SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทางาน
จัดทาโดย
นางสาวกัลยา ปุณณะการี
ชั้นมัธยมศึกษษปีที่ 5/3 เลขที่29
เสนอ
อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนของวิชา
วิชา คอมพิวเตอร์ ( ง302010 )
ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษษ 2558
ข
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทางาน
จัดทาโดย
นางสาวกัลยา ปุณณะการี
ชั้นมัธยมศึกษษปีที่ 5/3 เลขที่29
เสนอ
อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนของวิชา
วิชา คอมพิวเตอร์ ( ง302010 )
ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษษ 2558
ก
คานา
รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้ที่ต้องการศึกษาหาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ได้เข้ามค้นหา
ศึกษาเพิ่มเติมเรื่องคอมพิวเตอร์กันรายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาคอมพิวเตอร์
สานักงานขั้นสูง เราหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ศึกษาไม่มากก็น้อย
ข
สารบัญ
คอมพิวเตอร์ ............................................................................... 1
ระบบคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบ ............................................... 1
ชนิดของแผ่นดิสก์เก็ต.................................................................. 11
1. Single-Side Single-Density (SS SD) ................................. 11
2. Single-Side Double-Density (SS DD)............................... 11
3. Double-Sides Single-Density (DS SD) ............................. 11
4. Double-Side Double-Density (DS DD)............................ 12
5. Double-Sides High-Density (DS HD)............................... 12
ข้อดี ของเทปแม่เหล็ก.................................................................. 18
ข้อเสีย ของเทปแม่เหล็ก............................................................... 18
4
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ทางานตามชุดสั่งอย่างอัตโนมัติโดยจะทาการคานวณ
เปรียบเทียบทางตรรกกับข้อมูลและให้ผลลัพธ์ออกมาตามต้องการ
ระบบคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบ
1.หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่รับข้อมูล โปรแกรมคาสั่งเข้าสู่เครื่อง
2.หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit) ทาหน้าที่ทางานตามโปรแกรม
3.หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บข้อมูล โปรแกรม หรือคาสั่ง ที่ส่งมาจากหน่วยรับ
ข้อมูล
4.หน่วยติดต่อสื่อสาร (Communication Unit)
5.หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
1.หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
คืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลโปรแกรมคาสั่งจากภายนอกเข้าสู่คอมพิวเตอร์ โดยทาการแปลง
ข้อมูลหรือคาสั่งที่รับเข้ามาให้เป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อทาการประมวลผลต่อไป
หน่วยรับข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์จะเป็นอุปกรณ์แบบใดก็แล้วแต่ระบบของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ใช้เช่น ในสมัยก่อนที่ใช้บัตรเจาะรูในการเก็บข้อมูลหน่วยรับข้อมูลก็คือ เครื่อง
อ่านบัตร (Card Reader) ต่อมาเมื่อมีการใช้เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) และจานแม่เหล็ก
(Magnetic Disk) ในการเก็บข้อมูล หน่วยรับข้อมูลก็คือเครื่องอ่านเทปแม่เหล็ก (Magnetic
Reader) เครื่องอ่านจานแม่เหล็ก (Magnetic Disk Unit) และดิสด์ไดรฟ์ (Disk Drive) ซึ่งเป็น
อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านข้อมูล ปัจจุบันมีอุปกรณ์อีกมากมายที่ทาหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูล เช่น
1.1คีย์บอร์ด (Keyboard)
2
มีลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีด แต่จะมีปุ่มเพิ่มจากแป้นพิมพ์ดีด เช่น ฟังก์ชั่นคีย์
(Function Keys) และ แพดคีย์(Pad Keys) เพื่อความสะดวกในการใช้งานทาหน้าที่รับข้อมูลและ
โปรแกรมได้โดยตรง จานวนแป้นของคีย์บอร์ดอาจมี 104-105 คีย์ซึ่งแต่ละแป้นทาหน้าที่
แตกต่างกันไป ทุกครั้งที่มีการกดแป้นคีย์บอร์ด จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยสัญญาณ
ดังกล่าวจะบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่ามีการกดแป้นอะไร
1.2 เม้าส์ (Mouse)
คือ อุปกรณ์ขนาดเท่าอุ้งมือ ที่ด้านบนของเม้าส์จะมีแป้นสาหรับการกดเพื่อติดต่อกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เม้าส์เป็นอุปกรณ์สาหรับใช้ชี้ตาแหน่งต่างๆ บนจอภาพ โดยจะมีลูกศรเลื่อนไปบน
จอภาพตามการเลื่อนเม้าส์ไปมาบนโต๊ะ เม้าส์ที่ใช้ในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ
o เม้าส์ลูกกลิ้ง เป็นเม้าส์ที่มีลูกกลิ้งกลมๆ อยู่ใต้กล่องและมีเซ็นเซอร์ติดอยู่เมื่อ
เลื่อนเม้าส์เซ็นเซอร์จะส่งสัญญาณการเลื่อนตาแหน่งของเม้าส์ เม้าส์ชนิดนี้ใช้
กลิ้งตามพื้นเรียบๆ เช่น บนโต๊ะ การกลิ้งจะทาให้เกิดสัญญาณไปเลื่อนลูกศรบน
จอภาพ
o เม้าส์ไร้สาย เป็นเม้าส์ที่ไม่มีสาย จะใช้แสงอินฟาร์เรดในการรับส่งสัญญาณแทน
การใช้สาย
1.3 แทรกบอลล์(Track Ball)
มีลักษณะคล้ายเม้าส์ลูกกลิ้งขนาดใหญ่หงายขึ้น แทรกบอลล์ได้รับการออกแบบให้ทางานแบบ
เดียวกับเม้าส์โดยมีลูกบอลล์ขนาดใหญ่ที่ง่ายต่อการกลิ้งไปมาโผล่ออกมาจากฐาน การใช้จะกลิ้ง
ลูกบอลล์โดยใช้นิ้วและอุ้งมือและกดปุ่มที่อยู่ในลูกบอลล์ด้านในด้านหนึ่งการใช้แทรกบอลล์ง่าย
และรวดเร็วกว่าลากเม้าส์โดยแทรกบอลล์จะอยู่กับที่ไม่ต้องเลื่อนเหมือนเม้าส์ แทรกบอลล์เป็น
อุปกรณ์ที่นิยมแพร่หลายเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋ าหิ้ว
1.4 MICR (Magnetic Ink Character Reader)
3
ลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีด แต่จะมีปุ่มเพิ่มจากแป้นพิมพ์ดีด เช่น ฟังก์ชั่นคีย์
(Function Keys) และ แพดคีย์(Pad Keys) เพื่อความสะดวกในการใช้งานทาหน้าที่รับข้อมูลและ
โปรแกรมได้โดยตรง จานวนแป้นของคีย์บอร์ดอาจมี 104-105 คีย์ซึ่งแต่ละแป้นทาหน้าที่
แตกต่างกันไป ทุกครั้งที่มีการกดแป้นคีย์บอร์ด จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยสัญญาณ
ดังกล่าวจะบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่ามีการกดแป้นอะไร
1.2 เม้าส์ (Mouse)
คือ อุปกรณ์ขนาดเท่าอุ้งมือ ที่ด้านบนของเม้าส์จะมีแป้นสาหรับการกดเพื่อติดต่อกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เม้าส์เป็นอุปกรณ์สาหรับใช้ชี้ตาแหน่งต่างๆ บนจอภาพ โดยจะมีลูกศรเลื่อนไปบน
จอภาพตามการเลื่อนเม้าส์ไปมาบนโต๊ะ เม้าส์ที่ใช้ในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ
o เม้าส์ลูกกลิ้ง เป็นเม้าส์ที่มีลูกกลิ้งกลมๆ อยู่ใต้กล่องและมีเซ็นเซอร์ติดอยู่เมื่อ
เลื่อนเม้าส์เซ็นเซอร์จะส่งสัญญาณการเลื่อนตาแหน่งของเม้าส์ เม้าส์ชนิดนี้ใช้
กลิ้งตามพื้นเรียบๆ เช่น บนโต๊ะ การกลิ้งจะทาให้เกิดสัญญาณไปเลื่อนลูกศรบน
จอภาพ
o เม้าส์ไร้สาย เป็นเม้าส์ที่ไม่มีสาย จะใช้แสงอินฟาร์เรดในการรับส่งสัญญาณแทน
การใช้สาย
1.3 แทรกบอลล์(Track Ball)
มีลักษณะคล้ายเม้าส์ลูกกลิ้งขนาดใหญ่หงายขึ้น แทรกบอลล์ได้รับการออกแบบให้ทางานแบบ
เดียวกับเม้าส์โดยมีลูกบอลล์ขนาดใหญ่ที่ง่ายต่อการกลิ้งไปมาโผล่ออกมาจากฐาน การใช้จะกลิ้ง
ลูกบอลล์โดยใช้นิ้วและอุ้งมือและกดปุ่มที่อยู่ในลูกบอลล์ด้านในด้านหนึ่งการใช้แทรกบอลล์ง่าย
และรวดเร็วกว่าลากเม้าส์โดยแทรกบอลล์จะอยู่กับที่ไม่ต้องเลื่อนเหมือนเม้าส์ แทรกบอลล์เป็น
อุปกรณ์ที่นิยมแพร่หลายเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋ าหิ้ว
1.4 MICR (Magnetic Ink Character Reader)
คือ เครื่องอ่านหมึกพิมพ์แม่เหล็กเครื่อง MICR จะใช้มากในธนาคาร โดยใช้กับเช็คเพราะเช็ค
ธนาคารทั่วไปตรงบริเวณขอบล่างของเช็คจะมีตัวเลขและสัญลักษณ์แสดงรหัสธนาคาร รหัส
สาขา หมายเลขบัญชีของผู้ของออกเช็คซึ่งพิมพ์ด้วยหมึกผสมกับผงเหล็กออกไซด์ เครื่อง MICR
จะอ่านหมึกพิมพ์แม่เหล็กแล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้าเข้าสู่ CPU
1.5 MOR (Optical Mark Reader)
คือ เครื่องอ่านเครื่องหมายบนกระดาษ เช่น เครื่องตรวจข้อสอบ โดยเครื่อง OMR จะทาการอ่าน
กระดาษคาตอบที่ฝนด้วยดินสอดา เช่น ดินสอ 2B แล้วเปลี่ยนให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าเข้าสู่ซีพียู
1.6 OCR (Optical Character Reader)
คือ เครื่องที่ใช้อ่านข้อมูลที่ถูกบันทึกตามรูปแบบและตาแหน่งที่กาหนดไว้ข้อมูลจะเป็น
ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ที่ออกแบบไว้โดยเฉพาะและสามารถรับข้อมูลในรูปของเส้นที่เป็นแท่ง
สีอ่อนสีเข้มที่เรียกว่าบาร์โคด (Bar Code) ซึ่งพิมพ์ติดไว้ที่กล่องบรรจุสินค้า โดยเครื่องอ่านบาร์
โคดทาหน้าที่ถอดรหัสจากแท่งเหล่านี้แล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ตรวจสอบราคาแล้วแสดงราคามายังเครื่องเก็บเงิน พร้อมทั้งตัดสต็อกสินค้าและบันทึกยอดการ
ขาย เนื่องจากเครื่อง OCR สามารถอ่านข้อมูลจากสื่อต่างๆ ได้หลายชนิดจึงนิยมใช้กันแพร่หลาย
ในวงการธุรกิจต่างๆ เช่น ห้างสรรพสินค้า หรือร้านขายหนังสือ เป็นต้น
1.7 เครื่องอ่านพิกัด (Digitizer)
เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกระดานอิเล็กทรอนิกส์เรียบๆ มีสายไฟฟ้าและอุปกรณ์
คล้ายแว่นขยายที่มีขีดกากบาทตรงกลางพร้อมปุ่มสาหรับกด ทาหน้าที่ส่งผ่านข้อมูลไปบน
จอภาพ เครื่องอ่านพิกัดจะอ่านค่าพิกัดตาแหน่ง (Coordinate) ของจุดบนภาพแล้วส่งเข้าสู่เครื่อง
คอมพิวเตอร์ รูปภาพจะถูกแสดงทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์เครื่องอ่านพิกัดเหมาะกับงานที่
เกี่ยวกับแผนที่และภาพกราฟิกต่างๆ เครื่องอ่านพิกัดแบบนี้บางทีเรียกว่า แท็ปเลต )Tablet)
1.8 เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner)
เป็นอุปกรณ์ที่เก็บภาพหรือข้อความแล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่อง
สแกนเนอร์จะใช้งานที่ต้องเกี่ยวข้องกับกราฟิกดีไซน์ที่ต้องใช้ภาพเครื่องสแกนเนอร์มีขนาดและ
ราคาต่างๆ กัน เช่น
2
สแกนเนอร์แบบสอดแผ่นเป็นเครื่องขนาดเล็กใช้สอดภาพหรือเอกสารที่เป็นแผ่นเข้าไปในช่อง
อ่านข้อมูล
สแกนเนอร์มือถือ มีขนาดเล็กและราคาไม่แพงนัก ส่วนใหญ่ใช้สแกนภาพเล็กๆ เช่น โลโก้หรือ
ภาพลายเส้น
สแกนเนอร์แผ่นเรียบ เป็นเครื่องขนาดใหญ่ประกอบด้วยแผ่นกระจกเอาไว้สแกนภาพคล้าย
เครื่องถ่ายเอกสารภาพที่ได้จะมีคุณภาพดีกว่าสแกนเนอร์มือถือและราคาก็แพงกว่า
1.9 ปากกาเรืองแสง (Light Pen)
มีลักษณะเหมือนกับปากกา ที่ปลายของปากกาจะประกอบด้วยเซล (cell) ที่ไวต่อแสงและ
ตอนท้ายของปากกานี้จะมีสายเพื่อต่อไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วาดแบบในงาน
อุตสาหกรรมต่างๆ โดยแตะปากกาเรืองแสงบนจอภาพชนิดพิเศษก็จะปรากฏเป็นรูปที่วาด นิยม
ใช้งานออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์หรือ CAD (Computer Aided Design)
1.10 จอยสติ๊ก (Joy Sticks)
มีลักษณะเป็นคันโยกไปมาเพื่อการเคลื่อนที่ในเกมพร้อมกับมีปุ่มให้กดสาหรับสั่งงานพิเศษ มี
หลักการทางานเช่นเดียวกับเม้าส์
1.11เครื่องเทอร์มินัล (Terminal)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์และแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่องเทอร์มินัลสามารถติดตั้งอยู่ห่างจากเครื่องคอมพิวเตอร์ในระยะไกลๆ ได้โดยเชื่อมด้วย
สายโทรศัพท์เทอร์มินัล จึงจัดเป็นหน่วยรับข้อมูลโดยตรงอีกชนิดหนึ่งคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง
สามารถต่อเข้ากับเครื่องเทอร์มินัลได้หลายๆ ตัวเครื่องเทอร์มินัลที่ใช้กันอยู่มี 2 ประเภทใหญ่ คือ
o แบบพิมพ์ดีด (Typewriter) ประกอบด้วย คีย์บอร์ด หรือแป้นพิมพ์ซึ่งส่วนที่ใช้
บันทึกข้อมูลเพื่อส่งไปยังซีพียู (CPU)
o บนจอภาพ (CRT : Cathode Ray Tube) เป็นเทอร์มินัลชนิดที่มีจอภาพและ
แป้นพิมพ์โดยจอภาพจะแสดงสิ่งที่กาลังคีย์ผ่านแป้นพิมพ์
3
1.12 POS (Point of Sale Terminal)
เป็นเครื่องเทอร์มินัล อีกชนิดหนึ่งนิยมใช้ตามซุปเปอร์มาเก็ตใช้เก็บเงิน POS จะมีแป้นพิมพ์
สาหรับคีย์ข้อมูลและมีจอภาพเล็กๆ เพื่อแสดงยอดเงินและมีเครื่องพิมพ์สาหรับพิมพ์รายการ
ให้แก่ลูกค้า
การใช้เครื่อง POS จะมีการบันทึกรหัสและราคาสินค้าพร้อมราคาขายไว้ในเครื่องก่อนล่วงหน้า
การจาหน่ายและการชาระเงินจะทาที่จุดขาย จึงเรียกว่าเครื่อง Point of Sale หรือ POS โดย
