภาษาซี ภาษา ปาสคาล 2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบน เครือข่ายอาจ เลือกใช้ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของโปรแกรมที่มีคําสั่งควบคุมการ ทํางานได้ 3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์และรุนของระบบปฏิบัติการที่ใช้ ควบคุม เพื่อเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานรวมกันกับระบบได้ 4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชํานาญอยู่ แล้ว เพื่อไม่ต้อง เสียเวลาเริ่มต้นศึกษาเรียนรู้ภาษาให้ หรือหากเป็นภาษาให้ ควร เป็นภาษาที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม
  • 15. 5. ควรเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง มีความยืดหยุ่นสูง เอื้ออํานวยความสะดวกใน การปรับปรุงพัฒนาระบบงานในอนาคต 6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่องการเข้าถึงข้อมูล ต้อง คัดเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพเรื่องนี้ด้วย 7. พิจารณางบประมาณ ใช้จัดหาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องมาใช้งาน เพื่อป้ องกัน ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะไม่ก่อปัญหาเมื่อ ขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม มากขึ้นในอนาคต 8. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทั่วไปเพื่อศึกษา รวบรวมข้อมูล และ ป้ องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และมีความ เชื่อมั่นว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญให้ คําปรึกษาหากเกิดปัญหาขึ้น
  • 16. 2.การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็นกระบวนการพัฒนา ระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทํางานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทํางานมี ประสิทธิภาพมากขึ้น สําหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจาก จัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนํามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหา โปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ในการดําเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้างโปรแกรม ประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง ดําเนินงาน ดังนี้ 1.) ขั้นกําหนดขอบเขตปัญหา 2.) ขั้นวางแผนและการออกแบบ 3.) ขั้นดําเนินการเขียน คําสั่งงาน 4.) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 5.) ขั้นจัดทําคู่มือระบบ 6.) ขั้นการติดตั้ง 7.) ขั้นการบํารุงรักษา
  • 17. 1.ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition) เริ่มต้นด้วย การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาระบบงานให้ อาจวิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป เช่น สมการที่ใช้ คํานวณ การนําเข้า ข้อมูลที่ใช้ประมวลผล กรณีเป็นระบบงานใหญ่ ความ ซับซ้อนของงาน ย่อมมากขึ้น อาจเริ่มจากสภาพปัญหา โดย รวบรวมข้อมูลปัญหาและ ความ ต้องการ ต่าง ๆ จากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อสรุป และศึกษา ความเป็นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานให้ การกําหนดความต้องการ (Requirements Specification) เป็นความต้องการ ประสิทธิภาพการทํางาน จากระบบงานให้ รวบรวมข้อมูลความต้องการโดยใช้เครื่องมือทางสถิติ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสังเกต เพื่อหาข้อสรุปรวมกันที่ชัดเจนระหว่าง ผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ ระบบ การกําหนดความต้องการนั้นมีแนวทางในการ ดําเนินงาน ดังนี้
  • 18. 1.) ประสานงานรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวของกับระบบ เพื่อประมวลความต้องการทั้งหมด 2.) จัดทําข้อสรุปความต้องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้ องกัน ข้อขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนรับมอบระบบงาน 3.) การให้คําจํากัดความตาง ๆ ในเอกสาร ต้องมีความชัดเจน ไม่กํากวม การศึกษาความ เป็นไปได้ (FeasibilityStudy) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวของกับระบบงานที่เป็นปัจจัย เอื้อต่อการทํางาน หรืออุปสรรคในการทํางานมีแนวศึกษา ดังนี้ - ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (TechnicalFeasibility)เช่น ศึกษาระบบ คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่เดิมต้องปรับปรุง (Upgrade) ประสิทธิภาพเครื่องอย่างไรบาง - ศึกษาความเป็นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility)เช่น ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ในการดําเนินงานระบบงานให้ หรือด้านงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร รวบรวมโดย นางพวงพรรณ สุพิพัฒนโมลี ตําแหน่ง ครูชํานาญการ โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล - ศึกษาความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility)เช่น ทักษะเดิม ของ ผู้ใช้ระบบงานให้ การยอมรับระบบให้ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทํางาน
  • 19. 2. ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design) ขั้นตอนการวางแผนวิ เคราะลําดับการทํางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธีอัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโด โคด(Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) ลําดับขั้นตอนการออกแบบ ระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบการแสดงผล (Output Design) การออกแบบ รูปแบบการนําเข้า ข้อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี้ 1.) จํานวนและประเภทเนื้อหาของข้อมูล (Content) ต้องมีเพียงพอ ครบถ้วน สมบูรณ์ นําเสนอเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวของกันและแยกเป็นระบบงานย่อย 2.) รูปแบบ (Form) การนําเสนอข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบที่ผู้ใช้ระบบเข้าใจงาย เช่น การ นําเสนอข้อมูลสรุปด้วยกราฟดีกว่าการนําเสนอข้อมูลสรุปในรูปแบบตาราง 3.) รูปแบบแสดงผล (Output Format) คํานึงว่าเป็นการแสดงผลรายงานทาง จอภาพ หรือ เครื่องพิมพ์ เพราะการกําหนดรูปแบบ และรายละเอียดมีความแตก ตางกัน
  • 20. 3. ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน (Coding) เป็นขั้นตอนเขียนคําสั่งควบคุมงาน ด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กําหนดไว้ ต้องลําดับคําสั่งตามขั้นตอนที่ วิเคราะห์ว่า สําหรับขั้นตอนการเขียนคําสั่งงาน มีแนวทางดําเนินงาน ดังนี้ 1.) จัดทีมงานในองค์กรวิเคราะห์และพัฒนาระบบงานเอง มีข้อดี คือ ปรับแก้ไข โปรแกรมได้ ตามต้องการ ได้รับความรวมมือจากคนในองค์กรในระดับดี เพราะเป็นกลุ่ม บุคคลในองค์กร เดียวกัน ข้อเสีย คือ หากไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็นการ ทํางานเฉพาะกิจ จะ เกิดความเสี่ยงในระบบงาน เช่น งานลาชา หรืองานไม่เสร็จสิ้นตาม กําหนด
  • 21. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging) การทดสอบการ ทํางานของโปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดยพัฒนา ระบบงานเอง โดยใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คําสั่ง และ วิเคราะห์ เปรียบเทียบผลลัพธ์การทํางานกับจุดประสงค์ของงาน หากไม่มีข้อผิดพลาด ใด ๆ จึงสงมอบการทําสอบ อีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง ทั้งนี้ข้อผิดพลาด ที่เกิดจากการทดสอบ โดยสรุปมี 2 รูปแบบ คือ
  • 22. 1.) จัดซื้อโปรแกรมสําเร็จรูป ข้อดี คือ มีโปรแกรมที่นํามาใช้กับงานได้ทันที งาน ขององค์กรไม่ หยุดชะงัก และมีบริการอบรมการใช้โปรแกรม ส่วนใหญ่โปรแกรม ออกแบบมาดี จึงใช้งาน ง่าย ข้อเสีย คือ โปรแกรมสําเร็จรูปมีข้อจํากัดในตัวเอง ไม่ สามารถตอบสนองความ ต้องการผู้ใช้ระบบได้ครอบคลุมทุกด้าน และผู้ใช้ไม่ สามารถแก้ไขข้อจํากัดตาง ๆ ของ โปรแกรมได้ด้วยต้นเอง 2.) จัดจ้างบริษัทพัฒนาระบบ ข้อดี คือ พัฒนาระบบงานได้รวดเร็วเพราะมี ทีมงานที่มีความ ชํานาญงานระบบงานตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ ข้อเสีย คือ ค่าจ้างการพัฒนามี ราค่าสูง เพราะต้องวิเคราะห์ระบบงานให้ และรวมราคาการ บํารุงรักษาโปรแกรมใน อนาคตไวแล้ว
  • 23. 1.) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คําสั่งผิดรูปแบบไวยากรณ์ที่ภาษากําหนดไว้ (Syntex Errors) 2.) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (LogicError) กรณี ระบบงานขนาดใหญ่ การทดสอบระบบงานให้ โดยผู้ใช้ระบบอาจต้องฝึกอบรมการใช้ โปรแกรมก่อนแล้วจึงหาข้อสรุปข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น มีแนวทางจัดฝึกอบรมการใช้ โปรแกรม ดังนี้ - ฝึกอบรมโดยวิทยากร ใช้วิธี บรรยาย สาธิต และจําลองข้อมูลนําเข้า เพื่อ ทดสอบระบบ - เรียนรู้ด้วยต้นเอง ผู้ใช้ระบบศึกษาอ่านจากคู่มือระบบงาน หรือใช้ซีดีรอม เรียนรู้ด้วยต้นเอง
