SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษา
กาหนดรหัสคาสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการ
ภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คาสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความ
ภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่น
ด้านประสิทธิภาพคาสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งที่มี
ประสิทธิภาพควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้
กาหนดจุดประสงค์ไว้
1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์
 ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทางานลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่าด้วย 0
กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบรหัสคาสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine
Language) ผู้ที่จะเขียนรหัสคาสั่งควบคุมระบบได้จึงจากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ในห้องปฏิบัติการ
ทดลองดาเนินงาน
 ช่วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคาสั่งเป็นชุดเลขฐานสองมีความยุ่งยากในการจาชุดของรหัสคาสั่ง ควบคุมการทางาน จึงมี
ผู้พัฒนารหัสคาสั่งเป็นอักษรภาษาอังกฤษรวมกับเลขฐานอื่น
 ช่วงที่ 3 เป็นช่วงที่บริษัทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลายภาษา เน้นให้ใช้งานง่ายขึ้น โดยรหัสคาสั่งเป็น
ข้อความใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม ภาษาระดับสูง (High Level
Language)
 ช่วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นาไปใช้ควบคุมการทางานระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานรวมกับ
เทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามีรูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งเป็นงานโปรแกรม เชิงวัตถุ ติดต่อใช้งานกับผู้ใช้โปรแกรม
เชิง กราฟฟิก ลดขั้นตอนการจดจาเพื่อพิมพ์รหัสคาสั่งมาเป็นการคลิก เลือกรายการคาสั่ง และป้อนค่าควบคุม เช่น
ภาษาวิชวลเบสิก (Visual BASIC) ภาษาจาว่า (JAVA)
2. ภาษาระดับสูง
 1) ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose Symbolic
Instruction Code) เป็นภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการของ
สถาบันการศึกษา เพื่อฝึกทักษะการ เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
 2) ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented
Language) เป็นภาษาในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของภาษาได้รับการออกแบบ
รหัสคาสั่งเพื่อ ควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท
 3) ภาษาปาสคาล (PASCAL) เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับการออกแบบ มาเพื่อใช้เขียนรหัส
คาสั่งควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์
 4) ภาษาซี เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คาสั่งมีประสิทธิภาพการคานวณที่ รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ใน
ระบบรวมกับภาษาแอสแซมบลีได้ ใช้ควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์
3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
 การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตาม ที่มิใช้ภาษาเครื่อง ระบบไม่สามารถ
ประมวลผลได้ทันที เพราะการทางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 ดังนั้นผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์
ต้องสร้างโปรแกรมสาหรับแปลรหัสคาสั่งให้เป็นรหัส เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์มี
การทางาน 3 ลักษณะ คือ
1.)โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งเฉพาะภาษา แอสแซมบลีให้
เป็นเลขฐานสอง
2.) โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปลคาสั่งทั้ง โครงสร้าง
โปรแกรม แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้นต้องประมวลผลให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้ม
โปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่องภายหลังเมื่อเรียกใช้โปรแกรมนี้ เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้างไว้
นั้น จึงไม่ต้องเริ่มแปลรหัสให้ 3.) โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีต
เทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล คือ แปลรหัสทีละคาสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทางาน แล้ว
จึงแจงข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อแก้ไข จากนั้นประมวลผลให้จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้างแฟ้ม
โปรแกรมให้เพื่อเก็บรหัสคาสั่ง
การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็นกระบวนการพัฒนา
ระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทางานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทางานมีประสิทธิภาพมาก
ขึ้น สาหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อนามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ในการดาเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการ
สร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง ดาเนินงาน 7
ขั้นตอน
 1.ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition) เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม
เพื่อพัฒนาระบบงานให้อาจวิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป เช่น
สมการที่ใช้คานวณ การนาเข้า ข้อมูลที่ใช้ประมวลผล กรณีเป็นระบบงานใหญ่ ความซับซ้อนของงาน
 2. ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design) ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะลาดับการ
ทางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธีอัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode
Design) วิธีผังงาน (Flowchart) ลาดับขั้นตอนการออกแบบ ระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบ
การแสดงผล (Output Design) การออกแบบรูปแบบการนาเข้า ข้อมูล (Input
Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ
 3. ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน (Coding) เป็นขั้นตอนเขียนคาสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตาม
กฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กาหนดไว้ต้องลาดับคาสั่งตามขั้นตอนที่วิเคราะห์ว่า สาหรับขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน มี
แนวทางดาเนินงาน
 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging) การทดสอบการทางานของ
โปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดยพัฒนา ระบบงานเองโดยใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหา
ข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คาสั่ง และวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลลัพธ์การทางานกับจุดประสงค์ของงาน หากไม่มี
ข้อผิดพลาดใด ๆ จึงสงมอบการทาสอบ อีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง ทั้งนี้ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการ
ทดสอบ โดยสรุปมี 2 รูปแบบ
 5. ขั้นจัดทาคู่มือระบบ (Documentation) เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พัฒนาระบบจะต้อง
รวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคู่มือการใช้ ระบบงานให้คู่มือระบบงานมีความสาคัญมาก เพราะเปรียบเสมือนกับพิมพ์
เขียวของบาน คู่มือระบบ จึงถูกใช้เพื่อศึกษารูปแบบระบบงานเพื่อพัฒนาระบบในอนาคต คู่มือระบบมีหลายรูปแบบ
 6. ขั้นการติดตั้ง (Implementation)ป็นขั้นตอนนาระบบให้ที่ผ่านการทดสอบ และได้รับการยอมรับจาก
กลุ่มตัวแทนผู้ใช้ระบบว่า สามารถนามาทดแทนระบบงานเดิม มีแนวทางใช้ระบบงานให้
 7. ขั้นการบารุงรักษา (Maintenance) เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้
งานได้ตลอดเวลา สาเหตุที่ต้อง บารุงรักษา
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อใช้
แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้น
หากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน
และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะ
ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง มี
แนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
 1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อ
วิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนว
ทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อย
 2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ
ขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี
โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
 3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ใน
กระบวนการวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งาน
คาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้กาหนดไว้
 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอน
เดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง
ระบบงานและผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อ
ไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงาน
แก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน
 5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสาร
ประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวมเอกสารที่จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม
นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม
ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน
การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทางานของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง
มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ การควบคุมการทางาน โดยใช้สัญลักษณที่กาหนดความหมายใช้งาน
เป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผัง
งานประเภทผังงานโปรแกรม
 1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
 2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลาดับการทางาน
ได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้
1. ทิศทางการทางานต้องเรียงลาดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
2. ใช้ชื่อหนวยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
3. ลูกศรกากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น
4. เส้นทางการทางานหามมีจุดตัดการทางาน
5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทางานใด ๆ
6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน
7. หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
 3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้
1. ทาให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก
2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนาไปเขียนคาสั่งได้ทุกภาษา
3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว
4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานของระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะ
เป็น เรื่องการออกแบบระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอรูปแบบการเขียนผังงาน
จัดทาโดย
นาย ธงชัย ไชยพาพิม เลขที่ 8
นายเมธา งามขา เลขที่ 12
นายอภิวัฒน์ อินหนู เลขที่ 13
นางสาวสุณิสา แสงดาว เลขที่ 26
นางสาวอัจฉราพรรณ สุกใส เลขที่ 27
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5
เสนอ
อาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
ภาคเรียนที่ 2/2558
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

