SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
ประเทศอินเดีย
อินเดียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น28 รัฐ (States)
(ซึ่งแบ่งย่อยลงเป็นเขต) ได้แก่
1. อานธรประเทศ
2. อรุณาจัลประเทศ
3. อัสสัม
4. พิหาร
5. ฉัตติสครห์
6. กัว
7. คุชราต
8. หรยาณา
9. หิมาจัลประเทศ
10. ชัมมูและกัศมีร์
11. ฌาร์ขัณฑ์
12. กรณาฏกะ
13. เกรละ
14. มัธยประเทศ
15. มหาราษฏระ
16. มณีปุระ
17. เมฆาลัย
18. มิโซลัม
19. นาคาแลนด์
20. โอริสสา
21. ปัญจาบ
22. ราชสถาน
23. สิกขิม
24. ทมิฬนาฑู
25. ตริปุระ
26. อุตตรประเทศ
27. อุตตราขัณฑ์
28. เบงกอลตะวันตก
และ 7 ดินแดนสหภาพ (Union Territories) ได้แก่
A. หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์
B. จัณฑีครห์
C. ดาดราและนครหเวลี
D. ดามันและดีอู
E. ลักษทวีป
F. เดลี
G. ปุทุจเจรี
รัฐธรรมนูญอินเดียแบ่งแยกอานาจระหว่างรัฐบาลกลาง
(Government of India) และรัฐบาลมลรัฐ
(State Government) อย่างชัดเจน
โดยรัฐบาลกลางดาเนินการเรื่องการป้ องกันประเทศด้านนโยบาย
ต่างประเทศ การรถไฟ การบิน และการคมนาคมอื่นๆ ด้านการเงิน ด้าน
กฎหมายอาญา ฯลฯ ส่วนรัฐบาลมลรัฐมีอานาจในการรักษาความสงบ
เรียบร้อยและรักษากฎหมาย การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ของมลรัฐ
การปกครองของอินเดีย มีดังนี้...
1.ฝ่ ายนิติบัญญัติ ประกอบด้วย 2 สภา คือ ราชยสภา หรือวุฒิสภา
และโลกสภา หรือสภาผู้แทนราษฎร
การตรากฎหมายต่างๆ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากทั้งสองสภา
ราชยสภา หรือ วุฒิสภา
ราชยสภา มีสมาชิก 250 คน ปัจจุบันมีสมาชิก245 คน โดย 12 คนจะเป็น
ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งจากประธานาธิบดีทุกๆ 2 ปี
และอีก 233 คน มาจากการเลือกตั้งทางอ้อม เป็นผู้แทนของรัฐและ Union
Territories
โลกสภา มีสมาชิก 545 คน โดยสมาชิก 543 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรง
(530 คน มาจากแต่ละรัฐ ส่วนอีก 13 คน มาจาก Union Territories) และอีก
2 คน มาจากการคัดเลือกของประธานาธิบดีจากกลุ่มอินโด-อารยันใน
ประเทศ ทั้งนี้มีวาระคราวละ 5 ปี เว้นเสียแต่จะมีการยุบสภา
2.ฝ่ ายบริหาร ประธานาธิบดี เป็นประมุขของรัฐ และ
เป็นหัวหน้าคณะผู้บริหาร (Head of Executive of
the Union) ซึ่งประกอบด้วย
รองประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐบาล
3. ฝ่ ายตุลาการ
อานาจตุลาการเป็นอานาจอิสระ ไม่ขึ้นกับ
ฝ่ ายบริหาร มีหน้าที่ปกป้ องและตีความ
รัฐธรรมนูญ
ศาลฎีกา เป็นศาลสูงสุดของประเทศ ผู้พิพากษาประจาศาล
ฎีกา มีจานวนไม่เกิน 25 คน แต่งตั้งโดยประธานาธิบดี ระดับ
รัฐ มีศาลสูง เป็นศาลสูงสุดของแต่ละรัฐ รองลงมาเป็น
Subordinate Courts ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละรัฐ
เศรษฐกิจอินเดีย
เศรษฐกิจของอินเดีย มีขนาดเป็นอันดับที่ 11 ของโลกเมื่อวัดด้วยค่าจีดีพี และ
เป็นอันดับ 4 ของโลกเมื่อเทียบด้วยความเท่าเทียมกันของอานาจซื้ออัตราการ
เติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศได้เติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยกิจกรรม
ตลาดเสรีซึ่งริเริ่มในปี พ.ศ. 2533 เพื่อการแข่งขันกับนานาชาติและการลงทุน
จากต่างประเทศ
ค่าจิดีพี
คือ ผลผลิตทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายในประเทศนั้นๆ
การผลิตสิ่งทอ เป็นอุตสาหกรรมที่มีการจ้างงานมากเป็นอันดับ 2
รองจากการเกษตร และมีผลผลิตคิดเป็นร้อยละ 26 ของผลผลิต
ทั้งหมด ลูเธียนา สามารถผลิตผ้าขนสัตว์ได้มากถึงร้อยละ 90 ของ
อินเดีย ติรุปุร์กลายเป็นที่รู้จักในนามของศูนย์รวมของถุงเท้า เสื้อผ้า
ถัก เสื้อผ้าลาลอง และเสื้อผ้ากีฬาสลัม
การบริการทางธุรกิจ ธุรกิจค้าปลีกที่บริหารในรูปบริษัท เช่น
ซูเปอร์มาร์เก็ต มีกฎเกณฑ์หลายข้อที่ป้องกันต่างชาติไม่ให้เข้ามา