พนักงานแคชเชียร์จะป้อนรหัสสินค้าซึ่งกาหนดเป็นตัวเลข รายการสินค้าและราคาขายก็จะ
ปรากฏที่จอภาพเล็กๆ ขณะเดียวกันรายการก็จะพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์เป็นใบเสร็จรับเงินไป
ในตัวพร้อมกับแสดงการรวมเงิน การรับเงินและการทอนเงิน การป้อนรหัสสินค้าด้วยการกดปุ่ม
ตัวเลขมากๆ มีโอกาสผิดพลาด ต่อมาก็มีการแก้ไขโดยใช้รหัสแท่ง (BAR CODE) โดยข้อมูล
เป็นรหัสแทนด้วยรูปแถบขาวดาที่มีความกว้างความแคบของตัวเลขแต่ละตัวแตกต่างกัน การ
อ่านข้อมูลจะอาศัยหลักการสะท้อนของแสง โดยใช้เครื่องสแกนอ่านข้อมูลเข้าไปเก็บใน
คอมพิวเตอร์โดยตรง
1.13 จอสัมผัส (Touch Screen)
ป็นจอภาพชนิดพิเศษที่ใช้ระบบสัมผัสแทนการใช้คีย์บอร์ดและเม้าส์ โดยการใช้นิ้วไปสัมผัสกับ
จอภาพ ปัจจุบันมีการนาจอภาพสัมผัสมาใช้กับอุปกรณ์มัลติมีเดีย เมื่อเกิดการสัมผัสหน้าจอ
เครื่องก็จะแสดงภาพและเสียงทันทีเหมาะกับผู้ที่ใช้คีย์บอร์ดและเม้าส์ไม่คล่อง เช่น ใช้ในการ
สอบถามข้อมูลหรือข้อสนเทศตามสถานที่เที่ยว พิพิธภัณฑ์ต่างๆ เป็นต้น
1.14 แพดสัมผัส (Touch Pads)
เป็นแผ่นสาหรับใช้นิ้วจิ้มเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานแทนเม้าส์ โดยเครื่องจะเปลี่ยนจากแรง
กดเป็นสัญญาณไฟฟ้า นิยมใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋ าหิ้ว (Note Book)
1.15 กล้องดิจิตอล (Digital Camera)
4
เป็นกล้องถ่ายภาพที่ไม่ต้องใช้ฟิล์ม โดยกล้องจะแปลงภาพเป็นสัญญาณดิจิตอลเข้าไปเก็บเป็น
ไฟล์คอมพิวเตอร์แล้วเรียกดูภาพได้ทันทีหรือจะใช้โปรแกรมช่วยตัดต่อ ตกแต่งภาพให้ดู
สวยงามขึ้นก็ได้ปัจจุบันนิยมมาก เช่น การถ่ายรูปสติกเกอร์
1.16 อุปกรณ์รับข้อมูลเสียง (Voice Input Devices)
เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยใช้เสียงของมนุษย์แล้วแปลงสัญญาณเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอลเข้าสู่
ระบบคอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์จะทาการเปรียบเทียบกับสัญญาณเสียงที่จาหรือบันทึกไว้
ถ้าพบคาที่ตรงก็จะทาให้เกิดเสียงออกมาทางลาโพงคอมพิวเตอร์
2.หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit)
หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU) ถือเป็นสมองของเครื่องคอมพิวเตอร์คือส่วนที่ทาหน้าที่
ควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ
2.1หน่วยควบคุม (Control Unit)
เป็นส่วนที่ทาหน้าที่ประสานการทางานของส่วนต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์เปรียบเทียบเสมือน
เป็นศูนย์ระบบประสาท คือ ควบคุมการทางานหน่วยรับข้อมูล หน่วยคานวณและตรรกะ และ
หน่วยแสดงผลลัพธ์ นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ผลิต สัญญาณที่จะใช้ในการซิงโครไนส์
(Synchronize) การทางานและการส่งถ่ายข้อมูลเข้าออก ALU และภายนอก CPU ควบคุมการส่ง
ถ่ายข้อมูลผ่านบัสแอดเดรส (Address Bus) และบัสข้อมูล (Data Bus) และทาการแปล
ความหมายของสัญญาณต่างๆ บนบัสควบคุม (Control Bus) ซึ่งรับจากวงจรภายนอก CPU
หน้าที่ที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งของหน่วยควบคุมคือการอ่านคาสั่งที่เก็บไว้ในหน่วยความจามา
ถอดรหัส (Decode) และทางานตามคาสั่งนี้ การทางานจะเป็นจังหวะซ้ากัน คือจังหวะอ่านคาสั่ง
(Fetch) จังหวะถอดรหัสคาสั่ง (Decode) และจังหวะทางานตามคาสั่ง (Execute) กลุ่มคาสั่งที่
เขียนไว้ในหน่วยความจาเรียกว่า โปรแกรม (Program) CPU จะอ่านคาสั่งและทางานตามคาสั่ง
เป็นขั้นๆ จนกว่าจะจบโปรแกรม
2.2 หน่วยคานวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit)
ทาหน้าที่ประมวลผลด้านคณิตศาสตร์และตรรกะ เช่น
5
o การคานวณ ได้แก่ บวก ลบ คูณ หาร
o การกระทาทางตรรกะ (AND, OR)
o การเปรียบเทียบ (Compare) เช่น การเปรียบเทียบค่าของข้อมูล 2 ตัวว่ามีค่า
เท่ากัน มากกว่า หรือน้อยกว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรก็สามารถ
เปรียบเทียบได้
o การเลื่อนข้อมูล (Shift)
o การเพิ่มและการลด (Increment and Decrement)
o การตรวจสอบบิท (Test Bit)
ในระหว่างทาการประมวลผล หน่วยควบคุม และคานวณและตรรกะจะทางานร่วมกัน
หน่วยความจาหลักและเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของ CPU ตัว CPU จะมีสถานที่
จัดเก็บข้อมูลพิเศษเรียกว่ารีจีสเตอร์ (Register) ซึ่งจะมีการทางานที่เร็วมากโปรแกรม คาสั่งจะ
ได้รับการอ่าน (Load) จากหน่วยความจาหลักเข้าไปในรีจีสเตอร์ก่อนที่จะทาการประมวลผล
รีจีสเตอร์ (Register)
รีจีสเตอร์คือที่เก็บข้อมูลชั่วคราว (Temporary Memory) ซึ่งจะเก็บข้อมูลที่อ่านจากหน่วยความจา
หลัก เพื่อใช้ในการคานวณหรือข้อมูลที่กาลังถูกประมวล การประมวลผลจะต้องกระทาเฉพาะ
ข้อมูลที่เก็บไว้ในรีจีสเตอร์เท่านั้น ถึงแม้ว่ารีจีสเตอร์จะทาหน้าที่เก็บข้อมูลแต่ไม่ใช่ส่วนของ
หน่วยความจา แต่จะเป็นส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ซึ่งจะถูกดูแลใช้งาน
โดยหน่วยควบคุมรีจีสเตอร์มีชื่อเรียกตามหน้าที่
รีจีสเตอร์พื้นฐานที่พบในไมโครโปรเซสเซอร์ส่วนใหญ่ได้แก่
แอกคิวมูเลเตอร์ รีจีสเตอร์ (Accumulator Register) เป็นรีจีสเตอร์หลักของไมโครโปรเซสเซอร์
ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่ใช้ประมวลผลทางคณิตศาสตร์และลอจิก ทางานร่วมกับ ALU
โปรแกรมเคาน์เตอร์ (Program Counter) ในการทางานของไมโครโปรเซสเซอร์จะทางาน
ตามลาดับคาสั่งของโปรแกรม โปรแกรมเคาน์เตอร์จะทาหน้าที่ชี้ตาแหน่งของหน่วยความจาที่
เก็บคาสั่งนั้นๆ เพื่อให้ไมโครโปรเซสเซอร์ทาตามคาสั่ง แล้วโปรแกรมเคาน์เตอร์ก็จะชี้คาสั่ง
ลาดับต่อไปเพื่อให้ไมโครโปรเซสเซอร์ทางาน
6
รีจีสเตอร์สถานะ (Status Register) หรือ แฟลกรีจีสเตอร์ (Flag Register) ทาหน้าที่เก็บผลลัพธ์
ต่างๆ ที่ได้จากการทางานตามคาสั่ง หลังจากที่ ALU ทาการประมวลผลจะมีการเซ็ตหรือเคลียร์
แต่ละบิทในรีจีสเตอร์สถานะ ไมโครโปรเซสเซอร์จะเช็คค่าจากบิทบางบิทในรีจีสเตอร์สถานะ
ขึ้นกับคาสั่งว่า บิทนั้นเซ็ตหรือเคลียร์ เพื่อตัดสินใจทางานต่อไป
รีจีสเตอร์คาสั่ง (Instruction Register) ทาหน้าที่เก็บคาสั่งไมโครโปรเซสเซอร์กาลังทางานอยู่
คาสั่งจะถูกโหลดจากหน่วยความจามาเก็บไว้ในรีจีสเตอร์คาสั่ง
โปรแกรมเป็นกลุ่มคาสั่งที่เรียงตามลาดับ โปรแกรมจะถูกเข้ารหัสเป็นเลขฐานสองเพื่อสามารถ
เก็บไว้ในหน่วยความจาได้คาสั่งในโปรแกรมจะถูกอ่านตามลาดับ เพื่อป้อนเข้าไปใน CPU เพื่อ
ถอดรหัสและดาเนินการ การอ่าน (Fetch) ถอดรหัส (Decode) และ ดาเนินการ (Execute) จะอยู่
ภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุม (Control Unit) การส่งถ่ายข้อมูลหรือ การเก็บข้อมูล
ชั่วคราวจะเก็บไว้ในรีจีสเตอร์ (Register) ภายใน CPU
3.หน่วยความจา (Memory Unit)
คือ ส่วนที่ทาหน้าเก็บข้อมูลหรือคาสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล
หน่วยความจาเป็นแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
3.1หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
หรือหน่วยความจาภายใน (Internal Memory) เป็นหน่วยความจาที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยความจาหลัก ทาหน้าที่
o เก็บข้อมูลที่รับเข้าจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อนาไปประมวลผลเรียกหน่วยความจา
ส่วนนี้ว่า ที่เก็บข้อมูล (Input Storage Area)
o เก็บผลลัพธ์ที่ได้ขณะทาการประมวลผลซึ่งยังไม่ใช่ผลลัพธ์สุดท้าย เรียก
หน่วยความจาส่วนนี้ว่าที่เก็บข้อมูลขณะดาเนินการ (Working Storage Area)
o เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้าย เรียก หน่วยความจา
ส่วนนี้ว่าที่เก็บผลลัพธ์ (Output Storage Area)
7
o เก็บชุดคาสั่งที่ใช้ในการประมวลผล เรียกหน่วยความจาส่วนนี้ว่าที่เก็บโปรแกรม
(Program Storage Area)
ในส่วนของหน่วยความจาหลักนี้ ถ้าพิจารณาตามความถาวรและความคงอยู่ของข้อมูลสามารถ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
-หน่วยความจาถาวร (ROM : Read Only Memory)
เป็นชิป (Chip) ที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล หรือโปรแกรมคาสั่งอย่างถาวรผลิตโดยบริษัทผู้ผลิต
เครื่อง ในการผลิตนั้นจะฝังโปรแกรมเข้าไปในตัวชิปและเรียกซอฟต์แวร์ที่เก็บไว้ใน ROM นี้ว่า
เฟิร์มแวร์ (Firmware) ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บโปรแกรมระบบผู้ใช้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขสิ่ง
ที่บันทึกไว้ใน ROM ได้สามารถอ่านข้อมูลใช้ได้อย่างเดียวไม่สามารถเข้าไปเขียนได้นอกจาก
โปรแกรม นอกจากโปรแกรมระบบแล้วยัง รอมไบออส (ROM BIOS) ซึ่งทาหน้าที่ตรวจสอบ
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ตอนเริ่มเปิดเครื่อง (Boot) ทาหน้าที่จัดการและ
ควบคุมอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับ Input /Output ถ้าเป็นเครื่องพีซีของบริษัทไอบีเอ็มจะมีรอมเบสิก
(ROM BASIC) ซึ่งเป็นส่วนที่ใช้เขียนโปรแกรมภาษาเบสิกโดยใช้กับดอส (DOS) ข้อมูลหรือ
โปรแกรมจะถูกเก็บไว้อย่างถาวร ROM มีคุณสมบัติพิเศษตรงที่เป็นหน่วยความจาแบบ NON-
Volatile คือไฟดับ ข้อมูลหรือโปรแกรมก็ยังคงสภาพอยู่ ไม่สูญหายไปไหนจึงเหมาะสาหรับ
คาสั่งสาคัญของระบบ
-หน่วยความจาชั่วคราว (RAM : Random Access Memory)
เป็นชิป (Chip) ที่ใช้เพื่อทาหน้าที่จัดการในส่วนของหน่วยความจาหลัก เป็นหน่วยความจาที่เก็บ
ข้อมูลไว้ชั่วคราว โดยสามารถอ่าหรือเขียนข้อมูลไปได้ตามความต้องการของผู้ใช้แต่มีข้อเสียคือ
ถ้าไฟดับหรือปิดเครื่องข้อมูลจะสูญหายทันที (Volatile) ดังนั้น ถ้าต้องการเก็บข้อมูลต้องเก็บไว้
ที่หน่วยความจาสารอง (Secondary Memory)
(RAM) เป็นหน่วยความจาที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าไปใช้Address ในตาแหน่งใดก็ได้ใน
หน่วยความจาเพื่อเขียนหรืออ่าน ปัจจุบันขนาดของหน่วยความจาของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
จะอยู่ระหว่าง 32-64 Megabyte
8
แรม (RAM) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่
o DRAM (Dynamic RAM) เป็นหน่วยความจาที่นิยมใช้เป็นหน่วยความจาหลักใน
เครื่องพีซี มีความจุสูง ราคาไม่แพง มีการเอาชิป DRAM หลายๆ ตัวมาต่อกับ
แผงวงจรเล็กๆ แบ่งเป็น SIMM (Single In-line Memory Module) และ DIMM
(Dual In-line Memory Module) เช่น SIMM 30 pin, DIMM 168 pin โดยเสียบ
เข้าในช่องช็อกเก็ตในเมนบอร์ดเพื่อเพิ่มหน่วยความจา
o SRAM (Static RAM) เป็นหน่วยความจาที่เร็วที่สุด ราคาแพง มักนาไปใช้ใน
หน่วยความจาแบบแคช (Cache Memory) หน่วยความจาแบบนี้มักใช้กับซีพียูที่มี
ความเร็วในการทางานสูง หน่วยความจาแบบแคชจะมีวงจรคอยควบคุมเพื่อให้
ข้อมูลที่ซีพียูใช้งานบ่อยๆ อยู่ในหน่วยความจาแบบนี้เพื่อไม่ให้เกิดสถานะรอ
(Wait State) ทาให้การทางานมีประสิทธิภาพดีขึ้น
3.2หน่วยความจาสารอง (Auxiliary Memory or Secondary Memory)
หรือหน่วยความจาภายนอก (External Memory)
เนื่องจากหน่วยความจาหลักประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้การอ่านและเขียนข้อมูล
เป็นไปด้วยความรวดเร็วแต่หน่วยความจาหลักไม่สามารถเก็บข้อมูลได้หมดหรือสามารถเก็บ
ข้อมูลได้ชั่วคราวขณะที่ใช้งาน จึงจาเป็นต้องมีหน่วยความจาสารองไว้ในการเก็บข้อมูล
หน่วยความจาสารองต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูล และอุปกรณ์รับส่งข้อมูลชนิดต่างๆ สื่อบันทึก
ข้อมูล เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กซีดีรอม เป็นต้น
ในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นข้อมูลหรือโปรแกรมที่นาเข้าสู่หน่วยประมวลผล
กลาง (CPU) เพื่อทาการประมวลผลจะถูกเก็บบันทึกไว้ในหน่วยความจาหลักซี่งหน่วยความจา
หลักจะมีความเร็วในการจัดเก็บข้อมูลสูงและมีราคาแพง จึงทาให้คอมพิวเตอร์มีความจุจากัด ดั้ง
นั้นในบางครั้งข้อมูลหรือโปรแกรมที่มีจานวนมาก จึงจาเป็นต้องเก็บหรือบันทึกไว้ใน
หน่วยความจาอื่นๆ ที่ไม่จาเป็นต้องมีความสามารถทางด้านความเร็วสูงกับหน่วยความจาหลักจึง
เกิดหน่วยความจาสารองขึ้น ซึ่งมีราคาถูกกว่าและสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่า
9
หน่วยความจาสารองต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูล และอุปกรณ์รับส่งข้อมูลชนิดต่างๆ เช่น เทป
แม่เหล็ก จานแม่เหล็ก ผู้ใช้จะต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูลและอุปกรณ์รับส่งข้อมูลเป็น
หน่วยความจาสารองให้เข้ากับลักษณะการประมวลผล ดังนี้
1. ความเร็วในการดึงข้อมูล (Retrieval Speed) จากหน่วยความจาสารองเพื่อนามา
ประมวลผลโดยต้องการใช้เวลาให้น้อยที่สุด
2. ความจุ (Storage Capacity) ต้องการอุปกรณ์ที่มีความสามารถในการเก็บข้อมูลได้