More Related Content

What's hot

โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Patitta Intarasopa
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาtyt13
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีssuser5adb53
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊คThidaporn Kaewta
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155patchu0625
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศPhutawan Murcielago
 

What's hot (20)

โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
 

Viewers also liked

Soybean crop disorders A Lecture by Mr Allah Dad Khan
Soybean crop disorders A Lecture by Mr Allah Dad KhanSoybean crop disorders A Lecture by Mr Allah Dad Khan
Soybean crop disorders A Lecture by Mr Allah Dad KhanMr.Allah Dad Khan
 
South America
South AmericaSouth America
South Americahans_n123
 
Escuela martin-miguel-de-2 guemes-1
Escuela martin-miguel-de-2 guemes-1Escuela martin-miguel-de-2 guemes-1
Escuela martin-miguel-de-2 guemes-1Leoo Gómez
 
DNR Atmosphere - bangalore5.com
DNR Atmosphere - bangalore5.comDNR Atmosphere - bangalore5.com
DNR Atmosphere - bangalore5.comBangalore Property
 
Analisa dan pendekatan edukatif
Analisa dan pendekatan edukatifAnalisa dan pendekatan edukatif
Analisa dan pendekatan edukatifZikri Afdal
 
A Beautiful Semester 2015 Brochure
A Beautiful Semester 2015 BrochureA Beautiful Semester 2015 Brochure
A Beautiful Semester 2015 BrochureDamilola Aderemi
 
What are we doing to help early career teachers flourish?
What are we doing to help early career teachers flourish?What are we doing to help early career teachers flourish?
What are we doing to help early career teachers flourish?Bernadette Mercieca
 
Carolyn Neal resume -2015
Carolyn Neal resume -2015Carolyn Neal resume -2015
Carolyn Neal resume -2015Carolyn Neal
 
Content making on web by Rohit Suryvanshi
Content making on web by Rohit SuryvanshiContent making on web by Rohit Suryvanshi
Content making on web by Rohit SuryvanshiRohit Suryuvanshi
 

Viewers also liked (20)

A QUESTION
A QUESTIONA QUESTION
A QUESTION
 
Soybean crop disorders A Lecture by Mr Allah Dad Khan
Soybean crop disorders A Lecture by Mr Allah Dad KhanSoybean crop disorders A Lecture by Mr Allah Dad Khan
Soybean crop disorders A Lecture by Mr Allah Dad Khan
 
South America
South AmericaSouth America
South America
 
Escuela martin-miguel-de-2 guemes-1
Escuela martin-miguel-de-2 guemes-1Escuela martin-miguel-de-2 guemes-1
Escuela martin-miguel-de-2 guemes-1
 
IGO nieuwe stijl
IGO nieuwe stijlIGO nieuwe stijl
IGO nieuwe stijl
 
DNR Atmosphere - bangalore5.com
DNR Atmosphere - bangalore5.comDNR Atmosphere - bangalore5.com
DNR Atmosphere - bangalore5.com
 
Teresa Rosatto
Teresa RosattoTeresa Rosatto
Teresa Rosatto
 
Analisa dan pendekatan edukatif
Analisa dan pendekatan edukatifAnalisa dan pendekatan edukatif
Analisa dan pendekatan edukatif
 
Amistad
AmistadAmistad
Amistad
 
iff 2015
iff 2015iff 2015
iff 2015
 
Dolphin
DolphinDolphin
Dolphin
 
U7 huerta
U7 huertaU7 huerta
U7 huerta
 
A Beautiful Semester 2015 Brochure
A Beautiful Semester 2015 BrochureA Beautiful Semester 2015 Brochure
A Beautiful Semester 2015 Brochure
 
ITD Project 1B Brief
ITD Project 1B Brief ITD Project 1B Brief
ITD Project 1B Brief
 
Selling Your Home
Selling Your HomeSelling Your Home
Selling Your Home
 
Konsumsi
KonsumsiKonsumsi
Konsumsi
 
What are we doing to help early career teachers flourish?
What are we doing to help early career teachers flourish?What are we doing to help early career teachers flourish?
What are we doing to help early career teachers flourish?
 
Carolyn Neal resume -2015
Carolyn Neal resume -2015Carolyn Neal resume -2015
Carolyn Neal resume -2015
 
Bab ii wudhu
Bab ii wudhuBab ii wudhu
Bab ii wudhu
 
Content making on web by Rohit Suryvanshi
Content making on web by Rohit SuryvanshiContent making on web by Rohit Suryvanshi
Content making on web by Rohit Suryvanshi
 

Similar to การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์benz18
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรTay Atcharawan
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ Last'z Regrets
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 

Similar to การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ (18)

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
mindmap
mindmapmindmap
mindmap
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Know1 2
Know1 2Know1 2
Know1 2
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
Answer unit1.1
Answer unit1.1Answer unit1.1
Answer unit1.1
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Unit3coding
Unit3codingUnit3coding
Unit3coding
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 

More from B'Benz Sunisa

การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
Best me selfie camera
Best me selfie cameraBest me selfie camera
Best me selfie cameraB'Benz Sunisa
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำB'Benz Sunisa
 