ลงทุนในธุรกิจค้าปลีก นอกจากนี้ ร้านค้าจะต้องผ่านกฎหมาย
มากกว่า 30 ฉบับ เช่น “ใบอนุญาตป้าย” และ “มาตรการห้ามการ
กักตุน” ก่อนที่จะสามารถเปิดร้านได้และยังมีภาษีที่เก็บเมื่อ
เคลื่อนย้ายสินค้าระหว่างรัฐ รวมทั้งภายในรัฐเองด้วย
การทาเหมืองแร่ นับเป็นส่วนสาคัญของเศรษฐกิจอินเดีย อินเดีย
สามารถผลิตแร่ธาตุได้มากถึง 79 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแร่เหล็ก
, แมงกานีส, ไมกา, บอกไซต์, โครไมต์, หินปูน, แร่ใยหิน
, ฟลูออไรต์, ยิปซัม, ดิน ochre, ฟอสฟอไรต์, และทรายซิลิกา
ภาคเกษตรกรรม
อินเดียมีผลผลิตทางการเกษตรเป็นอันดับสองของโลก เช่น การป่าไม้ประมง มี
ขนาดร้อยละ 15.7 ของจีดีพีในปี 2552-2553 ผลิตผลทางการเกษตรต่อหน่วยพื้นที่
เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากมีการให้เน้นย้าเรื่องเกษตรกรรมในแผน 5 ปี ประกอบกับ
การพัฒนาด้านชลประทาน เทคโนโลยี การรับเอาการเกษตรรูปแบบใหม่ และการ
ให้สินเชื่อและเงินสนับสนุนทางการเกษตรในช่วงการปฏิวัติเขียวในอินเดีย
การปฏิวัติเขียว
คือ การนาเทคโนโลยีมาใช้พัฒนาเมล็ดพันธุ์ เพื่อ
เร่งรัดการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิต
พัฒนาการทางวัฒนธรรม
อินเดียมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ประมาณ 1,500 ปีก่อน
คริสต์กาล ชาวดราวิเดียน (Dravidian) และชาวอารยัน
(Aryan) ได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในอินเดีย โดยได้สร้างอารยะ
ธรรมอันเป็นพื้นฐานของอารยะธรรมฮินดูที่มีความคงทน
ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
เช่น ศาสนาฮินดู ภาษาสันสกฤต และระบบชั้นวรรณะ
อารยะธรรมอารยันหรือฮินดูรุ่งเรืองมาจนถึงราว
คริสต์ศตวรรษที่ 12 แต่มีระยะหนึ่งที่อารยะธรรมพุทธ
รุ่งเรืองในอินเดีย คือ ตั้งแต่พุทธกาลถึงราว 3 ศตวรรษ
ก่อนคริสต์ศักราชในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
พัฒนาการทางวัฒนธรรม (ต่อ)
สกุลเงิน
เงินรูปีอินเดียเป็นเงินสกุลเดียวที่ชาระหนี้ได้ตาม
กฎหมายของอินเดีย คือ 1รูปีอินเดียเท่ากับ 0.7232
บาท และเงินรูปีอินเดียยังสามารถชาระหนี้ได้ตาม
กฎหมายในประเทศเนปาลและภูฏาน
ศิลปะของอินเดีย
ศิลปะของอินเดีย ศิลปะอินเดียก็เหมือนกับลักษณะอื่น ๆ คือมุ่งสร้างความ
กลมกลืนระหว่างอดีตกับปัจจุบัน ในถ้าคูหาโบราณ ๆ จะพบภาพ
จิตรกรรมเก่าแก่ เขียนเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ การเขียนภาพระบายสี มี
หลักฐานแสดงว่า ได้ถือกาเนิดในยุคหินระยะหลังของอินเดีย ในระหว่าง
สมัยพุทธกาล
ศิลปะของอินเดีย
คูหาวิหารที่สร้างขึ้นด้วยการสกัดถ้าคูหาของโขดเขาที่อะชันตา มี
ความสูงส่งในแนวความคิดและความเด่นในฝีมืออย่างน่า
อัศจรรย์ อาจกล่าวได้ว่า ไม่มีผลงานทางสถาปัตยกรรม
ประติมากรรมและจิตรกรรมที่ใดที่จัดว่าสมบูรณ์ยอดเยี่ยมเช่นที่อะ
ชันตา เอลลอรา และบาดามิ
ดนตรีและการฟ้ อนรา
ด้านการฟ้ อนรา เป็นการฟ้ อนอย่างมีแบบแผนซึ่งมีมาช้า
นานกว่าสามพันปี โดยใช้การเคลื่อนไหวของมือและเท้า
ประกอบกับการแสดงท่าทีอาการด้วยตา และใบหน้า
ดนตรีและการฟ้ อนรา
ปัจจุบัน การฟ้ อนราแบบแผนสาคัญ ๆ มีอยู่สี่แบบคือ
ภารตนาฏยัม เป็นการฟ้ อนตามกฎเกณฑ์แต่โบราณของ
ภาคใต้ แสดงโดยนักฟ้ อนราประจาวัดวาอารามต่าง ๆ ในการ
ประกอบพิธีบวงสรวง
ภารตนาฏยัม
ดนตรีและการฟ้ อนรา
กถึกกาลิ เป็นแบบฟ้อนราที่เกิดจากเดราลา แสดงให้ผู้ชมได้
เห็นโลกของเทพเจ้า และภูติผีปีศาจ ผู้แสดงแต่งตนสีฉูดฉาด
และแสดงบทบาทด้วยท่วงท่าเข้มแข็งคึกคัก
กถึกกาลิ
ดนตรีและการฟ้ อนรา
มณีปุริ เป็นแบบฟ้อนราของภาคเหนือ มีลีลาการแสดง
ที่ประกอบด้วย อาการเคลื่อนไหวอย่างนุ่มนวล
ละมุนละไม
มณีปุริ
ดนตรีและการฟ้ อนรา
กถึก เป็นแบบฟ้อนราซึ่งวิวัฒนาการภายใต้การสนับสนุน
ส่งเสริมของราชวงศ์โมกุล การฟ้อนราแบบนี้อาศัยจังหวะ