มากที่สุด หรือมีความจุมากที่สุด
3. ค่าใช้จ่าย เสียค่าใช้จ่ายในการประมวลผลน้อยที่สุด
หน่วยความจาสารอง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ
o หน่วยความจาสารองที่สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (Direct Access) ได้แก่สื่อที่
สามารถเก็บและเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้โดยตรงไม่ต้องอ่านเรียงตามลาดับ
เช่น จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) และ ซีดีรอม (CD-ROM)
o หน่วยความจาสารองที่เข้าถึงข้อมูลเรียงตามลาดับ (Sequential Access) ได้แก่ สื่อ
ที่ใช้บันทึกข้อมูลที่ต้องมีการจัดเก็บและเรียกใช้ข้อมูลโดยการเรียงตามลาดับ
เช่น เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape)
1.จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) เป็นอุปกรณ์หน่วยความจาที่นิยมใช้กันมาก อุปกรณ์ชนิดนี้มี
ลักษณะเป็นแผ่นกลมบางๆ ผิวหน้าทั้งสองฉาบด้วยสารแม่เหล็กมีขนาดต่างๆ กันเป็นสื่อนา
ข้อมูลที่มีความเร็วสูง สามารถบันทึกข้อมูลได้ทั้งแบบเรียงลาดับ (Sequential) และแบบสุ่ม
(Random) คือ บันทึกลงในที่ว่างตรงไหนก็ได้ส่วนการค้นหาข้อมูลที่บันทึกไว้ในจานแม่เหล็ก
จะเป็นแบบเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (Direct Access) คือ ดึงข้อมูลที่ต้องการได้โดยตรง การเข้าถึง
ข้อมูลใช้วิธีอ้างตาแหน่งของข้อมูลนั้น ทาให้การอ่านหรือค้นหาข้อมูลได้เร็ว
การบันทึกข้อมูลลงแผ่นจานแม่เหล็กจะบันทึกลักษณะเป็นวงเรียกว่าแทร็ก (track) โดยเริ่มจาก
วงนอกเข้าไปยังวงใน วงนอกสุดของจานแม่เหล็กจะเรียกแทร็กที่ 0 จานวนแทร็กในจาน
แม่เหล็กจะมีไม่เท่ากัน แต่ละแทร็กจะถูกแบ่งออกเป็น เซกเตอร์ (Sector)
10
ในการอ่านข้อมูลแต่ละครั้งจะทาทีละ 1 เซกเตอร์ การจัดแทร็กและเซกเตอร์ ถ้าเป็นเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ ภายใต้ระบบดอสจะใช้คาสั่งฟอร์แมท (Format) จานวนเซกเตอร์ในแต่ละ
เทร็กขึ้นอยู่กับชนิดของจานแม่เหล็กและวิธีการฟอร์แมท บริษัท IBM ได้เลือกใช้เซกเตอร์ที่มี
ขนาดเท่ากับ 512 ไบท์(1/2 KB) การอ่านและเขียนทาโดยดิสก์ไดร์ฟ (Disk Drive) โดยมีหัวอ่าน
และเขียน
จานแม่เหล็กทั้งฮาร์ดดิสก์และดิสก์เก็ตจะติดต่อกับแผ่นเมนบอร์ด (Mainboard) ผ่านดิสก์
คอนโทรลเลอร์ซึ่งเป็นวงจรที่อยู่บนแผ่นเมนบอร์ดตัวคอนโทรลเลอร์จะทาหน้าที่ส่งข้อมูลจาก
ดิสก์ไดร์ฟไปยังตัวไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) และแรม (RAM) ดิสก์ไดรฟ์คือ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านและเขียนข้อมูลลงแผ่นดิสก์โดยจะประกอบด้วยหัวอ่าน/เขียน
จานแม่เหล็กแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. จานแม่เหล็กแบบแข็งหรือดิสก์แบบแข็ง (Solid Disk)
2. จานแม่เหล็กแบบอ่อนหรือดิสก์แบบอ่อน (Flexible Disk, Floppy Disk,
Diskette)
1. 1.ดิสก์แบบแข็ง (Solid Disk)
2. - ฮาร์ดดิสก์(Hard disk)
ดิสก์และไดร์ฟของฮาร์ดดิสก์จะรวมเป็นอันเดียวกันเรียกว่าฮาร์ด
ไดร์ฟแตความนิยมมักเรียกว่า ฮาร์ดดิสก์เครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์มัก
ถูกกาหนดให้เป็นไดร์ฟ C ฮาร์ดดิสก์เป็นแผ่นโลหะมีขนาด 51/4
นิ้ว และ 3 ½ นิ้ว บรรจุอยู่ในกล่องพร้อมหัวอ่านกล่องนี้จะปิด
สนิทประกอบด้วยแผ่นโลหะ 2-3 แผ่น ฮาร์ดดิสก์ชุดหนึ่งจะ
บันทึกข้อมูลได้มาก ถ้าฮาร์ดดิสก์ยิ่งมีความจุมากขึ้นก็จะยิ่งมีราคา
แพงขึ้น นอกจากนี้ ฮาร์ดดิสก์ยังสามารถอ่านและบันทึกข้อมูลใน
อัตราที่เร็วกว่าดิสก์เก็ต หัวอ่านฮาร์ดดิสก์จะไม่ได้แตะพื้นผิว
จริงๆ ในขณะที่หัวอ่านดิสก์เก็ตจะแตะที่พื้นผิว ดังนั้น ในการใช้
งานดิสก์เก็จจะเสื่อมคุณภาพเร็วกว่าฮาร์ดดิสก์
11
- ดิสก์แพค (Disk Pack)
เป็นดิสก์หลายๆ แผ่นรวมกันเป็นชุดและครอบครัวด้วยพลาสติก
พร้อมที่จับเพื่อความสะดวกในการใช้และการติดตั้งในเครื่องจาน
แม่เหล็กดิสก์แพคชุดหนึ่งอาจประกอบด้วยดิสก์3-11 แผ่น วาง
ซ้อนอยู่บนแกนเดียวกัน มีหัวอ่านหลายๆ หัว โดยที่หัวอ่านแต่ละ
หัวจะใช้แกนร่วมกันและถูกดึงเข้าดึงออกในแนวแทร็กเดียวกัน
เรียกกลุ่มของแทร็กนี้ว่าไซลินเดอร์ (Cylinder)
2.ดิสก์แบบอ่อนหรือดิสก์เก็ต (Flexible Disk, Floppy Disk, Diskette)
เป็นดิสก์ที่ทาจากแผ่นฟิลม์พลาสติกบาง โดยทาจากสารไมลาร์ (Mylar)ฉาบด้วยสารแม่เหล็ก
และหุ้มด้วยกระดาษแล้วใส่ซองเอาไว้ดิสก์เก็ตใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มีขนาด 5 ¼
และ 3 ½ นิ้ว
ลักษณะแผ่นดิสก์เก็ตมีรูปร่างคล้ายแผ่นเสียง มีกระดาษหุ้มอีกชั้นหนึ่ง ส่วนที่เจาะเป็นวงรียาว
สาหรับหัวอ่านและบันทึกเคลื่อนที่ เรียกว่า Head Window และมีรูกลมเล็กๆ เรียกว่า Index Hole
มีไว้เพื่อควบคุมการอ่านของแต่ละเซกเตอร์ เนื้อที่บนแผ่นดิสก์เก็ตจะมีหมายเลขแทร็กและเซ็ก
เตอร์กากับอยู่ ตัวเลขนี้จะเป็นตัวชี้ตาแหน่งของข้อมูลที่จะอ่านหรือเขียนลงบนแผ่นดิสก์เก็ต
ด้านหนึ่งของแผ่นจะมีปุ่มสาหรับเลื่อน เพื่อป้องกันการบันทึกข้อมูลทับข้อมูลเดิม เรียกว่า Write
Protect Notch
ชนิดของแผ่นดิสก์เก็ตสามารถแบ่งออกได้ดังนี้
1. Single-Side Single-Density (SS SD) หมายถึง แผ่นดิสก์เก็ตที่ใช้ได้เพียงหน้า
เดียว และความหนาแน่นของข้อมูลปกติ
2. Single-Side Double-Density (SS DD) หมายถึง แผ่นดิสก์เก็ตที่ใช้ได้เพียงหน้า
เดียว และความหนาแน่นของข้อมูลเป็นสองเท่า
3. Double-Sides Single-Density (DS SD) หมายถึง แผ่นดิสก์เก็ตที่ใช้ได้สองหน้า
และแต่ละหน้ามีความหนาแน่นของข้อมูลปกติ
12
4. Double-Side Double-Density (DS DD) หมายถึง แผ่นดิสก์เก็ตที่ใช้ได้สองหน้า
และแต่ละหน้ามีความหนาแน่นของข้อมูลเป็นสองเท่า ถ้าเป็นดิสก์เก็ตขนาด 5 ¼
นิ้ว จะมีความจุ 360 กิโลไบท์และชนิด 3 ½ จะมีความจุ 720 กิโลไบท์
5. Double-Sides High-Density (DS HD) หมายถึง แผ่นดิสก์เก็ตที่ใช้ได้สองหน้า
และแต่หน้ามีความหนาแน่นของข้อมูลสูง ถ้าเป็นดิสก์เก็ตขนาด 5 ¼ นิ้ว จะมี
ความจุ 1.2 เมกะไบท์และชนิด 3 ½ นิ้ว จะมีความจุ 1.44 เมกะไบท์
ระยะเวลาที่ใช้ในการดึงข้อมูล (Access Time) ของจานแม่เหล็ก
Access Time คือเวลาตั้งแต่คอมพิวเตอร์เริ่มค้นหาข้อมูล จนกระทั่งได้รับข้อมูลตามต้องการ
ดังนั้น Access Time จะประกอบด้วย
1. ระยะเวลาค้นหา (Seek Time) คือ เวลาที่แขนของหัวอ่านเคลื่อนที่ไปยังตาแหน่ง
ของแทร็ค (Track) ที่ต้องการ
2. การสวิตซ์หัวอ่าน (Head Switching) คือ การหมุนของหัวอ่านให้อยู่เหนือพื้นผิว
แทร็ค (Track) ที่ต้องการ
3. ระยะเวลาในการหมุน (Rotation Delay Time) คือ เวลาที่หมุนให้หัวอ่านอยู่ตรง
กับรายการข้อมูลที่ต้องการ
4. การเคลื่อนย้ายข้อมูล (Data Transfer) คือ เวลาที่ใช้ในการย้ายข้อมูลจากแทร็ค
(Track) บนจานแม่เหล็กเข้าสู่หน่วยความจาหลัก
ข้อดี
1. เวลาที่ใช้ในการดึงข้อมูล (Retrieve) และการปรับปรุงแก้ไข
ข้อมูล (Update) จะใช้เวลาน้อยกว่าเทปแม่เหล็ก เพราะเป็นแบบ
เข้าถึงข้อมูลโดยตรง (Direct Access)
2. ใช้ง่ายและสะดวกกว่าเทปแม่เหล็ก
ข้อเสีย
13
1. ราคาชุดจานแมเหล็กจะแพงกว่าเทปแม่เหล็กที่สามารถบันทึก
ข้อมูลได้ในปริมาณที่เท่ากัน
2. การป้องกันการลบข้อมูลบนเทปจะง่ายกว่าในดิสก์เก็ตเพราะ
เพียงแต่เอาวงแหวนป้องกันไฟล์(File Protection Ring) ออกจาก
เทปเท่านั้น
ดังนั้นงานที่เหมาะที่จะใช้จานแม่เหล็กเก็บข้อมูล คือ
1. เป็นงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลโดยตรง
2. งานที่มีปริมาณข้อมูลไม่มากเกินไป
3. เป็นงานที่ต้องการประมวลผลให้เสร็จในช่วงเวลาจากัด
2.จานแสง (Optical Disk)
เป็นดิสก์อีกชนิดหนึ่งที่ใช้บันทึกข้อมูลได้ปริมาณมาก โดยใช้การบันทึกด้วยระบบแสงเลเซอร์
สามารถอ่านข้อมูลได้ด้วยแสงเลเซอร์ จานแสงนี้สามารถอ่านข้อมูลและบันทึกข้อมูลได้โดย
จะต้องมีเครื่องอ่านและบันทึกโดยเฉพาะ เช่น CD-ROM, CD-R
- ซีดีรอม (CD-ROM : Compact Disc Read –Only Memory)
ซีดีรอมหรือเลเซอร์ดิสก์ จัดเป็นจานแสงชนิดหนึ่ง เป็นสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลด้วย
ความเร็วสูง และสามารถเก็บข้อมูลที่เป็นข้อความ รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว
ซีดีรอมวิวัฒนาการมาจากแผ่นซีดีเพลง (Audio CD) การเก็บข้อมูลจะเป็น
เซกเตอร์แต่ละเซกเตอร์จะเก็บข้อมูลได้2,048 ไบท์การบันทึกข้อมูลลงแผ่น
ซีดีรอมใช้วิธียิงลาแสงเลเซอร์ลงบนแผ่นที่เคลือบด้วยสารไวแสง และแสง
เลเซอร์จะไปทาให้เกิดรอยบนแผ่น ดังนั้นซีดีรอมแต่ละแผ่นจึงบันทึกข้อมูลได้
เพียงครั้งเดียวเมื่อข้อมูลนั้นได้ถูกบันทึกไปแล้วจะไม่สามารถออกหรือเขียนใหม่
เพิ่มเติมได้ดังนั้น ข้อมูลที่จะบันทึกจะต้องเป็นข้อมูลที่แน่นอนไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง แผ่นซีดีรอม หรือเลเซอร์ดิสก์ไม่ต่างจากคอมแพคดิสก์หรือแผ่นซีดี
ที่ใช้ฟังเพลงหรือเลเซอร์ดิสก์ที่ใช้ดูวิดีโอแต่ข้อมูลที่ถูกบันทึกอยู่ภายใต้แตกต่าง
กัน ซึ่งข้อมูลนี้จะถูกอ่านและแปลออกมาเป็นข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ แทนที่จะ
14
ถูกแปลออกมาเป็นเสียงและต้องใช้กับเครื่องอ่านซีดีรอมโดยเฉพาะ ISO 9660
เป็นมาตรฐานที่ใช้กาหนดระบบการจัดเก็บไฟล์สาหรับซีดีรอม ซีดีรอม 1 แผ่น
สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ 650 เมกะไบท์(MB) ซึ่งเทียบกับแผ่นดิสก์ขนาด 3.5
นิ้วได้450 แผ่น ดังนั้นจึงนิยม ใช้ซีดีรอมบันทึกข้อมูลที่เป็นภาพและเสียงซึ่งเป็น
ข้อมูลที่ต้องการเนื้อที่มากเช่น ภาพเคลื่อนไหว (Animation)ภาพกราฟิก ข้อมูล
อ้างอิงข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ตัวบทกฎหมาย สารานุกรม หรือเอกสารตาราใน
ห้องสมุด
การใช้ซีดีรอมจะต้องมีไดรฟ์ของซีดีรอม ซึ่งมีลักษณะเหมือนเครื่องเล่นคอมแพคดิสก์โดยไดรฟ์
จะต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ แล้วใช้ซอฟต์แวร์พิเศษสาหรับการอ่านและใช้ข้อมูลที่มีอยู่บนซีดีรอม
โดยสามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว
ความเร็วของซีดีรอมไดร์ฟ จะวัดที่อัตราความเร็วในการอ่านข้อมูลและการถ่ายเทข้อมูลโดยใช้
สัญลักษณ์ X แทน โดยมีค่าตั้งแต่ 2X, 4X, 6X, 8X, 10X, 12X, 24X, 36X, ฯลฯ ค่าตัวเลขที่อยู่
หน้า X ยิ่งมากเท่าไหร่ ความเร็วในการอ่านข้อมูลและการถ่ายเทข้อมูลยิ่งมากเท่านั้น ดังนั้น
ตัวเลขที่อยู่หน้า X เป็นตัวบอกความเร็ว (Speed) ส่วนตัว X คือตัวทวีคูณที่เพิ่มไปตามความเร็ว
ของตัวเลขที่นาหน้า
ข้อดี
1. ซีดีรอมเก็บข้อมูลได้มากกว่าสื่อเก็บข้อมูลประเภทที่ฉาบด้วยสารแม่เหล็ก มี
ความทนทานกว่าและมีอายุการใช้งานยาวนานกว่า
2. การที่ซีดีรอมสามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว ไม่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมหรือลบ
ข้อมูลที่อยู่ในซีดีรอมได้ซึ่งเป็นข้อดีอย่างหนึ่งที่ข้อมูลบนแผ่นซีดีรอมจะไม่ถูก
ลบหรือไวรัสคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทาลายข้อมูลบนแผ่นซีดีรอมได้
ข้อเสีย
ค่าใช้จ่ายในการทาแผ่นต้นฉบับสูง ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลต่า
o ซีดีอาร์ (CD-R Compact Disc Recordable)
15
เป็นแผ่นซีดีชนิดพิเศษที่สามารถบันทึกข้อมูลได้แต่ต้องใช้
ขบวนการบันทึกพิเศษโดยสามารถบันทึกได้ครั้งเดียว และเครื่อง
อ่านจะต้องมีคุณสมบัติในการอ่านข้อมูลแบบนี้ได้ซีดีอาร์ใช้
สาหรับการทาสาเนา (Backup) ข้อมูลและเก็บข้อมูลถาวร
o ดีวีดี (DVD : Digital Video Disk)
เป็นการพัฒนามาจากซีดีรอม รูปร่างลักษณะและวิธีการใช้งานจะเหมือนกับซีดีรอมทุกประการ
ดิสก์ประเภทนี้จะมีความจุ 4.7 กิกะไบท์(GB) ขึ้นไปจุมากกว่าซีดีรอม 7-24 เท่า เหมาะกับการ
เก็บข้อมูลประเภทมัลติมีเดีย (Multimedia)เพราะเก็บได้ทั้งภาพและเสียง เช่น ใช้ในการ
บันทึกภาพยนต์ซึ่งต้องมีคุณภาพคมชัดและมีระบบเสียงสมบูรณ์แบบ สาหรับดีวีดีไดร์ฟนั้น
สามารถอ่านแผ่นซีดีรอมได้ด้วย ดีวีดีที่ใช้ในปัจจุบันเป็นดีวีดีภาพยนต์แต่สาหรับคอมพิวเตอร์
แล้ว ดีวีดีเป็นสื่อเก็บข้อมูลที่จะมาแทนที่ซีดีรอมในอนาคต สาหรับในปัจจุบันซอฟต์แวร์ดีวีดี
สาหรับคอมพิวเตอร์ยังไม่แพร่หลายมากนัก
3.เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape)
เทปแม่เหล็กเป็นสื่อที่มีราคาถูกใช้เก็บข้อมูลที่มีความจุสูง เทปแม่เหล็กแบ่งออกได้เป็น 2
ประเภทได้แก่เทปชนิดม้วน (Reel Tape) เป็นเทปแม่เหล็กที่ถูกม้วนอยู่บนวงล้อและเทปคาร์
ทริดจ์(Cartridge Tape) เป็นที่นิยมใช้งานสะดวก เทปคาร์ทริดจ์ตัวเทปจะบรรจุในกล่อง
พลาสติก เวลาใช้ก็เพียงแต่เสียบตลับเทปลงในไดร์ฟเลย ซึ่งนับว่าสะดวกกว่าเทปชนิดม้วนมาก
เพราะในการใช้เทปม้วนต้องนามาม้วนเข้าเครื่อง
ลักษณะเทปแม่เหล็กที่ใช้บันทึกข้อมูลมีลักษณะเป็นแถบที่ทาด้วยพลาสติกด้านหนึ่งเคลือบด้วย