  • 24. 5. ขั้นจัดทาคู่มือระบบ (Documentation) เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พัฒนาระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทําคู่มือการใช้ ระบบงานให้ คู่มือ ระบบงานมีความสําคัญมาก เพราะเปรียบเสมือนกับพิมพ์เขียวของบาน คู่มือระบบ จึงถูกใช้เพื่อศึกษารูปแบบระบบงานเพื่อพัฒนาระบบในอนาคต คู่มือระบบมีหลาย รูปแบบ เช่น 1.) คู่มือสําหรับผู้ใช้ระบบ (User Documentation) เป็นส่วนอธิบายขั้นตอน การทํางานของ ระบบเพื่อให้ผู้ใช้ระบบเรียนรู้การทํางาน เช่น วิธีกรอกข้อมูลในส่วน ตาง ๆ 2.) คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทําสําหรับผู้ดูแลระบบ เช่น ขั้นตอนการ ติดตั้งโปรแกรม การแก้ปัญหาระบบงานขั้นพื้นฐาน
  • 25. 6. ขั้นการติดตั้ง (Implementation) เป็นขั้นตอนนําระบบให้ที่ผ่านการทดสอบ และ ได้รับการยอมรับจากกลุ่มตัวแทนผู้ใช้ระบบว่า สามารถนํามาทดแทนระบบงานเดิม มี แนวทางใช้ระบบงานให้ ดังนี้ 1.) ติดตั้งระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทั้งหมด และใช้ระบบงานให้ทันที (Direct Changeover) วิธีนี้สะดวกกับผู้ใช้คือ ทํางานระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูง หาก ระบบงานให้มีปัญหาจะไม่สามารถใช้ระบบงานระบบใดได้เลย 2.) ติดตั้งระบบแบบคู่ขนาน (ParallelRunning) เป็นการทํางาน 2 ระบบในคราว เดียวกัน เพื่อป้ องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบงานให้ ยังคงมีระบบงานเดิมสํารองความ ผิดพลาด ที่ไม่อาจคาดคิด เกิดขึ้นได้ แต่เป็นการเพิ่มภาระงานของผู้ใช้ระบบที่ต้องทํางาน ทั้ง 2 ระบบ จนกว่าแน่ใจว่าระบบงานให้ สามารถใช้รองรับการทํางานได้โดยไม่มี ข้อผิดพลาดใด ๆ
  • 26. 3.) ติดตั้งระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็นการติดตั้งระบบ ย่อยทีละระบบจาก ระบบงานทั้งหมด เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพการทํางาน หากมีข้อผิดพลาดที่เฟสใดจะ ดําเนินการแก้ไขเฉพาะเฟสนั้นก่อน จากนั้นจึง ขยายจนครบทั้งระบบ 4.) ติดตั้งระบบแบบโครงการนํารอง (Pilot Project) พิจารณาจัดทํา เฉพาะงานของหน่วยงาน ในองค์กรที่มีความสําคัญและความจําเป็น พิจารณา ผลงานที่ได้ หากไม่มีปัญหาเรื่องใด จึง ขยายระบบงานตอไป
  • 27. 7. ขั้นการบารุงรักษา (Maintenance) เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้ง ระบบ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา สาเหตุที่ต้อง บํารุงรักษา มีดังนี้ 1.) การบํารุงรักษาด้วยการแก้ไขระบบให้ถูกต้อง (Corrective Maintenance) เป็น ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นหลังจากมีการใช้ข้อมูลจริงใน ระบบงาน ซี่งตรวจสอบไม่พบในขั้นการ ทดสอบระบบ 2.) การบํารุงรักษาด้วยการปรับปรุงให้ดีขึ้น (Perfective Maintenance) เป็นการปรับ ระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุงการคํานวณภาษีที่มี การเปลี่ยนแปลงไปตาม นโยบายของรัฐ 3.) การบํารุงรักษาด้วยการป้ องกัน (Preventive Maintenance)เช่น ป้ องกันการเกิดความ สูญหายของข้อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟ้ า การทําระบบ สํารองข้อมูล การป้ องกันไวรัส คอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุกข้อมูล (Hacker)
  • 28. 3.แนวทางสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงาน โปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคํานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งาน วิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ใน สาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลําดับการทํางาน และลําดับคําสั่ง ควบคุมการทํางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทํา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงาน ได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดําเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้
  • 29. 1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะ รูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือ สมการคํานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อยดังนี้ 1.) สิ่งที่ต้องการ 2.) สมการคํานวณ 3.) ข้อมูล นําเข้า 4.) การแสดงผล 5.) กําหนดคุณสมบัติตัวแปร 6.) ลําดับขั้นตอนการทํางาน