เป็นสาคัญ
กถึก
เครื่องแต่งกาย
เครื่องแต่งกายของสตรีคือ ส่าหรี ผ้าที่ใช้ทาส่าหรีจะมีความ
ยาวระหว่างห้าถึงเก้าหลา เป็นได้ทั้งผ้าฝ้ ายและผ้าไหมปักเป็น
ลวดลายต่าง ๆ กัน
เครื่องแต่งกายของบุรุษ ที่จัดไว้คู่กันเรียกว่า โคติ มีทั้งชนิดที่
มีขอบ และไม่มีขอบ เป็นเครื่องแต่งกายของบุรุษที่เกิดขึ้น
เมื่ออิทธิพลของเปอร์เซีย และโมกุล แผ่ขยายเข้ามาสู่อินเดีย
เครื่องแต่งกาย
วรรณคดี
อินเดียมีวรรณคดีเก่าแก่ ลึกซึ้ง และมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่าง
กว้างขวาง แม้ในต่างประเทศ เช่น เรื่องมหาภารตยุทธ และรา
มายณะ ซึ่งเป็นต้นฉบับของเรื่องรามเกียรติของไทย นอกจากนี้ยังมี
เรื่องนิทานต่าง ๆ เช่น หิโตประเทศ นิทานเวตาล เป็นต้น
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมของอินเดียได้แพร่เข้ามาสู่ไทย ทางศาสนประเพณี
บางอย่าง ไทยได้นาเอามาใช้ตั้งแต่สมัยสุโขทัย ประเพณีส่วนมากที่ใช
กันอยู่ยึดถือแบบพราหมณ์ เช่น พิธีโกนจุก บวชนาค แรกนาขวัญ
ทางสถาปัตยกรรม ก็มีเกี่ยวกับการปั้นพระพุทธรูป เป็นต้น
การแบ่งชนชั้น วรรณะ
มีสี่ประเภท คือ
1.พราหมณ์
2.กษัตริย์
3.แพศย์
4.ศูทร
ไทยและอินเดียมีความร่วมมือด้านความมั่นคงในกรอบคณะทางานร่วม
ด้านความมั่นคง ไทย-อินเดีย (Thailand-India Joint Working Group
on Security) ฝ่ ายไทยมีเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นหัวหน้า
คณะ ฝ่ ายอินเดียมีปลัดกระทรวงการต่างประเทศซึ่งรับผิดชอบงานด้าน
ความมั่นคงเป็นหัวหน้า
ด้านความมั่นคง
ด้านเศรษฐกิจ
ไทยให้ความสาคัญต่อการดาเนินความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับอินเดีย
อย่างยิ่ง โดยคานึงถึงศักยภาพทางเศรษฐกิจของอินเดีย ทั้งในแง่ของการ
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและขนาดของตลาด ซึ่งมีประชากร
ระดับกลาง-สูง ที่มีกาลังซื้อสูง ประมาณ 300 ล้านคน ตลอดจน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ด้านการค้า
ไทยนาเข้าวัตถุดิบและสินค้ากึ่งสาเร็จรูปจากอินเดีย และส่งออกสินค้าที่ใช้ใน
อุตสาหกรรม ไทยและอินเดียมีเป้ าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการค้าสองฝ่ ายให้ถึง 2
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ภายในปี 2547 ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะทาได้สาเร็จ เพราะในปี
2546 มูลค้าการค้ามีปริมาณเพิ่มขึ้นจากปี 2545 ถึงร้อยละ 27.63 และในระหว่างเดือน
มกราคม-เมษายน 2547 มูลค่าการค้ามีปริมาณถึง 703 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ด้านการลงทุน
ไทยลงทุนในอินเดียเป็นอันดับ 3 ของกลุ่มประเทศสมาชิก
อาเซียน นักลงทุนไทยส่วนใหญ่สนใจลงทุนในสาขาอิเล็กทรอนิกส์
และเครื่องใช้ไฟฟ้ ามากเป็นอันดับ 1 รองลงมา คือสาขาผลิตผลทาง
การเกษตร สาขาอุตสาหกรรมเบา และสิ่งทอ
การท่องเที่ยว
ชาวอินเดียนิยมมาท่องเที่ยวที่ไทยเป็นอันดับ 2 จุดแข็งของไทยคือ ค่าใช้จ่ายใน
การเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยมีราคาถูก และไทยมีสถานที่ท่องเที่ยวที่
น่าสนใจหลากหลาย มีโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค โรงแรมและสิ่ง
อานวยความสะดวกดี ตลอดจนมีวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน
สาหรับนักท่องเที่ยวไทยส่วนใหญ่ไปเยี่ยมชมสังเวชนียสถาน หรือเพื่อการศึกษา
รูปสิงโตสี่ตัว ประดิษฐานอยู่บนยอดเสา ส่วนหลังชน
กัน ต่าลงมาเป็นแผ่นภาพรูปนูนสูงเป็นรูปช้าง ม้า วัว
และสิงโต โดยมีรูปธรรมจักรคั่น ถัดลงไปจึงเป็นรูป
บัวคว่า ทั้งหมดแกะสลักขึ้นจากหินทรายก้อนเดียว
และขัดถูจนผิวมันวาว
ในยุคนั้นพระเจ้าอโศกโปรดให้สร้างขึ้น เพื่อถวายพระ
เกียรติแด่พระพุทธเจ้าแต่ละส่วนของหัวเสามีความหมาย
แทนคาสั่งสอนของพระองค์
ทัชมาฮาล
สุสานแห่งความรัก