สารแม่เหล็ก การบันทึกข้อมูลลงบนเทปจะทาแบบเรียงตามลาดับ (Sequential) และในการอ่าน
หรือค้นหาข้อมูลที่บันทึกไว้บนเทปจะทาแบบเรียงตามลาดับเช่นเดียวกัน
การบันทึกข้อมูลลงบนเทป เมื่อเทปได้รับสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าจากหัวบันทึกก็จะรวมตัวกัน
เป็นความเข้มมากน้อยตามรหัสของข้อมูล เป็นการสร้างสนามแม่เหล็กลงบนเนื้อเทป ถ้าจุดใด
เป็นแม่เหล็กก็หมายถึงการเก็บค่าบิท 1 ตามแนวขวางของเทปจะถูกแบ่งเป็นช่วงๆ เรียกว่า แทร็ก
ส่วนใหญ่จะเป็นแบบ 9 แทร็ก ในแต่ละแทร็กจะเก็บข้อมูล 1 บิท (Bit) ดังนั้น ข้อมูลจะเก็บตาม
16
แนวขวางของเทปได้1 ไบท์(8 บิท เท่ากับ 1 ไบท์) แทรกที่ 9 จะเป็นพาริตี้บิท (Parity Bit) คือ
บิทที่ใช้ในการตรวจสอบข้อผิดพลาด
เทปแม่เหล็กชนิดม้วน (Reel Tape) สามารถนาบันทึกข้อมูลซ้าได้โดยการบันทึกข้อมูลใหม่ทับ
ข้อมูลเดิม แต่ถ้าไม่ต้องการบันทึกข้อมูลต้องถอดวงแหวนป้องกันไฟล์(File Protection) ออก วง
แหวนป้องกันไฟล์เป็นวงแหวนพลาสติกที่อยู่ด้านหลังเทปทุกม้วน การบันทึกข้อมูลลงเทปทา
ได้ก็ต่อเมื่อมีวงแหวนนี้อยู่แต่การอ่านข้อมูลจากเทปจะมีวงแหวนหรือไม่มีก็สามารถอ่านได้โดย
ปกติเมื่อบันทึกข้อมูลเสร็จจะถอดวงแหวนป้องกันไฟล์ออก เพื่อป้องกันการบันทึกข้อมูลซ้าโดย
ไม่ได้ตั้งใจ
วิธีการเก็บ เรคคอร์ด (Record) ในเทปสามารถเก็บได้2 แบบ คือ
แบบที่ 1 ความยาวต่อเรคคอร์ดคงที่ (Fixed Length Records)
เป็นการบันทึกข้อมูลของแต่ละเรคคอร์ดแบบใช้ความยาวของเทปเท่ากันทุกเรคคอร์ด ซึ่งข้อมูล
ที่ใช้จริงอาจมีความยาวไม่เท่ากัน แต่จะกาหนดความยาวของเรคคอร์ดที่ยาวที่สุดเป็นเกณฑ์แบบ
นี้จะทาให้สะดวกในการเขียนคาสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์อท่านแต่จะเปลืองเนื้อเทป
แบบที่ 2 ความยาวต่อเรคคอร์ดไม่คงที่ (Variable Length Records)
เป็นการบันทึกข้อมูลของแต่ละเรคคร์อดตามความยาวของข้อมูลจริงๆ แบบนี้จะประหยัดเนื้อ
เทป แต่ในการเขียนคาสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะยุ่งยากมากกว่าแบบที่ 1
เทปไดร์ฟ (Tape Drive) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านข้อมูลลงเทปจะประกอบด้วยหัวอ่านเขียน
(Read/Write Head) โดยในการอ่าน / เขียนนี้จะมีการหมุนเนื้อเทปให้ผ่านหัวอ่านดังกล่าว
ลักษณะ การอ่านจะเป็นจังหวะ เริ่ม (Star) / หยุด (Stop) การอ่านจะอ่านเรคคอร์ดหนึ่งแล้วหยุด
ชั่วขณะ แล้วจึงอ่านเรคคอร์ดต่อไป ลักษณะการหมุนๆ หยุดๆ ของหัวอ่านนี้ต้องจัดให้เนื้อเทป
ส่วนที่เข้ามาอยู่ใต้หัวอ่านในจังหวะหยุดและเริ่มเป็นเทปว่าง (Gap)เพื่อเป็นการประกันไม่ให้
ข้อมูลตกหล่นหรือหายไปในระหว่างการหยุดและการเริ่ม จึงเรียกช่องว่างนี้ช่องว่างระหว่าง
เรคคอร์ด(Inter Record Gap) ซึ่งช่องว่างดังกล่าวไม่มีการบรรจุข้อมูล แบบนี้จะมีข้อเสีย คือ จะ
เกิดช่องว่างมาก จะทาให้การอ่านช้าลงและสิ้นเปลืองเนื้อเทป ดังนั้นที่หัวอ่านจะมีข้อมูลทีละ 1
17
เรคคอร์ดแล้วหยุด ก็จัดการ ให้หัวอ่านทาการอ่านทีละบล็อก (Block) แทน โดยกาหนดให้แต่ละ
บล็อกบรรจุข้อมูลไว้หลายๆ เรคคอร์ดเพื่อจะทาให้การอ่านเร็วขึ้นและเป็นการประหยัดเนื้อเทป
การบันทึกข้อมูลมี 2 แบบ คือ
แบบที่ 1 Single Record Block เป็นการบันทึกข้อมูลแบบไม่มีบล็อค (Unblock) หรือ 1 บล็อก จะ
มีเพียง 1 เร็คคอร์ด
แบบที่ 2 Multiple Records Block เป็นการบันทึกข้อมูลแบบมีบล็อก (Blocking) คือ 1 บล็อกจะ
มีหลายเรคคอร์ด เพื่อเป็นการประหยัดเนื้อเทปไม่ให้เกิดช่องว่าง (Gap) ถี่จนเกินไป วิธีการรวม
ข้อมูลหลายๆ เรคคอร์ดเข้าด้วยกันเป็น 1 บล็อกนี้ จานวนเรคคอร์ด ซึ่งอยู่ภายในแต่ละบล็อกจะ
เรียกว่า Blocking Factor เช่น ใน 1 บล็อกบรรจุข้อมูล 4 เรคคอร์ด Blocking Factor จะเท่ากับ 4
ช่องว่างที่อยู่ระหว่างบล็อกนี้ เรียกว่า Inter Block Gap
การกาหนดจานวนเรคคอร์ดในแต่ละบล็อกต้องกาหนดจานวนให้ให้เหมาะสมไม่ใช่คานึงถึงแต่
ว่ากาหนดจานวนเรคคอร์ดใน 1 บล็อกมากๆ จะได้ไม่เปลืองเนื้อเทปเพราะในการอ่าน/ เขียนนั้น
จะถูกนาไปไว้ในบัฟเฟอร์ (Buffer) ซึ่งเป็นที่พักข้อมูลชั่วคราวเป็นเนื้อที่ที่กันไว้ใน
หน่วยความจาแรม (RAM) ซึ่งแรมจะใช้เก็บข้อมูลชั่วคราวสาหรับอุปกรณ์รอบนอกที่มี
ความหมายเร็วในการทางานต่ากว่าหน่วยประมวลผลกลาง ถ้าบัฟเฟอร์มีขนาดใหญ่เกินไป ก็จะ
ไปเบียดการใช้เนื้อที่ในหน่วยความจาสาหรับการประมวลผลอื่นๆ ดังนั้นจึงควรกะขนาดของ
บัฟเฟอร์ให้พอดี ซึ่งขนาดบัฟเฟอร์นี้จะมีผลต่อขนาดของบล็อกอีกด้วย
ในการบันทึกข้อมูลลงในเทปจะสามารถบันทึกได้มากกว่า 1 ไฟล์ดังนั้นการบันทึกเทปจะต้อง
ระบุชื่อไฟล์ไว้ที่ป้ายหัวเรื่อง (Header Label) ซึ่งเป็นส่วนของเรคคอร์ดที่จัดเก็บอยู่ตอนต้นไฟล์
ดังนั้น เมื่อคอมพิวเตอร์ต้องค้นหาไฟล์ที่จะอ่านจะดูข้อมูลที่อยู่ที่ป้ายหัวเรื่องว่าชื่อไฟล์ตรงกัน
หรือไม่ เมื่ออ่านข้อมูลจากไฟล์จนกระทั่งเจอป้ายชื่อท้ายไฟล์(Trailer Label) ก็แสดงว่าจบไฟล์
นั้น ฉะนั้นเราสามารถแยกไฟล์แต่ละไฟล์โดยใช้เครื่องหมายจบไฟล์ได้
ความหนาแน่นหรือความจุของเทปแม่เหล็ก (Data Density)
18
หมายถึง ปริมาณของข้อมูลที่สามารถบันทึกได้บนเทปแม่เหล็กในความยาว 1 หน่วยโดยใช้
หน่วยที่เรียกว่า BPI (Bytes Per lnch) ความหนาแน่นของข้อมูลขึ้นอยู่กับเทปไดรฟ์ (Tape
Drive) และผู้บันทึกข้อมูลลงเทป ซึ่งมีอยู่หลายชนิด เช่น 800, 1600, 3600 ไบท์ต่อความยาวของ
เทปหนึ่งนิ้ว
ข้อดี ของเทปแม่เหล็ก
1.ความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูง
2.มีความหนาแน่นของข้อมูลสูงมาก
3.ราคาถูกเมื่อเทียบกับสื่อชนิดอื่น
ข้อเสีย ของเทปแม่เหล็ก
การบันทึกข้อมูลหรือการอ่านทาได้วิธีเดียว คือ แบบเรียงตามลาดับ (Sequential)
ดังนั้นงานที่เหมาะที่จะใช้เทปแม่เหล็กเก็บข้อมูล คือ
1.เป็นงานที่มีข้อมูลปริมาณมาก
2.ใช้เป็นสื่อในการเก็บข้อมูลสารอง (Back Up)
3.เป็นงานที่ไม่ต้องเร่งรีบ และมีช่วงเวลาการทางานที่ตายตัวแน่นอน
4.แดท (DAT : Digital Audio Tape)
แดทเป็นเทปที่ใช้บันทึกเสียงระบบดิจิตอลที่มีคุณภาพสูงสามารถบันทึกข้อมูลได้มากกว่า
ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลมีเพียงวิธีเดียวเท่านั้นคือ แบบเรียงตามลาดับ (Sequential) แต่เนื่องจาก
แดท สามารถเก็บข้อมูลเป็นสัญญารดิจิตอลซึ่งเป็นลักษณะที่สาคัญที่สอดคล้องกับคุณสมบัติ
ของคอมพิวเตอร์ แดทจึงถูกใช้เป็นสื่อเก็บข้อมูลโดยนิยมนาแดทไปใช้ในการสารองข้อมูล โดย
ปกติจะใช้เทปชนิดม้วน (Reel Tape) กับเครื่องเมนเฟรมและใช้เทปคาร์ทริดจ์ (Cartridge Tape)
กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้แดทสารองข้อมูลแทน
19
เทปชนิดม้วนและเทปคาร์ทริดจ์ได้แดทมีขนาดเล็กกระทัดรัดกว้างเพียง 4 มิลลิเมตร มีความจุ
สูงเป็นกิกะไบท์และมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูง แนวโน้มแดทอาจเป็นสื่อที่ใช้ในการเก็บ
ข้อมูลบนเครื่องพีซีอีกชนิดหนึ่ง
4.หน่วยติดต่อสื่อสาร (Communication Unit)
คืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ติดต่อสื่อสารจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ
เช่น Modem, Network, Adapter Card เป็นต้น
5.หน่วยแสงผลลัพธ์ (Output Unit)
คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เช่น การแสดงผลลัพธ์ออกทาง
จอภาพ การแสดงผลลัพธ์ออกทางเครื่องพิมพ์การบันทึกข้อมูลลงสื่อโดยเครื่องขับเทปแม่เหล็ก
หรือเครื่องขับจานแม่เหล็ก การขับเสียงออกจากลาโพง เป็นต้น
อุปกรณ์บางอย่างทาหน้าที่เป็นทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลลัพธ์ เช่น เครื่องขับเทป
แม่เหล็ก เครื่องขับจานแม่เหล็ก เครื่องเทอร์มินัล ถ้าทาหน้าที่นาข้อมูลไปยังหน่วยความจาหลัก
ก็จัดเป็นหน่วยรับข้อมูลแต่ถ้าทาหน้าที่นาข้อมูลออกจากหน่วยความจาหลักก็จัดเป็นหน่วยแสดง
ผลลัพธ์ และจะเรียกอุปกรณ์ ทั้งสองอย่างนี้ว่า Input / Output Device (I/O Device)
การแสดงผลลัพธ์ ได้แก่
5.1การแสดงผลลัพธ์บนจอภาพ
เรียกว่า Soft Copy อุปกรณ์ที่ใช้คือ จอภาพ
จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลลัพธ์ จอภาพโดยทั่วไปจะเป็นจอภาพสีมักจะมี
ขนาด 14 นิ้ว หรือ 15 นิ้ว แต่ถ้าต้องการใช้ในงานด้านกราฟิกจอภาพขนาด 17 นิ้ว 20 นิ้ว และ 21
นิ้ว จะให้ภาพคมชัด ภาพต่างๆ จะถูกแสดงด้วยจุดที่มีขนาดเล็กเรียกว่าพิกเซล (Pixel)
จอภาพสี (Color) เป็นจอที่แสดงภาพกราฟิกเป็นสีต่างๆ เหมาะกับงานทางด้านกราฟิกและการ
เล่นเกม ลักษณะของภาพสีจะแสดงได้ทั้งสีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน
20
ปัจจุบันนิยมใช้จอชนิด SVGA (Super Video Graphics Array) สามารถแสดงผลความละเอียดได้
หลายระดับ เช่น 640 * 480 จุด 800 *600 จุด 1,024, * 768 จุด และ1,280*1,024 จุด ความ
ละเอียดของการแสดงผลถ้ายิ่งละเอียดมากจะได้ภาพที่มีขนาดเล็กลง ความละเอียดของการ
แสดงผลคือจานวนจุด (Pixel) ที่แสดงบนจอและจานวนสีบนจอภาพซึ่งเป็นตัวกาหนดภาพที่
แสดงบนจอว่าภาพเหมือนจริงได้มากน้อยเพียงใด
5.2การแสดงผลลัพธ์ทางเครื่องพิมพ์
เรียกว่า Hard Copy อุปกรณ์ที่ใช้คือ เครื่องพิมพ์(Printer) เครื่องวาดรูป (Plotter)
เครื่องพิมพ์(Printer) เป็นอุปกรณที่แสดงผลลัพธ์ ถ้าเป็นเครื่องพิมพ์ตามวิธีการพิมพ์จะแบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภท คือ
o อิมแพคพรินเตอร์ (Impact Printer)
o นอนอิมแพคพรินเตอร์ (Non-Impact Printer)
o อิมแพคพรินเตอร์ (Impact Printer) เป็นเครื่องพิมพ์แบบกระทบที่ใช้การตอก
หัวพิมพ์ลงไปบนผ้าหมึกไปกดลงบนกระดาษอีกทีหนึ่ง ลักษณะการทางานของ
เครื่องพิมพ์แบบนี้คล้ายกับเครื่องพิมพ์ดีดทั่วไป เครื่องพิมพ์แบบนี้แบ่งออกเป็น
ตามลักษณะอุปกรณ์ที่ใช้ เช่น
o แบบลูกโซ่ (Chain) เป็นชนิดที่ใช้ลูกโซ่ที่มีตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ต่างๆ
โดยลูกโซ่เคลื่อนผ่านกระดาษ ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ จะกดลงบนผ้าหมึกไป
ติดลงบนกระดาษ
o แบบดรัม (Drum Printer) มีลักษณะเป็นกระบอกโลหะที่เรียกว่า ดรัม (Drum)
และมีตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่างๆ อยู่บนกระบอกโลหะ ขณะที่พิมพ์กระบอก
โลหะจะหมุนผ่านผ้าหมึกพิมพ์ลงบนกระดาษ
o แบบดอตแมทริกซ์ (Dot Matrix Printer) เป็นชนิดที่พิมพ์เป็นจุดต่อกันเป็น
ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่างๆ ยิ่งจานวนจุดมากเท่าใดตัวพิมพ์ก็ยิ่งคมชัดมากขึ้น
เพียงนั้น เครื่องพิมพ์ชนิดนี้สามารถพิมพ์ได้สองทิศทางคือ จากซ้ายไปขวาและ
21
จากขวาไปซ้าย เครื่องพิมพ์แบบ ดอตแมทริกซ์มี 2 ชนิด คือ เครื่องพิมพ์ชนิดมี
เข็มพิมพ์9 เข็ม และ 24 เข็ม
เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จะทางานโดยการกดเข็มพิมพ์เล็กๆ ลงบนผ้าหมึก ซึ่งจะทาให้เกิดจุดปรากฏลง
บนกระดาษ
ข้อดี ของเครื่องพิมพ์แบบนี้ คือ ราคาถูก ทนทาน สามารถพิมพ์กระดาษต่อเนื่องและพิมพ์สาเนา
(Copy) ได้หลายๆ ชุด
ข้อเสีย คือ ช้า และเสียงดัง ภาพไม่คมชัด
- แบบเดซีวีล (Daisy Wheel) เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีลักษณะเป็นแผ่นจานกลมๆ ที่มีซี่ออกไปเป็น
แฉกๆ ที่ปลายของซี่จานนี้จะมีลักษณะเป็นแม่พิมพ์ของตัวอักษรคอมพิวเตอร์จะส่งสัญญาณไป
บอกเครื่องพิมพ์ว่าจะต้องเลื่อนซี่ล้อซี่ไหนซึ่งจะตรงกับตัวอักษรอะไรไปวางไว้เหนือผ้าหมึก
เพื่อกดกระแทกพิมพ์ที่เป็นตัวอักษรประทับลงบนแผ่นกระดาษ เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ทางานช้ามาก
และเวลาพิมพ์จะมีเสียงดัง ปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว
o นอนอิมแพคพรินเตอร์ (Non-Impact Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีการทางเคมี
ในการพิมพ์เครื่องพิมพ์ประเภทนี้พิมพ์ด้วยความเร็วสูงกว่าแบบอิมแพค
พรินเตอร์ เช่น
o แมกเนติคพรินเตอร์ (Magnetic Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ด้วยหมึกพิมพ์
แม่เหล็ก
o เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก เป็นเครื่องพิมพ์ที่อาศัยท่อหรือร่องขนาดจิ๋วเป็น
ช่องทางสาหรับขับหมึกออกไปให้ปรากฏเป็นตัวอักษร หรือภาพกราฟิกบน
กระดาษ แต่กลไกการขับหรือบังคับให้น้าหมึกพ่นตัวออกไปจะแตกต่างกันตาม
เทคโนโลยี ซึ่งแบ่งได้3 ประเภท คือ
o อิงค์เจ็ตพรินเตอร์ (Ink-Jet Printer) เทคนิคการขับหมึกแบบนี้จะอาศัยการส่งน้า
หมึกผ่านไปยังบริเวณตัวทาความร้อน (Heater) ซึ่งทาให้หมึกเกิดการขยายตัว
และเกิดแรงดันขับหมึกผ่านร่องหมึกออกไปยังกระดาษ เทคนิคแบบนี้พบได้ใน
เครื่องพิมพ์พ่นหมึกของฮิวเล็ตต์แพ็คการ์ด (HEWLETT PACKARD)
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน
ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน

More Related Content

Viewers also liked

การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาการจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาleemeanxun
 
สื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภาสื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภาComputer ITSWKJ
 
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовой
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовойНовые инновационные технологиии производства заготовок в столовой
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовойFoodRussiaSchool
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซตพัน พัน
 
วิเคราะห์งานIS1
วิเคราะห์งานIS1วิเคราะห์งานIS1
วิเคราะห์งานIS1พัน พัน
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsPeerapat Teerawattanasuk
 
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้ม
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้มKrungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้ม
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้มThanom Ketem
 
столовая Xxi века
столовая Xxi векастоловая Xxi века
столовая Xxi векаFoodRussiaSchool
 
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016Fedor Ovchinnikov
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนtumetr1
 
Ищем помещения для пиццерий!
Ищем помещения для пиццерий!Ищем помещения для пиццерий!
Ищем помещения для пиццерий!Fedor Ovchinnikov
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 

Viewers also liked (20)

การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาการจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
 
06 businessfinance v1
06 businessfinance v106 businessfinance v1
06 businessfinance v1
 
สื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภาสื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภา
 
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовой
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовойНовые инновационные технологиии производства заготовок в столовой
Новые инновационные технологиии производства заготовок в столовой
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเซต
 
วิเคราะห์งานIS1
วิเคราะห์งานIS1วิเคราะห์งานIS1
วิเคราะห์งานIS1
 
ไวนิล 2
ไวนิล 2ไวนิล 2
ไวนิล 2
 
อินเดีย
อินเดียอินเดีย
อินเดีย
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
 
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้ม
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้มKrungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้ม
Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้ม
 
столовая Xxi века
столовая Xxi векастоловая Xxi века
столовая Xxi века
 
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016
Знакомство с Dodo Pizza. Июнь 2016
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
 
Ищем помещения для пиццерий!
Ищем помещения для пиццерий!Ищем помещения для пиццерий!
Ищем помещения для пиццерий!
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 

Similar to ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน

1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์Chatree MChatree
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์fernthapanat
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435Praw Vanitt
 
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)Supaksorn Tatongjai
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์supharat Boottho
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Kritsakorn Niyomthai
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Kritsakorn Niyomthai
 
Supiladdaporn Masphui
Supiladdaporn MasphuiSupiladdaporn Masphui
Supiladdaporn Masphuisupiladdaporn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41Sirin Amornsrisatja
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Kantap Sangsawang
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานmas15540
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานqueenny22
 

Similar to ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน (20)

1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435
 
Com
ComCom
Com
 
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
Supiladdaporn Masphui
Supiladdaporn MasphuiSupiladdaporn Masphui
Supiladdaporn Masphui
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงาน รายงาน
รายงาน
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูลระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูล
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 

ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทำงาน

  • 1. ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทางาน จัดทาโดย นางสาวกัลยา ปุณณะการี ชั้นมัธยมศึกษษปีที่ 5/3 เลขที่29 เสนอ อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานเล่มนี้เป็นส่วนของวิชา วิชา คอมพิวเตอร์ ( ง302010 ) ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษษ 2558
  • 2. ข ระบบคอมพิวเตอร์และหน้าที่การทางาน จัดทาโดย นางสาวกัลยา ปุณณะการี ชั้นมัธยมศึกษษปีที่ 5/3 เลขที่29 เสนอ อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานเล่มนี้เป็นส่วนของวิชา วิชา คอมพิวเตอร์ ( ง302010 ) ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษษ 2558
  • 4.
  • 5. สารบัญ คอมพิวเตอร์ ............................................................................... 1 ระบบคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบ ............................................... 1 ชนิดของแผ่นดิสก์เก็ต.................................................................. 11 1. Single-Side Single-Density (SS SD) ................................. 11 2. Single-Side Double-Density (SS DD)............................... 11 3. Double-Sides Single-Density (DS SD) ............................. 11 4. Double-Side Double-Density (DS DD)............................ 12 5. Double-Sides High-Density (DS HD)............................... 12 ข้อดี ของเทปแม่เหล็ก.................................................................. 18 ข้อเสีย ของเทปแม่เหล็ก............................................................... 18
  • 6. 4
  • 7. คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ทางานตามชุดสั่งอย่างอัตโนมัติโดยจะทาการคานวณ เปรียบเทียบทางตรรกกับข้อมูลและให้ผลลัพธ์ออกมาตามต้องการ ระบบคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบ 1.หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่รับข้อมูล โปรแกรมคาสั่งเข้าสู่เครื่อง 2.หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit) ทาหน้าที่ทางานตามโปรแกรม 3.หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บข้อมูล โปรแกรม หรือคาสั่ง ที่ส่งมาจากหน่วยรับ ข้อมูล 4.หน่วยติดต่อสื่อสาร (Communication Unit) 5.หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล 1.หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) คืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลโปรแกรมคาสั่งจากภายนอกเข้าสู่คอมพิวเตอร์ โดยทาการแปลง ข้อมูลหรือคาสั่งที่รับเข้ามาให้เป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อทาการประมวลผลต่อไป หน่วยรับข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์จะเป็นอุปกรณ์แบบใดก็แล้วแต่ระบบของเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ใช้เช่น ในสมัยก่อนที่ใช้บัตรเจาะรูในการเก็บข้อมูลหน่วยรับข้อมูลก็คือ เครื่อง อ่านบัตร (Card Reader) ต่อมาเมื่อมีการใช้เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) และจานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) ในการเก็บข้อมูล หน่วยรับข้อมูลก็คือเครื่องอ่านเทปแม่เหล็ก (Magnetic Reader) เครื่องอ่านจานแม่เหล็ก (Magnetic Disk Unit) และดิสด์ไดรฟ์ (Disk Drive) ซึ่งเป็น อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านข้อมูล ปัจจุบันมีอุปกรณ์อีกมากมายที่ทาหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูล เช่น 1.1คีย์บอร์ด (Keyboard)
  • 8. 2 มีลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีด แต่จะมีปุ่มเพิ่มจากแป้นพิมพ์ดีด เช่น ฟังก์ชั่นคีย์ (Function Keys) และ แพดคีย์(Pad Keys) เพื่อความสะดวกในการใช้งานทาหน้าที่รับข้อมูลและ โปรแกรมได้โดยตรง จานวนแป้นของคีย์บอร์ดอาจมี 104-105 คีย์ซึ่งแต่ละแป้นทาหน้าที่ แตกต่างกันไป ทุกครั้งที่มีการกดแป้นคีย์บอร์ด จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยสัญญาณ ดังกล่าวจะบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่ามีการกดแป้นอะไร 1.2 เม้าส์ (Mouse) คือ อุปกรณ์ขนาดเท่าอุ้งมือ ที่ด้านบนของเม้าส์จะมีแป้นสาหรับการกดเพื่อติดต่อกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ เม้าส์เป็นอุปกรณ์สาหรับใช้ชี้ตาแหน่งต่างๆ บนจอภาพ โดยจะมีลูกศรเลื่อนไปบน จอภาพตามการเลื่อนเม้าส์ไปมาบนโต๊ะ เม้าส์ที่ใช้ในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ o เม้าส์ลูกกลิ้ง เป็นเม้าส์ที่มีลูกกลิ้งกลมๆ อยู่ใต้กล่องและมีเซ็นเซอร์ติดอยู่เมื่อ เลื่อนเม้าส์เซ็นเซอร์จะส่งสัญญาณการเลื่อนตาแหน่งของเม้าส์ เม้าส์ชนิดนี้ใช้ กลิ้งตามพื้นเรียบๆ เช่น บนโต๊ะ การกลิ้งจะทาให้เกิดสัญญาณไปเลื่อนลูกศรบน จอภาพ o เม้าส์ไร้สาย เป็นเม้าส์ที่ไม่มีสาย จะใช้แสงอินฟาร์เรดในการรับส่งสัญญาณแทน การใช้สาย 1.3 แทรกบอลล์(Track Ball) มีลักษณะคล้ายเม้าส์ลูกกลิ้งขนาดใหญ่หงายขึ้น แทรกบอลล์ได้รับการออกแบบให้ทางานแบบ เดียวกับเม้าส์โดยมีลูกบอลล์ขนาดใหญ่ที่ง่ายต่อการกลิ้งไปมาโผล่ออกมาจากฐาน การใช้จะกลิ้ง ลูกบอลล์โดยใช้นิ้วและอุ้งมือและกดปุ่มที่อยู่ในลูกบอลล์ด้านในด้านหนึ่งการใช้แทรกบอลล์ง่าย และรวดเร็วกว่าลากเม้าส์โดยแทรกบอลล์จะอยู่กับที่ไม่ต้องเลื่อนเหมือนเม้าส์ แทรกบอลล์เป็น อุปกรณ์ที่นิยมแพร่หลายเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋ าหิ้ว 1.4 MICR (Magnetic Ink Character Reader)
  • 9. 3 ลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีด แต่จะมีปุ่มเพิ่มจากแป้นพิมพ์ดีด เช่น ฟังก์ชั่นคีย์ (Function Keys) และ แพดคีย์(Pad Keys) เพื่อความสะดวกในการใช้งานทาหน้าที่รับข้อมูลและ โปรแกรมได้โดยตรง จานวนแป้นของคีย์บอร์ดอาจมี 104-105 คีย์ซึ่งแต่ละแป้นทาหน้าที่ แตกต่างกันไป ทุกครั้งที่มีการกดแป้นคีย์บอร์ด จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยสัญญาณ ดังกล่าวจะบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่ามีการกดแป้นอะไร 1.2 เม้าส์ (Mouse) คือ อุปกรณ์ขนาดเท่าอุ้งมือ ที่ด้านบนของเม้าส์จะมีแป้นสาหรับการกดเพื่อติดต่อกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ เม้าส์เป็นอุปกรณ์สาหรับใช้ชี้ตาแหน่งต่างๆ บนจอภาพ โดยจะมีลูกศรเลื่อนไปบน จอภาพตามการเลื่อนเม้าส์ไปมาบนโต๊ะ เม้าส์ที่ใช้ในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ o เม้าส์ลูกกลิ้ง เป็นเม้าส์ที่มีลูกกลิ้งกลมๆ อยู่ใต้กล่องและมีเซ็นเซอร์ติดอยู่เมื่อ เลื่อนเม้าส์เซ็นเซอร์จะส่งสัญญาณการเลื่อนตาแหน่งของเม้าส์ เม้าส์ชนิดนี้ใช้ กลิ้งตามพื้นเรียบๆ เช่น บนโต๊ะ การกลิ้งจะทาให้เกิดสัญญาณไปเลื่อนลูกศรบน จอภาพ o เม้าส์ไร้สาย เป็นเม้าส์ที่ไม่มีสาย จะใช้แสงอินฟาร์เรดในการรับส่งสัญญาณแทน การใช้สาย 1.3 แทรกบอลล์(Track Ball) มีลักษณะคล้ายเม้าส์ลูกกลิ้งขนาดใหญ่หงายขึ้น แทรกบอลล์ได้รับการออกแบบให้ทางานแบบ เดียวกับเม้าส์โดยมีลูกบอลล์ขนาดใหญ่ที่ง่ายต่อการกลิ้งไปมาโผล่ออกมาจากฐาน การใช้จะกลิ้ง ลูกบอลล์โดยใช้นิ้วและอุ้งมือและกดปุ่มที่อยู่ในลูกบอลล์ด้านในด้านหนึ่งการใช้แทรกบอลล์ง่าย และรวดเร็วกว่าลากเม้าส์โดยแทรกบอลล์จะอยู่กับที่ไม่ต้องเลื่อนเหมือนเม้าส์ แทรกบอลล์เป็น อุปกรณ์ที่นิยมแพร่หลายเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋ าหิ้ว 1.4 MICR (Magnetic Ink Character Reader) คือ เครื่องอ่านหมึกพิมพ์แม่เหล็กเครื่อง MICR จะใช้มากในธนาคาร โดยใช้กับเช็คเพราะเช็ค ธนาคารทั่วไปตรงบริเวณขอบล่างของเช็คจะมีตัวเลขและสัญลักษณ์แสดงรหัสธนาคาร รหัส
  • 10. สาขา หมายเลขบัญชีของผู้ของออกเช็คซึ่งพิมพ์ด้วยหมึกผสมกับผงเหล็กออกไซด์ เครื่อง MICR จะอ่านหมึกพิมพ์แม่เหล็กแล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้าเข้าสู่ CPU 1.5 MOR (Optical Mark Reader) คือ เครื่องอ่านเครื่องหมายบนกระดาษ เช่น เครื่องตรวจข้อสอบ โดยเครื่อง OMR จะทาการอ่าน กระดาษคาตอบที่ฝนด้วยดินสอดา เช่น ดินสอ 2B แล้วเปลี่ยนให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าเข้าสู่ซีพียู 1.6 OCR (Optical Character Reader) คือ เครื่องที่ใช้อ่านข้อมูลที่ถูกบันทึกตามรูปแบบและตาแหน่งที่กาหนดไว้ข้อมูลจะเป็น ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ที่ออกแบบไว้โดยเฉพาะและสามารถรับข้อมูลในรูปของเส้นที่เป็นแท่ง สีอ่อนสีเข้มที่เรียกว่าบาร์โคด (Bar Code) ซึ่งพิมพ์ติดไว้ที่กล่องบรรจุสินค้า โดยเครื่องอ่านบาร์ โคดทาหน้าที่ถอดรหัสจากแท่งเหล่านี้แล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ตรวจสอบราคาแล้วแสดงราคามายังเครื่องเก็บเงิน พร้อมทั้งตัดสต็อกสินค้าและบันทึกยอดการ ขาย เนื่องจากเครื่อง OCR สามารถอ่านข้อมูลจากสื่อต่างๆ ได้หลายชนิดจึงนิยมใช้กันแพร่หลาย ในวงการธุรกิจต่างๆ เช่น ห้างสรรพสินค้า หรือร้านขายหนังสือ เป็นต้น 1.7 เครื่องอ่านพิกัด (Digitizer) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกระดานอิเล็กทรอนิกส์เรียบๆ มีสายไฟฟ้าและอุปกรณ์ คล้ายแว่นขยายที่มีขีดกากบาทตรงกลางพร้อมปุ่มสาหรับกด ทาหน้าที่ส่งผ่านข้อมูลไปบน จอภาพ เครื่องอ่านพิกัดจะอ่านค่าพิกัดตาแหน่ง (Coordinate) ของจุดบนภาพแล้วส่งเข้าสู่เครื่อง คอมพิวเตอร์ รูปภาพจะถูกแสดงทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์เครื่องอ่านพิกัดเหมาะกับงานที่ เกี่ยวกับแผนที่และภาพกราฟิกต่างๆ เครื่องอ่านพิกัดแบบนี้บางทีเรียกว่า แท็ปเลต )Tablet) 1.8 เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่เก็บภาพหรือข้อความแล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่อง สแกนเนอร์จะใช้งานที่ต้องเกี่ยวข้องกับกราฟิกดีไซน์ที่ต้องใช้ภาพเครื่องสแกนเนอร์มีขนาดและ ราคาต่างๆ กัน เช่น
  • 11. 2 สแกนเนอร์แบบสอดแผ่นเป็นเครื่องขนาดเล็กใช้สอดภาพหรือเอกสารที่เป็นแผ่นเข้าไปในช่อง อ่านข้อมูล สแกนเนอร์มือถือ มีขนาดเล็กและราคาไม่แพงนัก ส่วนใหญ่ใช้สแกนภาพเล็กๆ เช่น โลโก้หรือ ภาพลายเส้น สแกนเนอร์แผ่นเรียบ เป็นเครื่องขนาดใหญ่ประกอบด้วยแผ่นกระจกเอาไว้สแกนภาพคล้าย เครื่องถ่ายเอกสารภาพที่ได้จะมีคุณภาพดีกว่าสแกนเนอร์มือถือและราคาก็แพงกว่า 1.9 ปากกาเรืองแสง (Light Pen) มีลักษณะเหมือนกับปากกา ที่ปลายของปากกาจะประกอบด้วยเซล (cell) ที่ไวต่อแสงและ ตอนท้ายของปากกานี้จะมีสายเพื่อต่อไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วาดแบบในงาน อุตสาหกรรมต่างๆ โดยแตะปากกาเรืองแสงบนจอภาพชนิดพิเศษก็จะปรากฏเป็นรูปที่วาด นิยม ใช้งานออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์หรือ CAD (Computer Aided Design) 1.10 จอยสติ๊ก (Joy Sticks) มีลักษณะเป็นคันโยกไปมาเพื่อการเคลื่อนที่ในเกมพร้อมกับมีปุ่มให้กดสาหรับสั่งงานพิเศษ มี หลักการทางานเช่นเดียวกับเม้าส์ 1.11เครื่องเทอร์มินัล (Terminal) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์และแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องเทอร์มินัลสามารถติดตั้งอยู่ห่างจากเครื่องคอมพิวเตอร์ในระยะไกลๆ ได้โดยเชื่อมด้วย สายโทรศัพท์เทอร์มินัล จึงจัดเป็นหน่วยรับข้อมูลโดยตรงอีกชนิดหนึ่งคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง สามารถต่อเข้ากับเครื่องเทอร์มินัลได้หลายๆ ตัวเครื่องเทอร์มินัลที่ใช้กันอยู่มี 2 ประเภทใหญ่ คือ o แบบพิมพ์ดีด (Typewriter) ประกอบด้วย คีย์บอร์ด หรือแป้นพิมพ์ซึ่งส่วนที่ใช้ บันทึกข้อมูลเพื่อส่งไปยังซีพียู (CPU) o บนจอภาพ (CRT : Cathode Ray Tube) เป็นเทอร์มินัลชนิดที่มีจอภาพและ แป้นพิมพ์โดยจอภาพจะแสดงสิ่งที่กาลังคีย์ผ่านแป้นพิมพ์
  • 12. 3 1.12 POS (Point of Sale Terminal) เป็นเครื่องเทอร์มินัล อีกชนิดหนึ่งนิยมใช้ตามซุปเปอร์มาเก็ตใช้เก็บเงิน POS จะมีแป้นพิมพ์ สาหรับคีย์ข้อมูลและมีจอภาพเล็กๆ เพื่อแสดงยอดเงินและมีเครื่องพิมพ์สาหรับพิมพ์รายการ ให้แก่ลูกค้า การใช้เครื่อง POS จะมีการบันทึกรหัสและราคาสินค้าพร้อมราคาขายไว้ในเครื่องก่อนล่วงหน้า การจาหน่ายและการชาระเงินจะทาที่จุดขาย จึงเรียกว่าเครื่อง Point of Sale หรือ POS โดย พนักงานแคชเชียร์จะป้อนรหัสสินค้าซึ่งกาหนดเป็นตัวเลข รายการสินค้าและราคาขายก็จะ ปรากฏที่จอภาพเล็กๆ ขณะเดียวกันรายการก็จะพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์เป็นใบเสร็จรับเงินไป ในตัวพร้อมกับแสดงการรวมเงิน การรับเงินและการทอนเงิน การป้อนรหัสสินค้าด้วยการกดปุ่ม ตัวเลขมากๆ มีโอกาสผิดพลาด ต่อมาก็มีการแก้ไขโดยใช้รหัสแท่ง (BAR CODE) โดยข้อมูล เป็นรหัสแทนด้วยรูปแถบขาวดาที่มีความกว้างความแคบของตัวเลขแต่ละตัวแตกต่างกัน การ อ่านข้อมูลจะอาศัยหลักการสะท้อนของแสง โดยใช้เครื่องสแกนอ่านข้อมูลเข้าไปเก็บใน คอมพิวเตอร์โดยตรง 1.13 จอสัมผัส (Touch Screen) ป็นจอภาพชนิดพิเศษที่ใช้ระบบสัมผัสแทนการใช้คีย์บอร์ดและเม้าส์ โดยการใช้นิ้วไปสัมผัสกับ จอภาพ ปัจจุบันมีการนาจอภาพสัมผัสมาใช้กับอุปกรณ์มัลติมีเดีย เมื่อเกิดการสัมผัสหน้าจอ เครื่องก็จะแสดงภาพและเสียงทันทีเหมาะกับผู้ที่ใช้คีย์บอร์ดและเม้าส์ไม่คล่อง เช่น ใช้ในการ สอบถามข้อมูลหรือข้อสนเทศตามสถานที่เที่ยว พิพิธภัณฑ์ต่างๆ เป็นต้น 1.14 แพดสัมผัส (Touch Pads) เป็นแผ่นสาหรับใช้นิ้วจิ้มเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานแทนเม้าส์ โดยเครื่องจะเปลี่ยนจากแรง กดเป็นสัญญาณไฟฟ้า นิยมใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋ าหิ้ว (Note Book) 1.15 กล้องดิจิตอล (Digital Camera)
  • 13. 4 เป็นกล้องถ่ายภาพที่ไม่ต้องใช้ฟิล์ม โดยกล้องจะแปลงภาพเป็นสัญญาณดิจิตอลเข้าไปเก็บเป็น ไฟล์คอมพิวเตอร์แล้วเรียกดูภาพได้ทันทีหรือจะใช้โปรแกรมช่วยตัดต่อ ตกแต่งภาพให้ดู สวยงามขึ้นก็ได้ปัจจุบันนิยมมาก เช่น การถ่ายรูปสติกเกอร์ 1.16 อุปกรณ์รับข้อมูลเสียง (Voice Input Devices) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยใช้เสียงของมนุษย์แล้วแปลงสัญญาณเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอลเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์จะทาการเปรียบเทียบกับสัญญาณเสียงที่จาหรือบันทึกไว้ ถ้าพบคาที่ตรงก็จะทาให้เกิดเสียงออกมาทางลาโพงคอมพิวเตอร์ 2.หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit) หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU) ถือเป็นสมองของเครื่องคอมพิวเตอร์คือส่วนที่ทาหน้าที่ ควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ 2.1หน่วยควบคุม (Control Unit) เป็นส่วนที่ทาหน้าที่ประสานการทางานของส่วนต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์เปรียบเทียบเสมือน เป็นศูนย์ระบบประสาท คือ ควบคุมการทางานหน่วยรับข้อมูล หน่วยคานวณและตรรกะ และ หน่วยแสดงผลลัพธ์ นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ผลิต สัญญาณที่จะใช้ในการซิงโครไนส์ (Synchronize) การทางานและการส่งถ่ายข้อมูลเข้าออก ALU และภายนอก CPU ควบคุมการส่ง ถ่ายข้อมูลผ่านบัสแอดเดรส (Address Bus) และบัสข้อมูล (Data Bus) และทาการแปล ความหมายของสัญญาณต่างๆ บนบัสควบคุม (Control Bus) ซึ่งรับจากวงจรภายนอก CPU หน้าที่ที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งของหน่วยควบคุมคือการอ่านคาสั่งที่เก็บไว้ในหน่วยความจามา ถอดรหัส (Decode) และทางานตามคาสั่งนี้ การทางานจะเป็นจังหวะซ้ากัน คือจังหวะอ่านคาสั่ง (Fetch) จังหวะถอดรหัสคาสั่ง (Decode) และจังหวะทางานตามคาสั่ง (Execute) กลุ่มคาสั่งที่ เขียนไว้ในหน่วยความจาเรียกว่า โปรแกรม (Program) CPU จะอ่านคาสั่งและทางานตามคาสั่ง เป็นขั้นๆ จนกว่าจะจบโปรแกรม 2.2 หน่วยคานวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit) ทาหน้าที่ประมวลผลด้านคณิตศาสตร์และตรรกะ เช่น
  • 14. 5 o การคานวณ ได้แก่ บวก ลบ คูณ หาร o การกระทาทางตรรกะ (AND, OR) o การเปรียบเทียบ (Compare) เช่น การเปรียบเทียบค่าของข้อมูล 2 ตัวว่ามีค่า เท่ากัน มากกว่า หรือน้อยกว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรก็สามารถ เปรียบเทียบได้ o การเลื่อนข้อมูล (Shift) o การเพิ่มและการลด (Increment and Decrement) o การตรวจสอบบิท (Test Bit) ในระหว่างทาการประมวลผล หน่วยควบคุม และคานวณและตรรกะจะทางานร่วมกัน หน่วยความจาหลักและเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของ CPU ตัว CPU จะมีสถานที่ จัดเก็บข้อมูลพิเศษเรียกว่ารีจีสเตอร์ (Register) ซึ่งจะมีการทางานที่เร็วมากโปรแกรม คาสั่งจะ ได้รับการอ่าน (Load) จากหน่วยความจาหลักเข้าไปในรีจีสเตอร์ก่อนที่จะทาการประมวลผล รีจีสเตอร์ (Register) รีจีสเตอร์คือที่เก็บข้อมูลชั่วคราว (Temporary Memory) ซึ่งจะเก็บข้อมูลที่อ่านจากหน่วยความจา หลัก เพื่อใช้ในการคานวณหรือข้อมูลที่กาลังถูกประมวล การประมวลผลจะต้องกระทาเฉพาะ ข้อมูลที่เก็บไว้ในรีจีสเตอร์เท่านั้น ถึงแม้ว่ารีจีสเตอร์จะทาหน้าที่เก็บข้อมูลแต่ไม่ใช่ส่วนของ หน่วยความจา แต่จะเป็นส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ซึ่งจะถูกดูแลใช้งาน โดยหน่วยควบคุมรีจีสเตอร์มีชื่อเรียกตามหน้าที่ รีจีสเตอร์พื้นฐานที่พบในไมโครโปรเซสเซอร์ส่วนใหญ่ได้แก่ แอกคิวมูเลเตอร์ รีจีสเตอร์ (Accumulator Register) เป็นรีจีสเตอร์หลักของไมโครโปรเซสเซอร์ ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่ใช้ประมวลผลทางคณิตศาสตร์และลอจิก ทางานร่วมกับ ALU โปรแกรมเคาน์เตอร์ (Program Counter) ในการทางานของไมโครโปรเซสเซอร์จะทางาน ตามลาดับคาสั่งของโปรแกรม โปรแกรมเคาน์เตอร์จะทาหน้าที่ชี้ตาแหน่งของหน่วยความจาที่ เก็บคาสั่งนั้นๆ เพื่อให้ไมโครโปรเซสเซอร์ทาตามคาสั่ง แล้วโปรแกรมเคาน์เตอร์ก็จะชี้คาสั่ง ลาดับต่อไปเพื่อให้ไมโครโปรเซสเซอร์ทางาน
  • 15. 6 รีจีสเตอร์สถานะ (Status Register) หรือ แฟลกรีจีสเตอร์ (Flag Register) ทาหน้าที่เก็บผลลัพธ์ ต่างๆ ที่ได้จากการทางานตามคาสั่ง หลังจากที่ ALU ทาการประมวลผลจะมีการเซ็ตหรือเคลียร์ แต่ละบิทในรีจีสเตอร์สถานะ ไมโครโปรเซสเซอร์จะเช็คค่าจากบิทบางบิทในรีจีสเตอร์สถานะ ขึ้นกับคาสั่งว่า บิทนั้นเซ็ตหรือเคลียร์ เพื่อตัดสินใจทางานต่อไป รีจีสเตอร์คาสั่ง (Instruction Register) ทาหน้าที่เก็บคาสั่งไมโครโปรเซสเซอร์กาลังทางานอยู่ คาสั่งจะถูกโหลดจากหน่วยความจามาเก็บไว้ในรีจีสเตอร์คาสั่ง โปรแกรมเป็นกลุ่มคาสั่งที่เรียงตามลาดับ โปรแกรมจะถูกเข้ารหัสเป็นเลขฐานสองเพื่อสามารถ เก็บไว้ในหน่วยความจาได้คาสั่งในโปรแกรมจะถูกอ่านตามลาดับ เพื่อป้อนเข้าไปใน CPU เพื่อ ถอดรหัสและดาเนินการ การอ่าน (Fetch) ถอดรหัส (Decode) และ ดาเนินการ (Execute) จะอยู่ ภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุม (Control Unit) การส่งถ่ายข้อมูลหรือ การเก็บข้อมูล ชั่วคราวจะเก็บไว้ในรีจีสเตอร์ (Register) ภายใน CPU 3.หน่วยความจา (Memory Unit) คือ ส่วนที่ทาหน้าเก็บข้อมูลหรือคาสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล หน่วยความจาเป็นแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 3.1หน่วยความจาหลัก (Main Memory) หรือหน่วยความจาภายใน (Internal Memory) เป็นหน่วยความจาที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยความจาหลัก ทาหน้าที่ o เก็บข้อมูลที่รับเข้าจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อนาไปประมวลผลเรียกหน่วยความจา ส่วนนี้ว่า ที่เก็บข้อมูล (Input Storage Area) o เก็บผลลัพธ์ที่ได้ขณะทาการประมวลผลซึ่งยังไม่ใช่ผลลัพธ์สุดท้าย เรียก หน่วยความจาส่วนนี้ว่าที่เก็บข้อมูลขณะดาเนินการ (Working Storage Area) o เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้าย เรียก หน่วยความจา ส่วนนี้ว่าที่เก็บผลลัพธ์ (Output Storage Area)
  • 16. 7 o เก็บชุดคาสั่งที่ใช้ในการประมวลผล เรียกหน่วยความจาส่วนนี้ว่าที่เก็บโปรแกรม (Program Storage Area) ในส่วนของหน่วยความจาหลักนี้ ถ้าพิจารณาตามความถาวรและความคงอยู่ของข้อมูลสามารถ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ -หน่วยความจาถาวร (ROM : Read Only Memory) เป็นชิป (Chip) ที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล หรือโปรแกรมคาสั่งอย่างถาวรผลิตโดยบริษัทผู้ผลิต เครื่อง ในการผลิตนั้นจะฝังโปรแกรมเข้าไปในตัวชิปและเรียกซอฟต์แวร์ที่เก็บไว้ใน ROM นี้ว่า เฟิร์มแวร์ (Firmware) ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บโปรแกรมระบบผู้ใช้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขสิ่ง ที่บันทึกไว้ใน ROM ได้สามารถอ่านข้อมูลใช้ได้อย่างเดียวไม่สามารถเข้าไปเขียนได้นอกจาก โปรแกรม นอกจากโปรแกรมระบบแล้วยัง รอมไบออส (ROM BIOS) ซึ่งทาหน้าที่ตรวจสอบ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ตอนเริ่มเปิดเครื่อง (Boot) ทาหน้าที่จัดการและ ควบคุมอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับ Input /Output ถ้าเป็นเครื่องพีซีของบริษัทไอบีเอ็มจะมีรอมเบสิก (ROM BASIC) ซึ่งเป็นส่วนที่ใช้เขียนโปรแกรมภาษาเบสิกโดยใช้กับดอส (DOS) ข้อมูลหรือ โปรแกรมจะถูกเก็บไว้อย่างถาวร ROM มีคุณสมบัติพิเศษตรงที่เป็นหน่วยความจาแบบ NON- Volatile คือไฟดับ ข้อมูลหรือโปรแกรมก็ยังคงสภาพอยู่ ไม่สูญหายไปไหนจึงเหมาะสาหรับ คาสั่งสาคัญของระบบ -หน่วยความจาชั่วคราว (RAM : Random Access Memory) เป็นชิป (Chip) ที่ใช้เพื่อทาหน้าที่จัดการในส่วนของหน่วยความจาหลัก เป็นหน่วยความจาที่เก็บ ข้อมูลไว้ชั่วคราว โดยสามารถอ่าหรือเขียนข้อมูลไปได้ตามความต้องการของผู้ใช้แต่มีข้อเสียคือ ถ้าไฟดับหรือปิดเครื่องข้อมูลจะสูญหายทันที (Volatile) ดังนั้น ถ้าต้องการเก็บข้อมูลต้องเก็บไว้ ที่หน่วยความจาสารอง (Secondary Memory) (RAM) เป็นหน่วยความจาที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าไปใช้Address ในตาแหน่งใดก็ได้ใน หน่วยความจาเพื่อเขียนหรืออ่าน ปัจจุบันขนาดของหน่วยความจาของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จะอยู่ระหว่าง 32-64 Megabyte
  • 17. 8 แรม (RAM) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ o DRAM (Dynamic RAM) เป็นหน่วยความจาที่นิยมใช้เป็นหน่วยความจาหลักใน เครื่องพีซี มีความจุสูง ราคาไม่แพง มีการเอาชิป DRAM หลายๆ ตัวมาต่อกับ แผงวงจรเล็กๆ แบ่งเป็น SIMM (Single In-line Memory Module) และ DIMM (Dual In-line Memory Module) เช่น SIMM 30 pin, DIMM 168 pin โดยเสียบ เข้าในช่องช็อกเก็ตในเมนบอร์ดเพื่อเพิ่มหน่วยความจา o SRAM (Static RAM) เป็นหน่วยความจาที่เร็วที่สุด ราคาแพง มักนาไปใช้ใน หน่วยความจาแบบแคช (Cache Memory) หน่วยความจาแบบนี้มักใช้กับซีพียูที่มี ความเร็วในการทางานสูง หน่วยความจาแบบแคชจะมีวงจรคอยควบคุมเพื่อให้ ข้อมูลที่ซีพียูใช้งานบ่อยๆ อยู่ในหน่วยความจาแบบนี้เพื่อไม่ให้เกิดสถานะรอ (Wait State) ทาให้การทางานมีประสิทธิภาพดีขึ้น 3.2หน่วยความจาสารอง (Auxiliary Memory or Secondary Memory) หรือหน่วยความจาภายนอก (External Memory) เนื่องจากหน่วยความจาหลักประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้การอ่านและเขียนข้อมูล เป็นไปด้วยความรวดเร็วแต่หน่วยความจาหลักไม่สามารถเก็บข้อมูลได้หมดหรือสามารถเก็บ ข้อมูลได้ชั่วคราวขณะที่ใช้งาน จึงจาเป็นต้องมีหน่วยความจาสารองไว้ในการเก็บข้อมูล หน่วยความจาสารองต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูล และอุปกรณ์รับส่งข้อมูลชนิดต่างๆ สื่อบันทึก ข้อมูล เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กซีดีรอม เป็นต้น ในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นข้อมูลหรือโปรแกรมที่นาเข้าสู่หน่วยประมวลผล กลาง (CPU) เพื่อทาการประมวลผลจะถูกเก็บบันทึกไว้ในหน่วยความจาหลักซี่งหน่วยความจา หลักจะมีความเร็วในการจัดเก็บข้อมูลสูงและมีราคาแพง จึงทาให้คอมพิวเตอร์มีความจุจากัด ดั้ง นั้นในบางครั้งข้อมูลหรือโปรแกรมที่มีจานวนมาก จึงจาเป็นต้องเก็บหรือบันทึกไว้ใน หน่วยความจาอื่นๆ ที่ไม่จาเป็นต้องมีความสามารถทางด้านความเร็วสูงกับหน่วยความจาหลักจึง เกิดหน่วยความจาสารองขึ้น ซึ่งมีราคาถูกกว่าและสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่า
  • 18. 9 หน่วยความจาสารองต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูล และอุปกรณ์รับส่งข้อมูลชนิดต่างๆ เช่น เทป แม่เหล็ก จานแม่เหล็ก ผู้ใช้จะต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูลและอุปกรณ์รับส่งข้อมูลเป็น หน่วยความจาสารองให้เข้ากับลักษณะการประมวลผล ดังนี้ 1. ความเร็วในการดึงข้อมูล (Retrieval Speed) จากหน่วยความจาสารองเพื่อนามา ประมวลผลโดยต้องการใช้เวลาให้น้อยที่สุด 2. ความจุ (Storage Capacity) ต้องการอุปกรณ์ที่มีความสามารถในการเก็บข้อมูลได้ มากที่สุด หรือมีความจุมากที่สุด 3. ค่าใช้จ่าย เสียค่าใช้จ่ายในการประมวลผลน้อยที่สุด หน่วยความจาสารอง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ o หน่วยความจาสารองที่สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (Direct Access) ได้แก่สื่อที่ สามารถเก็บและเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้โดยตรงไม่ต้องอ่านเรียงตามลาดับ เช่น จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) และ ซีดีรอม (CD-ROM) o หน่วยความจาสารองที่เข้าถึงข้อมูลเรียงตามลาดับ (Sequential Access) ได้แก่ สื่อ ที่ใช้บันทึกข้อมูลที่ต้องมีการจัดเก็บและเรียกใช้ข้อมูลโดยการเรียงตามลาดับ เช่น เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) 1.จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) เป็นอุปกรณ์หน่วยความจาที่นิยมใช้กันมาก อุปกรณ์ชนิดนี้มี ลักษณะเป็นแผ่นกลมบางๆ ผิวหน้าทั้งสองฉาบด้วยสารแม่เหล็กมีขนาดต่างๆ กันเป็นสื่อนา ข้อมูลที่มีความเร็วสูง สามารถบันทึกข้อมูลได้ทั้งแบบเรียงลาดับ (Sequential) และแบบสุ่ม (Random) คือ บันทึกลงในที่ว่างตรงไหนก็ได้ส่วนการค้นหาข้อมูลที่บันทึกไว้ในจานแม่เหล็ก จะเป็นแบบเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (Direct Access) คือ ดึงข้อมูลที่ต้องการได้โดยตรง การเข้าถึง ข้อมูลใช้วิธีอ้างตาแหน่งของข้อมูลนั้น ทาให้การอ่านหรือค้นหาข้อมูลได้เร็ว การบันทึกข้อมูลลงแผ่นจานแม่เหล็กจะบันทึกลักษณะเป็นวงเรียกว่าแทร็ก (track) โดยเริ่มจาก วงนอกเข้าไปยังวงใน วงนอกสุดของจานแม่เหล็กจะเรียกแทร็กที่ 0 จานวนแทร็กในจาน แม่เหล็กจะมีไม่เท่ากัน แต่ละแทร็กจะถูกแบ่งออกเป็น เซกเตอร์ (Sector)
  • 19. 10 ในการอ่านข้อมูลแต่ละครั้งจะทาทีละ 1 เซกเตอร์ การจัดแทร็กและเซกเตอร์ ถ้าเป็นเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ ภายใต้ระบบดอสจะใช้คาสั่งฟอร์แมท (Format) จานวนเซกเตอร์ในแต่ละ เทร็กขึ้นอยู่กับชนิดของจานแม่เหล็กและวิธีการฟอร์แมท บริษัท IBM ได้เลือกใช้เซกเตอร์ที่มี ขนาดเท่ากับ 512 ไบท์(1/2 KB) การอ่านและเขียนทาโดยดิสก์ไดร์ฟ (Disk Drive) โดยมีหัวอ่าน และเขียน จานแม่เหล็กทั้งฮาร์ดดิสก์และดิสก์เก็ตจะติดต่อกับแผ่นเมนบอร์ด (Mainboard) ผ่านดิสก์ คอนโทรลเลอร์ซึ่งเป็นวงจรที่อยู่บนแผ่นเมนบอร์ดตัวคอนโทรลเลอร์จะทาหน้าที่ส่งข้อมูลจาก ดิสก์ไดร์ฟไปยังตัวไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) และแรม (RAM) ดิสก์ไดรฟ์คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านและเขียนข้อมูลลงแผ่นดิสก์โดยจะประกอบด้วยหัวอ่าน/เขียน จานแม่เหล็กแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. จานแม่เหล็กแบบแข็งหรือดิสก์แบบแข็ง (Solid Disk) 2. จานแม่เหล็กแบบอ่อนหรือดิสก์แบบอ่อน (Flexible Disk, Floppy Disk, Diskette) 1. 1.ดิสก์แบบแข็ง (Solid Disk) 2. - ฮาร์ดดิสก์(Hard disk) ดิสก์และไดร์ฟของฮาร์ดดิสก์จะรวมเป็นอันเดียวกันเรียกว่าฮาร์ด ไดร์ฟแตความนิยมมักเรียกว่า ฮาร์ดดิสก์เครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์มัก ถูกกาหนดให้เป็นไดร์ฟ C ฮาร์ดดิสก์เป็นแผ่นโลหะมีขนาด 51/4 นิ้ว และ 3 ½ นิ้ว บรรจุอยู่ในกล่องพร้อมหัวอ่านกล่องนี้จะปิด สนิทประกอบด้วยแผ่นโลหะ 2-3 แผ่น ฮาร์ดดิสก์ชุดหนึ่งจะ บันทึกข้อมูลได้มาก ถ้าฮาร์ดดิสก์ยิ่งมีความจุมากขึ้นก็จะยิ่งมีราคา แพงขึ้น นอกจากนี้ ฮาร์ดดิสก์ยังสามารถอ่านและบันทึกข้อมูลใน อัตราที่เร็วกว่าดิสก์เก็ต หัวอ่านฮาร์ดดิสก์จะไม่ได้แตะพื้นผิว จริงๆ ในขณะที่หัวอ่านดิสก์เก็ตจะแตะที่พื้นผิว ดังนั้น ในการใช้ งานดิสก์เก็จจะเสื่อมคุณภาพเร็วกว่าฮาร์ดดิสก์
  • 20. 11 - ดิสก์แพค (Disk Pack) เป็นดิสก์หลายๆ แผ่นรวมกันเป็นชุดและครอบครัวด้วยพลาสติก พร้อมที่จับเพื่อความสะดวกในการใช้และการติดตั้งในเครื่องจาน แม่เหล็กดิสก์แพคชุดหนึ่งอาจประกอบด้วยดิสก์3-11 แผ่น วาง ซ้อนอยู่บนแกนเดียวกัน มีหัวอ่านหลายๆ หัว โดยที่หัวอ่านแต่ละ หัวจะใช้แกนร่วมกันและถูกดึงเข้าดึงออกในแนวแทร็กเดียวกัน เรียกกลุ่มของแทร็กนี้ว่าไซลินเดอร์ (Cylinder) 2.ดิสก์แบบอ่อนหรือดิสก์เก็ต (Flexible Disk, Floppy Disk, Diskette) เป็นดิสก์ที่ทาจากแผ่นฟิลม์พลาสติกบาง โดยทาจากสารไมลาร์ (Mylar)ฉาบด้วยสารแม่เหล็ก และหุ้มด้วยกระดาษแล้วใส่ซองเอาไว้ดิสก์เก็ตใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มีขนาด 5 ¼ และ 3 ½ นิ้ว ลักษณะแผ่นดิสก์เก็ตมีรูปร่างคล้ายแผ่นเสียง มีกระดาษหุ้มอีกชั้นหนึ่ง ส่วนที่เจาะเป็นวงรียาว สาหรับหัวอ่านและบันทึกเคลื่อนที่ เรียกว่า Head Window และมีรูกลมเล็กๆ เรียกว่า Index Hole มีไว้เพื่อควบคุมการอ่านของแต่ละเซกเตอร์ เนื้อที่บนแผ่นดิสก์เก็ตจะมีหมายเลขแทร็กและเซ็ก เตอร์กากับอยู่ ตัวเลขนี้จะเป็นตัวชี้ตาแหน่งของข้อมูลที่จะอ่านหรือเขียนลงบนแผ่นดิสก์เก็ต ด้านหนึ่งของแผ่นจะมีปุ่มสาหรับเลื่อน เพื่อป้องกันการบันทึกข้อมูลทับข้อมูลเดิม เรียกว่า Write Protect Notch ชนิดของแผ่นดิสก์เก็ตสามารถแบ่งออกได้ดังนี้ 1. Single-Side Single-Density (SS SD) หมายถึง แผ่นดิสก์เก็ตที่ใช้ได้เพียงหน้า เดียว และความหนาแน่นของข้อมูลปกติ 2. Single-Side Double-Density (SS DD) หมายถึง แผ่นดิสก์เก็ตที่ใช้ได้เพียงหน้า เดียว และความหนาแน่นของข้อมูลเป็นสองเท่า 3. Double-Sides Single-Density (DS SD) หมายถึง แผ่นดิสก์เก็ตที่ใช้ได้สองหน้า และแต่ละหน้ามีความหนาแน่นของข้อมูลปกติ
  • 21. 12 4. Double-Side Double-Density (DS DD) หมายถึง แผ่นดิสก์เก็ตที่ใช้ได้สองหน้า และแต่ละหน้ามีความหนาแน่นของข้อมูลเป็นสองเท่า ถ้าเป็นดิสก์เก็ตขนาด 5 ¼ นิ้ว จะมีความจุ 360 กิโลไบท์และชนิด 3 ½ จะมีความจุ 720 กิโลไบท์ 5. Double-Sides High-Density (DS HD) หมายถึง แผ่นดิสก์เก็ตที่ใช้ได้สองหน้า และแต่หน้ามีความหนาแน่นของข้อมูลสูง ถ้าเป็นดิสก์เก็ตขนาด 5 ¼ นิ้ว จะมี ความจุ 1.2 เมกะไบท์และชนิด 3 ½ นิ้ว จะมีความจุ 1.44 เมกะไบท์ ระยะเวลาที่ใช้ในการดึงข้อมูล (Access Time) ของจานแม่เหล็ก Access Time คือเวลาตั้งแต่คอมพิวเตอร์เริ่มค้นหาข้อมูล จนกระทั่งได้รับข้อมูลตามต้องการ ดังนั้น Access Time จะประกอบด้วย 1. ระยะเวลาค้นหา (Seek Time) คือ เวลาที่แขนของหัวอ่านเคลื่อนที่ไปยังตาแหน่ง ของแทร็ค (Track) ที่ต้องการ 2. การสวิตซ์หัวอ่าน (Head Switching) คือ การหมุนของหัวอ่านให้อยู่เหนือพื้นผิว แทร็ค (Track) ที่ต้องการ 3. ระยะเวลาในการหมุน (Rotation Delay Time) คือ เวลาที่หมุนให้หัวอ่านอยู่ตรง กับรายการข้อมูลที่ต้องการ 4. การเคลื่อนย้ายข้อมูล (Data Transfer) คือ เวลาที่ใช้ในการย้ายข้อมูลจากแทร็ค (Track) บนจานแม่เหล็กเข้าสู่หน่วยความจาหลัก ข้อดี 1. เวลาที่ใช้ในการดึงข้อมูล (Retrieve) และการปรับปรุงแก้ไข ข้อมูล (Update) จะใช้เวลาน้อยกว่าเทปแม่เหล็ก เพราะเป็นแบบ เข้าถึงข้อมูลโดยตรง (Direct Access) 2. ใช้ง่ายและสะดวกกว่าเทปแม่เหล็ก ข้อเสีย
  • 22. 13 1. ราคาชุดจานแมเหล็กจะแพงกว่าเทปแม่เหล็กที่สามารถบันทึก ข้อมูลได้ในปริมาณที่เท่ากัน 2. การป้องกันการลบข้อมูลบนเทปจะง่ายกว่าในดิสก์เก็ตเพราะ เพียงแต่เอาวงแหวนป้องกันไฟล์(File Protection Ring) ออกจาก เทปเท่านั้น ดังนั้นงานที่เหมาะที่จะใช้จานแม่เหล็กเก็บข้อมูล คือ 1. เป็นงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลโดยตรง 2. งานที่มีปริมาณข้อมูลไม่มากเกินไป 3. เป็นงานที่ต้องการประมวลผลให้เสร็จในช่วงเวลาจากัด 2.จานแสง (Optical Disk) เป็นดิสก์อีกชนิดหนึ่งที่ใช้บันทึกข้อมูลได้ปริมาณมาก โดยใช้การบันทึกด้วยระบบแสงเลเซอร์ สามารถอ่านข้อมูลได้ด้วยแสงเลเซอร์ จานแสงนี้สามารถอ่านข้อมูลและบันทึกข้อมูลได้โดย จะต้องมีเครื่องอ่านและบันทึกโดยเฉพาะ เช่น CD-ROM, CD-R - ซีดีรอม (CD-ROM : Compact Disc Read –Only Memory) ซีดีรอมหรือเลเซอร์ดิสก์ จัดเป็นจานแสงชนิดหนึ่ง เป็นสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลด้วย ความเร็วสูง และสามารถเก็บข้อมูลที่เป็นข้อความ รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ซีดีรอมวิวัฒนาการมาจากแผ่นซีดีเพลง (Audio CD) การเก็บข้อมูลจะเป็น เซกเตอร์แต่ละเซกเตอร์จะเก็บข้อมูลได้2,048 ไบท์การบันทึกข้อมูลลงแผ่น ซีดีรอมใช้วิธียิงลาแสงเลเซอร์ลงบนแผ่นที่เคลือบด้วยสารไวแสง และแสง เลเซอร์จะไปทาให้เกิดรอยบนแผ่น ดังนั้นซีดีรอมแต่ละแผ่นจึงบันทึกข้อมูลได้ เพียงครั้งเดียวเมื่อข้อมูลนั้นได้ถูกบันทึกไปแล้วจะไม่สามารถออกหรือเขียนใหม่ เพิ่มเติมได้ดังนั้น ข้อมูลที่จะบันทึกจะต้องเป็นข้อมูลที่แน่นอนไม่มีการ เปลี่ยนแปลง แผ่นซีดีรอม หรือเลเซอร์ดิสก์ไม่ต่างจากคอมแพคดิสก์หรือแผ่นซีดี ที่ใช้ฟังเพลงหรือเลเซอร์ดิสก์ที่ใช้ดูวิดีโอแต่ข้อมูลที่ถูกบันทึกอยู่ภายใต้แตกต่าง กัน ซึ่งข้อมูลนี้จะถูกอ่านและแปลออกมาเป็นข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ แทนที่จะ