  • 30. 2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่าง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลําดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผล ลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคําสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมี ข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้ 3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคําสั่งควบคุมตามลําดับการ ทํางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการวางแผน ลําดับการทํางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้ คําสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคําสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้ กําหนดไว้
  • 31. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็น คนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คําสั่งงาน และ ทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมี ข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะ ถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน 5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทํางาน ถูกต้อง ต้องจัดทําเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวมเอกสารที่จัดทําจาก 1 – 4 มารวมเล่ม
  • 32. 4.การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน การลําดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทํางานของ คอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลําดับ การควบคุมการทํางาน โดยใช้สัญ ลักษณที่กําหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทํางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้ กล่าวถึงการลําดับขั้นตอนการทํางานด้วยผังงานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้ 1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน โปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
  • 33.
  • 34. 2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนําในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ ศึกษา ตรวจสอบลําดับการทํางานได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ทิศทางการทํางานต้องเรียงลําดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 2. ใช้ชื่อหนวยความจํา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 3. ลูกศรกํากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเท่านั้น 4. เส้นทางการทํางานหามมีจุดตัดการทํางาน 5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทํางานใดๆ 6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน 7. หากมีคําอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
  • 35. 3. ข้อจากัดของการเขียนผังงาน นักเขียนโปรแกรมบางคนไม่นิยมการเขียนผังงานก่อนที่จะเขียนโปรแกรม เพราะ เสียเวลา ในการเขียนเป็นรูปภาพหรือสัญลักษณ์ต่างๆ นอกจากนี้ยังมีเหตุผลอื่นๆ ได้แก่ 1. ผังงานเป็นการสื่อความหมายระหว่างบุคคลต่อบุคคลมากกว่าที่จะสื่อ ความหมายบุคคลกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษา ใดภาษาหนึ่ง ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถรับรู้และเข้าใจว่าผังงานต้องการอะไร 2. ผังงานไม่สามารถแทนลักษณะคาสั่งของภาษาคอมพิวเตอร์บางคาสั่งได้อย่าง ชัดเจน 3. กรณีที่งานมีขนาดใหญ่ ผังงานจะมีขนาดใหญ่ด้วย ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข จะทาได้ยาก ควรเขียนแยกเป็นส่วน ๆ แล้วค่อยสร้างจุดเชื่อมโยงในแต่ละส่วน 4. การเขียนผังงานอาจเป็นการสิ้นเปลืองกระดาษและอุปกรณ์อื่นๆ ประกอบการ เขียนภาพ ทั้ง ๆ ที่การอธิบายงานหรือการเขียนโปรแกรมจะใช้เนื้อที่เพียง 3 -4 บรรทัด เท่านั้น
  • 36. 4. วิธีการเขียนผังงานที่ดี การเขียนผังงานควรคานึงถึงสิ่งต่าง ๆ ดังนี้ 1. ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้ 2. ผังงานจะต้องมีจุดเริ่มต้น (Start)และสิ้นสุด (Stop/End/Finish) 3. ใช้หัวลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่างหรือซ้ายไปขวา (ยกเว้น ที่ต้องทาซํ้าา) 4. ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า 1 เส้นและออก 1 เส้นโดยไม่มีการ ปล่อยจุดใดจุดหนึ่งไว้ 5. เขียนคาอธิบายการทางานในแต่ละขั้นตอนโดยใช้ข้อความที่สั้น กะทัดรัด ชัดเจน และเข้าใจได้ง่าย 6. ควรหลีกเลี่ยงโยงเส้นไปมาทาให้เกิดจุดตัดมากเพราะจะทาให้เกิดข้อผิดพลาด ง่าย ควรใช้สัญลักษณ์เชื่อมจุดต่อเนื่องแทน