ชื่องาน Kakao talk
ชื่องาน Kakao talkชื่องาน Kakao talk
ชื่องาน Kakao talkB'Benz Sunisa
 

More from B'Benz Sunisa (7)

การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Msqrd
MsqrdMsqrd
Msqrd
 
Best me selfie camera
Best me selfie cameraBest me selfie camera
Best me selfie camera
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
ชื่องาน Kakao talk
ชื่องาน Kakao talkชื่องาน Kakao talk
ชื่องาน Kakao talk
 
IT New
IT New IT New
IT New
 

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

  • 2. ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษา กาหนดรหัสคาสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการ ภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คาสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความ ภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่น ด้านประสิทธิภาพคาสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งที่มี ประสิทธิภาพควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้ กาหนดจุดประสงค์ไว้
  • 3. 1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์  ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทางานลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบรหัสคาสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) ผู้ที่จะเขียนรหัสคาสั่งควบคุมระบบได้จึงจากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ในห้องปฏิบัติการ ทดลองดาเนินงาน  ช่วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคาสั่งเป็นชุดเลขฐานสองมีความยุ่งยากในการจาชุดของรหัสคาสั่ง ควบคุมการทางาน จึงมี ผู้พัฒนารหัสคาสั่งเป็นอักษรภาษาอังกฤษรวมกับเลขฐานอื่น
  • 4.  ช่วงที่ 3 เป็นช่วงที่บริษัทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลายภาษา เน้นให้ใช้งานง่ายขึ้น โดยรหัสคาสั่งเป็น ข้อความใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม ภาษาระดับสูง (High Level Language)  ช่วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นาไปใช้ควบคุมการทางานระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานรวมกับ เทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามีรูปแบบการเขียนรหัสคาสั่งเป็นงานโปรแกรม เชิงวัตถุ ติดต่อใช้งานกับผู้ใช้โปรแกรม เชิง กราฟฟิก ลดขั้นตอนการจดจาเพื่อพิมพ์รหัสคาสั่งมาเป็นการคลิก เลือกรายการคาสั่ง และป้อนค่าควบคุม เช่น ภาษาวิชวลเบสิก (Visual BASIC) ภาษาจาว่า (JAVA)
  • 5. 2. ภาษาระดับสูง  1) ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาในระยะเริ่มแรกที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการของ สถาบันการศึกษา เพื่อฝึกทักษะการ เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก  2) ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language) เป็นภาษาในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของภาษาได้รับการออกแบบ รหัสคาสั่งเพื่อ ควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท  3) ภาษาปาสคาล (PASCAL) เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง ได้รับการออกแบบ มาเพื่อใช้เขียนรหัส คาสั่งควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์  4) ภาษาซี เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เน้นให้คาสั่งมีประสิทธิภาพการคานวณที่ รวดเร็ว เข้าถึงอุปกรณ์ใน ระบบรวมกับภาษาแอสแซมบลีได้ ใช้ควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์
  • 6. 3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์  การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตาม ที่มิใช้ภาษาเครื่อง ระบบไม่สามารถ ประมวลผลได้ทันที เพราะการทางานของระบบเป็นรหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 ดังนั้นผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสาหรับแปลรหัสคาสั่งให้เป็นรหัส เลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์มี การทางาน 3 ลักษณะ คือ 1.)โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสแซมเบลอร (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสั่งเฉพาะภาษา แอสแซมบลีให้ เป็นเลขฐานสอง 2.) โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปลคาสั่งทั้ง โครงสร้าง โปรแกรม แล้วจึงแจงข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อให้แก้ไข จากนั้นต้องประมวลผลให้ หากไม่มี ข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้ม โปรแกรมให้อัตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่องภายหลังเมื่อเรียกใช้โปรแกรมนี้ เครื่อง จะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้างไว้ นั้น จึงไม่ต้องเริ่มแปลรหัสให้ 3.) โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอรพรีต เทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล คือ แปลรหัสทีละคาสั่ง เมื่อพบข้อผิดพรากจะหยุดทางาน แล้ว จึงแจงข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อแก้ไข จากนั้นประมวลผลให้จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้างแฟ้ม โปรแกรมให้เพื่อเก็บรหัสคาสั่ง
  • 7. การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็นกระบวนการพัฒนา ระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทางานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทางานมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น สาหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ในการดาเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการ สร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง ดาเนินงาน 7 ขั้นตอน