  • 23. 14 ถูกแปลออกมาเป็นเสียงและต้องใช้กับเครื่องอ่านซีดีรอมโดยเฉพาะ ISO 9660 เป็นมาตรฐานที่ใช้กาหนดระบบการจัดเก็บไฟล์สาหรับซีดีรอม ซีดีรอม 1 แผ่น สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ 650 เมกะไบท์(MB) ซึ่งเทียบกับแผ่นดิสก์ขนาด 3.5 นิ้วได้450 แผ่น ดังนั้นจึงนิยม ใช้ซีดีรอมบันทึกข้อมูลที่เป็นภาพและเสียงซึ่งเป็น ข้อมูลที่ต้องการเนื้อที่มากเช่น ภาพเคลื่อนไหว (Animation)ภาพกราฟิก ข้อมูล อ้างอิงข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ตัวบทกฎหมาย สารานุกรม หรือเอกสารตาราใน ห้องสมุด การใช้ซีดีรอมจะต้องมีไดรฟ์ของซีดีรอม ซึ่งมีลักษณะเหมือนเครื่องเล่นคอมแพคดิสก์โดยไดรฟ์ จะต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ แล้วใช้ซอฟต์แวร์พิเศษสาหรับการอ่านและใช้ข้อมูลที่มีอยู่บนซีดีรอม โดยสามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว ความเร็วของซีดีรอมไดร์ฟ จะวัดที่อัตราความเร็วในการอ่านข้อมูลและการถ่ายเทข้อมูลโดยใช้ สัญลักษณ์ X แทน โดยมีค่าตั้งแต่ 2X, 4X, 6X, 8X, 10X, 12X, 24X, 36X, ฯลฯ ค่าตัวเลขที่อยู่ หน้า X ยิ่งมากเท่าไหร่ ความเร็วในการอ่านข้อมูลและการถ่ายเทข้อมูลยิ่งมากเท่านั้น ดังนั้น ตัวเลขที่อยู่หน้า X เป็นตัวบอกความเร็ว (Speed) ส่วนตัว X คือตัวทวีคูณที่เพิ่มไปตามความเร็ว ของตัวเลขที่นาหน้า ข้อดี 1. ซีดีรอมเก็บข้อมูลได้มากกว่าสื่อเก็บข้อมูลประเภทที่ฉาบด้วยสารแม่เหล็ก มี ความทนทานกว่าและมีอายุการใช้งานยาวนานกว่า 2. การที่ซีดีรอมสามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว ไม่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมหรือลบ ข้อมูลที่อยู่ในซีดีรอมได้ซึ่งเป็นข้อดีอย่างหนึ่งที่ข้อมูลบนแผ่นซีดีรอมจะไม่ถูก ลบหรือไวรัสคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทาลายข้อมูลบนแผ่นซีดีรอมได้ ข้อเสีย ค่าใช้จ่ายในการทาแผ่นต้นฉบับสูง ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลต่า o ซีดีอาร์ (CD-R Compact Disc Recordable)
  • 24. 15 เป็นแผ่นซีดีชนิดพิเศษที่สามารถบันทึกข้อมูลได้แต่ต้องใช้ ขบวนการบันทึกพิเศษโดยสามารถบันทึกได้ครั้งเดียว และเครื่อง อ่านจะต้องมีคุณสมบัติในการอ่านข้อมูลแบบนี้ได้ซีดีอาร์ใช้ สาหรับการทาสาเนา (Backup) ข้อมูลและเก็บข้อมูลถาวร o ดีวีดี (DVD : Digital Video Disk) เป็นการพัฒนามาจากซีดีรอม รูปร่างลักษณะและวิธีการใช้งานจะเหมือนกับซีดีรอมทุกประการ ดิสก์ประเภทนี้จะมีความจุ 4.7 กิกะไบท์(GB) ขึ้นไปจุมากกว่าซีดีรอม 7-24 เท่า เหมาะกับการ เก็บข้อมูลประเภทมัลติมีเดีย (Multimedia)เพราะเก็บได้ทั้งภาพและเสียง เช่น ใช้ในการ บันทึกภาพยนต์ซึ่งต้องมีคุณภาพคมชัดและมีระบบเสียงสมบูรณ์แบบ สาหรับดีวีดีไดร์ฟนั้น สามารถอ่านแผ่นซีดีรอมได้ด้วย ดีวีดีที่ใช้ในปัจจุบันเป็นดีวีดีภาพยนต์แต่สาหรับคอมพิวเตอร์ แล้ว ดีวีดีเป็นสื่อเก็บข้อมูลที่จะมาแทนที่ซีดีรอมในอนาคต สาหรับในปัจจุบันซอฟต์แวร์ดีวีดี สาหรับคอมพิวเตอร์ยังไม่แพร่หลายมากนัก 3.เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) เทปแม่เหล็กเป็นสื่อที่มีราคาถูกใช้เก็บข้อมูลที่มีความจุสูง เทปแม่เหล็กแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทได้แก่เทปชนิดม้วน (Reel Tape) เป็นเทปแม่เหล็กที่ถูกม้วนอยู่บนวงล้อและเทปคาร์ ทริดจ์(Cartridge Tape) เป็นที่นิยมใช้งานสะดวก เทปคาร์ทริดจ์ตัวเทปจะบรรจุในกล่อง พลาสติก เวลาใช้ก็เพียงแต่เสียบตลับเทปลงในไดร์ฟเลย ซึ่งนับว่าสะดวกกว่าเทปชนิดม้วนมาก เพราะในการใช้เทปม้วนต้องนามาม้วนเข้าเครื่อง ลักษณะเทปแม่เหล็กที่ใช้บันทึกข้อมูลมีลักษณะเป็นแถบที่ทาด้วยพลาสติกด้านหนึ่งเคลือบด้วย สารแม่เหล็ก การบันทึกข้อมูลลงบนเทปจะทาแบบเรียงตามลาดับ (Sequential) และในการอ่าน หรือค้นหาข้อมูลที่บันทึกไว้บนเทปจะทาแบบเรียงตามลาดับเช่นเดียวกัน การบันทึกข้อมูลลงบนเทป เมื่อเทปได้รับสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าจากหัวบันทึกก็จะรวมตัวกัน เป็นความเข้มมากน้อยตามรหัสของข้อมูล เป็นการสร้างสนามแม่เหล็กลงบนเนื้อเทป ถ้าจุดใด เป็นแม่เหล็กก็หมายถึงการเก็บค่าบิท 1 ตามแนวขวางของเทปจะถูกแบ่งเป็นช่วงๆ เรียกว่า แทร็ก ส่วนใหญ่จะเป็นแบบ 9 แทร็ก ในแต่ละแทร็กจะเก็บข้อมูล 1 บิท (Bit) ดังนั้น ข้อมูลจะเก็บตาม
  • 25. 16 แนวขวางของเทปได้1 ไบท์(8 บิท เท่ากับ 1 ไบท์) แทรกที่ 9 จะเป็นพาริตี้บิท (Parity Bit) คือ บิทที่ใช้ในการตรวจสอบข้อผิดพลาด เทปแม่เหล็กชนิดม้วน (Reel Tape) สามารถนาบันทึกข้อมูลซ้าได้โดยการบันทึกข้อมูลใหม่ทับ ข้อมูลเดิม แต่ถ้าไม่ต้องการบันทึกข้อมูลต้องถอดวงแหวนป้องกันไฟล์(File Protection) ออก วง แหวนป้องกันไฟล์เป็นวงแหวนพลาสติกที่อยู่ด้านหลังเทปทุกม้วน การบันทึกข้อมูลลงเทปทา ได้ก็ต่อเมื่อมีวงแหวนนี้อยู่แต่การอ่านข้อมูลจากเทปจะมีวงแหวนหรือไม่มีก็สามารถอ่านได้โดย ปกติเมื่อบันทึกข้อมูลเสร็จจะถอดวงแหวนป้องกันไฟล์ออก เพื่อป้องกันการบันทึกข้อมูลซ้าโดย ไม่ได้ตั้งใจ วิธีการเก็บ เรคคอร์ด (Record) ในเทปสามารถเก็บได้2 แบบ คือ แบบที่ 1 ความยาวต่อเรคคอร์ดคงที่ (Fixed Length Records) เป็นการบันทึกข้อมูลของแต่ละเรคคอร์ดแบบใช้ความยาวของเทปเท่ากันทุกเรคคอร์ด ซึ่งข้อมูล ที่ใช้จริงอาจมีความยาวไม่เท่ากัน แต่จะกาหนดความยาวของเรคคอร์ดที่ยาวที่สุดเป็นเกณฑ์แบบ นี้จะทาให้สะดวกในการเขียนคาสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์อท่านแต่จะเปลืองเนื้อเทป แบบที่ 2 ความยาวต่อเรคคอร์ดไม่คงที่ (Variable Length Records) เป็นการบันทึกข้อมูลของแต่ละเรคคร์อดตามความยาวของข้อมูลจริงๆ แบบนี้จะประหยัดเนื้อ เทป แต่ในการเขียนคาสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะยุ่งยากมากกว่าแบบที่ 1 เทปไดร์ฟ (Tape Drive) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านข้อมูลลงเทปจะประกอบด้วยหัวอ่านเขียน (Read/Write Head) โดยในการอ่าน / เขียนนี้จะมีการหมุนเนื้อเทปให้ผ่านหัวอ่านดังกล่าว ลักษณะ การอ่านจะเป็นจังหวะ เริ่ม (Star) / หยุด (Stop) การอ่านจะอ่านเรคคอร์ดหนึ่งแล้วหยุด ชั่วขณะ แล้วจึงอ่านเรคคอร์ดต่อไป ลักษณะการหมุนๆ หยุดๆ ของหัวอ่านนี้ต้องจัดให้เนื้อเทป ส่วนที่เข้ามาอยู่ใต้หัวอ่านในจังหวะหยุดและเริ่มเป็นเทปว่าง (Gap)เพื่อเป็นการประกันไม่ให้ ข้อมูลตกหล่นหรือหายไปในระหว่างการหยุดและการเริ่ม จึงเรียกช่องว่างนี้ช่องว่างระหว่าง เรคคอร์ด(Inter Record Gap) ซึ่งช่องว่างดังกล่าวไม่มีการบรรจุข้อมูล แบบนี้จะมีข้อเสีย คือ จะ เกิดช่องว่างมาก จะทาให้การอ่านช้าลงและสิ้นเปลืองเนื้อเทป ดังนั้นที่หัวอ่านจะมีข้อมูลทีละ 1
  • 26. 17 เรคคอร์ดแล้วหยุด ก็จัดการ ให้หัวอ่านทาการอ่านทีละบล็อก (Block) แทน โดยกาหนดให้แต่ละ บล็อกบรรจุข้อมูลไว้หลายๆ เรคคอร์ดเพื่อจะทาให้การอ่านเร็วขึ้นและเป็นการประหยัดเนื้อเทป การบันทึกข้อมูลมี 2 แบบ คือ แบบที่ 1 Single Record Block เป็นการบันทึกข้อมูลแบบไม่มีบล็อค (Unblock) หรือ 1 บล็อก จะ มีเพียง 1 เร็คคอร์ด แบบที่ 2 Multiple Records Block เป็นการบันทึกข้อมูลแบบมีบล็อก (Blocking) คือ 1 บล็อกจะ มีหลายเรคคอร์ด เพื่อเป็นการประหยัดเนื้อเทปไม่ให้เกิดช่องว่าง (Gap) ถี่จนเกินไป วิธีการรวม ข้อมูลหลายๆ เรคคอร์ดเข้าด้วยกันเป็น 1 บล็อกนี้ จานวนเรคคอร์ด ซึ่งอยู่ภายในแต่ละบล็อกจะ เรียกว่า Blocking Factor เช่น ใน 1 บล็อกบรรจุข้อมูล 4 เรคคอร์ด Blocking Factor จะเท่ากับ 4 ช่องว่างที่อยู่ระหว่างบล็อกนี้ เรียกว่า Inter Block Gap การกาหนดจานวนเรคคอร์ดในแต่ละบล็อกต้องกาหนดจานวนให้ให้เหมาะสมไม่ใช่คานึงถึงแต่ ว่ากาหนดจานวนเรคคอร์ดใน 1 บล็อกมากๆ จะได้ไม่เปลืองเนื้อเทปเพราะในการอ่าน/ เขียนนั้น จะถูกนาไปไว้ในบัฟเฟอร์ (Buffer) ซึ่งเป็นที่พักข้อมูลชั่วคราวเป็นเนื้อที่ที่กันไว้ใน หน่วยความจาแรม (RAM) ซึ่งแรมจะใช้เก็บข้อมูลชั่วคราวสาหรับอุปกรณ์รอบนอกที่มี ความหมายเร็วในการทางานต่ากว่าหน่วยประมวลผลกลาง ถ้าบัฟเฟอร์มีขนาดใหญ่เกินไป ก็จะ ไปเบียดการใช้เนื้อที่ในหน่วยความจาสาหรับการประมวลผลอื่นๆ ดังนั้นจึงควรกะขนาดของ บัฟเฟอร์ให้พอดี ซึ่งขนาดบัฟเฟอร์นี้จะมีผลต่อขนาดของบล็อกอีกด้วย ในการบันทึกข้อมูลลงในเทปจะสามารถบันทึกได้มากกว่า 1 ไฟล์ดังนั้นการบันทึกเทปจะต้อง ระบุชื่อไฟล์ไว้ที่ป้ายหัวเรื่อง (Header Label) ซึ่งเป็นส่วนของเรคคอร์ดที่จัดเก็บอยู่ตอนต้นไฟล์ ดังนั้น เมื่อคอมพิวเตอร์ต้องค้นหาไฟล์ที่จะอ่านจะดูข้อมูลที่อยู่ที่ป้ายหัวเรื่องว่าชื่อไฟล์ตรงกัน หรือไม่ เมื่ออ่านข้อมูลจากไฟล์จนกระทั่งเจอป้ายชื่อท้ายไฟล์(Trailer Label) ก็แสดงว่าจบไฟล์ นั้น ฉะนั้นเราสามารถแยกไฟล์แต่ละไฟล์โดยใช้เครื่องหมายจบไฟล์ได้ ความหนาแน่นหรือความจุของเทปแม่เหล็ก (Data Density)
  • 27. 18 หมายถึง ปริมาณของข้อมูลที่สามารถบันทึกได้บนเทปแม่เหล็กในความยาว 1 หน่วยโดยใช้ หน่วยที่เรียกว่า BPI (Bytes Per lnch) ความหนาแน่นของข้อมูลขึ้นอยู่กับเทปไดรฟ์ (Tape Drive) และผู้บันทึกข้อมูลลงเทป ซึ่งมีอยู่หลายชนิด เช่น 800, 1600, 3600 ไบท์ต่อความยาวของ เทปหนึ่งนิ้ว ข้อดี ของเทปแม่เหล็ก 1.ความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูง 2.มีความหนาแน่นของข้อมูลสูงมาก 3.ราคาถูกเมื่อเทียบกับสื่อชนิดอื่น ข้อเสีย ของเทปแม่เหล็ก การบันทึกข้อมูลหรือการอ่านทาได้วิธีเดียว คือ แบบเรียงตามลาดับ (Sequential) ดังนั้นงานที่เหมาะที่จะใช้เทปแม่เหล็กเก็บข้อมูล คือ 1.เป็นงานที่มีข้อมูลปริมาณมาก 2.ใช้เป็นสื่อในการเก็บข้อมูลสารอง (Back Up) 3.เป็นงานที่ไม่ต้องเร่งรีบ และมีช่วงเวลาการทางานที่ตายตัวแน่นอน 4.แดท (DAT : Digital Audio Tape) แดทเป็นเทปที่ใช้บันทึกเสียงระบบดิจิตอลที่มีคุณภาพสูงสามารถบันทึกข้อมูลได้มากกว่า ซีดีรอม การเข้าถึงข้อมูลมีเพียงวิธีเดียวเท่านั้นคือ แบบเรียงตามลาดับ (Sequential) แต่เนื่องจาก แดท สามารถเก็บข้อมูลเป็นสัญญารดิจิตอลซึ่งเป็นลักษณะที่สาคัญที่สอดคล้องกับคุณสมบัติ ของคอมพิวเตอร์ แดทจึงถูกใช้เป็นสื่อเก็บข้อมูลโดยนิยมนาแดทไปใช้ในการสารองข้อมูล โดย ปกติจะใช้เทปชนิดม้วน (Reel Tape) กับเครื่องเมนเฟรมและใช้เทปคาร์ทริดจ์ (Cartridge Tape) กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้แดทสารองข้อมูลแทน
  • 28. 19 เทปชนิดม้วนและเทปคาร์ทริดจ์ได้แดทมีขนาดเล็กกระทัดรัดกว้างเพียง 4 มิลลิเมตร มีความจุ สูงเป็นกิกะไบท์และมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูง แนวโน้มแดทอาจเป็นสื่อที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูลบนเครื่องพีซีอีกชนิดหนึ่ง 4.หน่วยติดต่อสื่อสาร (Communication Unit) คืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ติดต่อสื่อสารจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ เช่น Modem, Network, Adapter Card เป็นต้น 5.หน่วยแสงผลลัพธ์ (Output Unit) คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เช่น การแสดงผลลัพธ์ออกทาง จอภาพ การแสดงผลลัพธ์ออกทางเครื่องพิมพ์การบันทึกข้อมูลลงสื่อโดยเครื่องขับเทปแม่เหล็ก หรือเครื่องขับจานแม่เหล็ก การขับเสียงออกจากลาโพง เป็นต้น อุปกรณ์บางอย่างทาหน้าที่เป็นทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลลัพธ์ เช่น เครื่องขับเทป แม่เหล็ก เครื่องขับจานแม่เหล็ก เครื่องเทอร์มินัล ถ้าทาหน้าที่นาข้อมูลไปยังหน่วยความจาหลัก ก็จัดเป็นหน่วยรับข้อมูลแต่ถ้าทาหน้าที่นาข้อมูลออกจากหน่วยความจาหลักก็จัดเป็นหน่วยแสดง ผลลัพธ์ และจะเรียกอุปกรณ์ ทั้งสองอย่างนี้ว่า Input / Output Device (I/O Device) การแสดงผลลัพธ์ ได้แก่ 5.1การแสดงผลลัพธ์บนจอภาพ เรียกว่า Soft Copy อุปกรณ์ที่ใช้คือ จอภาพ จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลลัพธ์ จอภาพโดยทั่วไปจะเป็นจอภาพสีมักจะมี ขนาด 14 นิ้ว หรือ 15 นิ้ว แต่ถ้าต้องการใช้ในงานด้านกราฟิกจอภาพขนาด 17 นิ้ว 20 นิ้ว และ 21 นิ้ว จะให้ภาพคมชัด ภาพต่างๆ จะถูกแสดงด้วยจุดที่มีขนาดเล็กเรียกว่าพิกเซล (Pixel) จอภาพสี (Color) เป็นจอที่แสดงภาพกราฟิกเป็นสีต่างๆ เหมาะกับงานทางด้านกราฟิกและการ เล่นเกม ลักษณะของภาพสีจะแสดงได้ทั้งสีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน
  • 29. 20 ปัจจุบันนิยมใช้จอชนิด SVGA (Super Video Graphics Array) สามารถแสดงผลความละเอียดได้ หลายระดับ เช่น 640 * 480 จุด 800 *600 จุด 1,024, * 768 จุด และ1,280*1,024 จุด ความ ละเอียดของการแสดงผลถ้ายิ่งละเอียดมากจะได้ภาพที่มีขนาดเล็กลง ความละเอียดของการ แสดงผลคือจานวนจุด (Pixel) ที่แสดงบนจอและจานวนสีบนจอภาพซึ่งเป็นตัวกาหนดภาพที่ แสดงบนจอว่าภาพเหมือนจริงได้มากน้อยเพียงใด 5.2การแสดงผลลัพธ์ทางเครื่องพิมพ์ เรียกว่า Hard Copy อุปกรณ์ที่ใช้คือ เครื่องพิมพ์(Printer) เครื่องวาดรูป (Plotter) เครื่องพิมพ์(Printer) เป็นอุปกรณที่แสดงผลลัพธ์ ถ้าเป็นเครื่องพิมพ์ตามวิธีการพิมพ์จะแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท คือ o อิมแพคพรินเตอร์ (Impact Printer) o นอนอิมแพคพรินเตอร์ (Non-Impact Printer) o อิมแพคพรินเตอร์ (Impact Printer) เป็นเครื่องพิมพ์แบบกระทบที่ใช้การตอก หัวพิมพ์ลงไปบนผ้าหมึกไปกดลงบนกระดาษอีกทีหนึ่ง ลักษณะการทางานของ เครื่องพิมพ์แบบนี้คล้ายกับเครื่องพิมพ์ดีดทั่วไป เครื่องพิมพ์แบบนี้แบ่งออกเป็น ตามลักษณะอุปกรณ์ที่ใช้ เช่น o แบบลูกโซ่ (Chain) เป็นชนิดที่ใช้ลูกโซ่ที่มีตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยลูกโซ่เคลื่อนผ่านกระดาษ ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ จะกดลงบนผ้าหมึกไป ติดลงบนกระดาษ o แบบดรัม (Drum Printer) มีลักษณะเป็นกระบอกโลหะที่เรียกว่า ดรัม (Drum) และมีตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่างๆ อยู่บนกระบอกโลหะ ขณะที่พิมพ์กระบอก โลหะจะหมุนผ่านผ้าหมึกพิมพ์ลงบนกระดาษ o แบบดอตแมทริกซ์ (Dot Matrix Printer) เป็นชนิดที่พิมพ์เป็นจุดต่อกันเป็น ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่างๆ ยิ่งจานวนจุดมากเท่าใดตัวพิมพ์ก็ยิ่งคมชัดมากขึ้น เพียงนั้น เครื่องพิมพ์ชนิดนี้สามารถพิมพ์ได้สองทิศทางคือ จากซ้ายไปขวาและ
  • 30. 21 จากขวาไปซ้าย เครื่องพิมพ์แบบ ดอตแมทริกซ์มี 2 ชนิด คือ เครื่องพิมพ์ชนิดมี เข็มพิมพ์9 เข็ม และ 24 เข็ม เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จะทางานโดยการกดเข็มพิมพ์เล็กๆ ลงบนผ้าหมึก ซึ่งจะทาให้เกิดจุดปรากฏลง บนกระดาษ ข้อดี ของเครื่องพิมพ์แบบนี้ คือ ราคาถูก ทนทาน สามารถพิมพ์กระดาษต่อเนื่องและพิมพ์สาเนา (Copy) ได้หลายๆ ชุด ข้อเสีย คือ ช้า และเสียงดัง ภาพไม่คมชัด - แบบเดซีวีล (Daisy Wheel) เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีลักษณะเป็นแผ่นจานกลมๆ ที่มีซี่ออกไปเป็น แฉกๆ ที่ปลายของซี่จานนี้จะมีลักษณะเป็นแม่พิมพ์ของตัวอักษรคอมพิวเตอร์จะส่งสัญญาณไป บอกเครื่องพิมพ์ว่าจะต้องเลื่อนซี่ล้อซี่ไหนซึ่งจะตรงกับตัวอักษรอะไรไปวางไว้เหนือผ้าหมึก เพื่อกดกระแทกพิมพ์ที่เป็นตัวอักษรประทับลงบนแผ่นกระดาษ เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ทางานช้ามาก และเวลาพิมพ์จะมีเสียงดัง ปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว o นอนอิมแพคพรินเตอร์ (Non-Impact Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีการทางเคมี ในการพิมพ์เครื่องพิมพ์ประเภทนี้พิมพ์ด้วยความเร็วสูงกว่าแบบอิมแพค พรินเตอร์ เช่น o แมกเนติคพรินเตอร์ (Magnetic Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ด้วยหมึกพิมพ์ แม่เหล็ก o เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก เป็นเครื่องพิมพ์ที่อาศัยท่อหรือร่องขนาดจิ๋วเป็น ช่องทางสาหรับขับหมึกออกไปให้ปรากฏเป็นตัวอักษร หรือภาพกราฟิกบน กระดาษ แต่กลไกการขับหรือบังคับให้น้าหมึกพ่นตัวออกไปจะแตกต่างกันตาม เทคโนโลยี ซึ่งแบ่งได้3 ประเภท คือ o อิงค์เจ็ตพรินเตอร์ (Ink-Jet Printer) เทคนิคการขับหมึกแบบนี้จะอาศัยการส่งน้า หมึกผ่านไปยังบริเวณตัวทาความร้อน (Heater) ซึ่งทาให้หมึกเกิดการขยายตัว และเกิดแรงดันขับหมึกผ่านร่องหมึกออกไปยังกระดาษ เทคนิคแบบนี้พบได้ใน เครื่องพิมพ์พ่นหมึกของฮิวเล็ตต์แพ็คการ์ด (HEWLETT PACKARD)