  • 37. 7. ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน 8. ผังงานที่ดีควรมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและชัดเจน สามารถเข้าใจ และติดตามขั้นตอนได้ง่าย 9. ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนไปเขียนโปรแกรม
  • 38. 5.กรณีศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทํานั้น สิ่งที่สําคัญที่สุดในการ แก้ปัญหา จะต้องดําเนินการตามขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลําดับขั้นตอนการ ทํางานว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนเป็นลําดับถัดไป จนกระทั่ง ถึงขั้นตอนสุดท้าย การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทําเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็นขั้นตอน ที่สําคัญที่สุด โดยจะต้องกําหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวมรายละเอียดของ ปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทําอย่างไร ผลลัพธ์ที่ ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้ อนเข้าเครื่องเป็นอย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์ เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนําเข้า (Input) วิธีการ ประมวลผล (Process) และการกําหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม
  • 39. หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสําคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทํางาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานตามลําดับดังนี้ สิ่งที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ ทํางานงานแต่ละชนิดอาจต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการอาจจะดูที่คําสั่ง หรือโจทย์ของงานนั้นๆว่าต้องการให้ทําอะไรบ้าง
  • 40. ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือ รูปแบบของผลลัพธ์ที่เราต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงออกมา รายละเอียดที่ ต้องการในรายงานหรือผลลัพธ์นั้น ๆ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมที่จะต้อง กําหนดรูปแบบว่างานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทํานั้น ควรจะมีรายละเอียด อะไร เพื่อความสะดวกของผู้นําผลลัพธ์ไปใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่ จําเป็นและมีความสําคัญ และต้องพิจารณาอย่างละเอียด เพราะการวิเคราะห์ รายงานจะทําให้เราทราบจุดหมายที่ต้องการ หรือเป็นการกําหนดขอบเขตของ งานที่เราต้องการทํานั่นเอง
  • 41. ข้อมูลนําเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทําต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจาก ที่เราได้ลักษณะของรายงานแน่นอนแล้ว เราก็มาพิจารณาข้อมูลนําเข้านั้น จะต้องดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขั้นตอนในการประมวลผลด้วย ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกําหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการ อ้างถึงข้อมูล และการเขียนโปรแกรม การตั้งชื่อตัวแปรควรจะตั้งให้มีความหมายและ เกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้ากับหลักเกณฑ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ นั้นๆ
  • 42. วิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนของวิธีการ หรือการคํานวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การสั่งให้เครื่องรับข้อมูลเข้าไปทําการประมวลผลและ แสดงผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องการทํางานทุกอย่างตามลําดับ จึง จําเป็นจะต้องจัดลําดับการทํางานตามลําดับก่อนหลังให้ละเอียดและถูกต้องทุก ขั้นตอน ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
  • 43. - จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง xความยาว 1. สิ่งที่ต้องการ : หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว 2. รูปแบบผลลัพธ์ : The area is _______ 3. ข้อมูลนําเข้า : ความกว้าง และ ความยาว 4. ตัวแปร : L = ความยาว W = ความกว้าง Area = พื้นที่ 5. วิธีประมวลผล : 1 ) รับข้อมูล L 2 ) รับข้อมูล W 3 ) ประมวลผล (คํานวณหาพื้นที่) Area = L*W 4 ) แสดงผล “The area is _____” 5 )จบการทํางาน
  • 45.
  • 46. 1. นายกวิน หลิมย่านกวย เลขที่ 1 2. นายกิตติศักดิ์ จันทวาส เลขที่ 2 3. นายพาคร พรหมวรรณ เลขที่ 5 4. นายขจรยศ พิลาวงษ์ เลขที่ 6 5. นางสาวปทิตตา อินทรโสภา เลขที่ 10 6. นางสาวชลัญธร สืบกลัด เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1