More Related Content

Viewers also liked

อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่Lilrat Witsawachatkun
 
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม่Jutharat
 
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์Lilrat Witsawachatkun
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal systemRungsaritS
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาประกายทิพย์ แซ่กี่
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1ประกายทิพย์ แซ่กี่
 

Viewers also liked (7)

อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
 
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
 
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
 

More from Lilrat Witsawachatkun

การปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาการปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาLilrat Witsawachatkun
 
ข้อปฏิบัติในการใช้ไอที
ข้อปฏิบัติในการใช้ไอทีข้อปฏิบัติในการใช้ไอที
ข้อปฏิบัติในการใช้ไอทีLilrat Witsawachatkun
 
ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์Lilrat Witsawachatkun
 
ที่อยู่อาศัย
ที่อยู่อาศัยที่อยู่อาศัย
ที่อยู่อาศัยLilrat Witsawachatkun
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์Lilrat Witsawachatkun
 

More from Lilrat Witsawachatkun (6)

การปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาการปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญา
 
ไข้หวัดใหญ่
ไข้หวัดใหญ่ไข้หวัดใหญ่
ไข้หวัดใหญ่
 
ข้อปฏิบัติในการใช้ไอที
ข้อปฏิบัติในการใช้ไอทีข้อปฏิบัติในการใช้ไอที
ข้อปฏิบัติในการใช้ไอที
 
ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์
 
ที่อยู่อาศัย
ที่อยู่อาศัยที่อยู่อาศัย
ที่อยู่อาศัย
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 

อินเดีย