  • 8.  1.ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition) เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาระบบงานให้อาจวิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป เช่น สมการที่ใช้คานวณ การนาเข้า ข้อมูลที่ใช้ประมวลผล กรณีเป็นระบบงานใหญ่ ความซับซ้อนของงาน  2. ขั้นวางแผนและการออกแบบ (Planning & Design) ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะลาดับการ ทางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธีอัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) ลาดับขั้นตอนการออกแบบ ระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบ การแสดงผล (Output Design) การออกแบบรูปแบบการนาเข้า ข้อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ
  • 9.  3. ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน (Coding) เป็นขั้นตอนเขียนคาสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตาม กฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กาหนดไว้ต้องลาดับคาสั่งตามขั้นตอนที่วิเคราะห์ว่า สาหรับขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน มี แนวทางดาเนินงาน  4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Testing & Debugging) การทดสอบการทางานของ โปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดยพัฒนา ระบบงานเองโดยใช้ข้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหา ข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์คาสั่ง และวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลลัพธ์การทางานกับจุดประสงค์ของงาน หากไม่มี ข้อผิดพลาดใด ๆ จึงสงมอบการทาสอบ อีกช่วงคือ ทดสอบโดยผู้ใช้ระบบงานจริง ทั้งนี้ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการ ทดสอบ โดยสรุปมี 2 รูปแบบ
  • 10.  5. ขั้นจัดทาคู่มือระบบ (Documentation) เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พัฒนาระบบจะต้อง รวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคู่มือการใช้ ระบบงานให้คู่มือระบบงานมีความสาคัญมาก เพราะเปรียบเสมือนกับพิมพ์ เขียวของบาน คู่มือระบบ จึงถูกใช้เพื่อศึกษารูปแบบระบบงานเพื่อพัฒนาระบบในอนาคต คู่มือระบบมีหลายรูปแบบ  6. ขั้นการติดตั้ง (Implementation)ป็นขั้นตอนนาระบบให้ที่ผ่านการทดสอบ และได้รับการยอมรับจาก กลุ่มตัวแทนผู้ใช้ระบบว่า สามารถนามาทดแทนระบบงานเดิม มีแนวทางใช้ระบบงานให้  7. ขั้นการบารุงรักษา (Maintenance) เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ งานได้ตลอดเวลา สาเหตุที่ต้อง บารุงรักษา
  • 11. แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อใช้ แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้น หากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงานได้ด้วยต้นเอง มี แนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
  • 12.  1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อ วิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนว ทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อย  2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ ขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้  3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ใน กระบวนการวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งาน คาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้กาหนดไว้
  • 13.  4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอน เดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อ ไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงาน แก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน  5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสาร ประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวมเอกสารที่จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
  • 14. การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทางานของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ การควบคุมการทางาน โดยใช้สัญลักษณที่กาหนดความหมายใช้งาน เป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผัง งานประเภทผังงานโปรแกรม
  • 16.  2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลาดับการทางาน ได้งาย ไม่สับสน มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ทิศทางการทางานต้องเรียงลาดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 2. ใช้ชื่อหนวยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 3. ลูกศรกากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเทานั้น 4. เส้นทางการทางานหามมีจุดตัดการทางาน 5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทางานใด ๆ 6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน 7. หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
  • 17.  3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้ 1. ทาให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก 2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนาไปเขียนคาสั่งได้ทุกภาษา 3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว 4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานของระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะ เป็น เรื่องการออกแบบระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอรูปแบบการเขียนผังงาน
  • 18. จัดทาโดย นาย ธงชัย ไชยพาพิม เลขที่ 8 นายเมธา งามขา เลขที่ 12 นายอภิวัฒน์ อินหนู เลขที่ 13 นางสาวสุณิสา แสงดาว เลขที่ 26 นางสาวอัจฉราพรรณ สุกใส เลขที่ 27 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เสนอ อาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ภาคเรียนที่ 2/2558 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี