SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                         ชุดที่ 4 ระบบประสาท




                      ศูนย์ การเรียนที่ 3
                 โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสั นหลัง
                     ไปศึกษากันต่ อนะว่า ไขสั นหลัง มีโครงสร้ างและ
                     หน้ าที่ เหมือนหรือแตกต่ างจากสมองอย่างไรบ้ าง




                                                     ไปซิ จะรอช้ าทาไม
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                            ชุดที่ 4 ระบบประสาท    22




                                       บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 3
                               โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง
          โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ
          1.   หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย
          2.   หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง หมายเลข 01 พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง
          3.   สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที
                                    ้
          4.   สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม        ิ
          5.   หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย
          6.   เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว
                                                                 ิ
               ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง
               ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 4 ระบบประสาท   23




                                      บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 3
                                             ้

                              โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง

                  รู้ ไหม ไขสั นหลัง มีโครงสร้ างทีเ่ หมาะสมต่ อการทาหน้ าทีอย่ างไร
                                                                            ่




                                            โครงสร้ างไขสั นหลัง
      ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/SpinalCord.htm
        ่
             637 x 372 - 45k ( 9 เมษายน 2550 )

   จุดประสงค์ การเรียนรู้
         1. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้ างของไขสั นหลังได้
         2. นักเรียนสามารถบอกหน้ าทีของไขสั นหลังได้
                                    ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 4 ระบบประสาท   24




                                       โครงสร้ างไขสันหลัง
          ไขสั นหลัง (spinal cord)
           ไขสั นหลังอยู่ภายในกระดูกสั นหลัง ตั้งแต่ กระดูกสั นหลังข้ อแรกบริเวณคอจนถึง
  กระดูกบั้นเอวข้ อที่ 2 ถัดจากส่ วนนีไปจะเรียวเล็กลงเป็ นเพียงส่ วนของเยือหุ้มสมองชั้ นใน
                                      ้                                     ่
  เนือไขสั นหลังด้ านนอกเป็ นสี ขาว เพราะมีเฉพาะใยประสาททีมีเยือไมอีลน และเนือไขสั นหลัง
      ้                                                        ่ ่        ิ       ้
  ด้ านในมีสีเทาเพราะ มีตัวเซลล์ ประสาทและใยประสาททีไม่ มเี ยือไมอีลนหุ้ม
                                                          ่      ่      ิ




                             ภาพแสดงลักษณะโครงสร้ างของไขสั นหลัง
          ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/SpinalCord.htm
            ่
                 637 x 372 - 45k ( 9 เมษายน 2550 )
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                          ชุดที่ 4 ระบบประสาท     25




          เนือไขสั นหลังประกอบด้ วย 2 ส่ วน คือ
             ้
           1. White matter มีสีขาวอยู่รอบนอก
           2. Gray matter มีสีเทา อยู่ด้านใน รู ปร่ างคล้ ายปี กผีเสื้อ หรือรู ปตัว H ประกอบด้ วย
 ปี กบน (dorsal horn) เป็ นบริเวณรับความรู้ สึก (sensory area) เพราะ กระแสความรู้ สึกมาจาก
 เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) ทีอยู่ในปมประสาทรากบน (dorsal root ganglion)
                                              ่
 ดังนั้นรากบนจึงเป็ นเส้ นประสาทรับความรู้ สึก (sensory pathway)
      ปี กล่าง (ventral horn) เป็ นบริเวณนาคาสั่ ง (motor area) เพราะมีแอกซอนของเซลล์
 ประสาทนาคาสั่ งจะยืนออกไปกลายเป็ นรากล่าง (ventral root) ซึ่งทาหน้ าที่นากระแสคาสั่ ง
                         ่
 ออกไป ดังนั้นรากล่างจึงเป็ นเส้ นประสาทนาคาสั่ ง (motor pathway) ทั้งรากบนและรากล่าง
 จะรวมกันเป็ นเส้ นประสาทไขสั นหลัง
      ปี กข้ าง (lateral horn) เป็ นบริเวณระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic area)
 เพราะมีเซลล์ ประสาทนาคาสั่ งตัวที่ 1 ของระบบประสาทอัตโนวัติปรากฏอยู่




                          ภาพแสดงปี กบนและปี กล่างของไขสั นหลัง
        ทีมา: http//www.computer.act.ac.th/.../f_f06drg&ah%5B1%5D.jpg 637 x 372 - 45k
          ่
              ( 5 เมษายน 2550 )
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                         ชุดที่ 4 ระบบประสาท   26




                                        หน้ าที่ของไขสันหลัง


      1.   เป็ นศู นย์ กลางของการเคลือนไหวต่ าง ๆ ทีตอบสนองการสั มผัสทางผิวหนัง
                                       ่                  ่
      2.   เป็ นตัวเชื่ อมระหว่ างหน่ วยรั บความรู้ สึกกับหน่ วยปฏิบัติการ
      3.    เป็ นทางผ่านไปกลับของกระแสประสาทระหว่างไขสั นหลังกับสมอง
      4.   เป็ นศู นย์ ควบคุมปฏิกริยารีเฟลกซ์
                                   ิ
      5.   ถ้ าเซลล์ ประสาทในไขสั นหลังถูกทาลาย ร่ างกายจะไม่ สามารถรับรู้ ความรู้ สึกและ
           ทางานได้ เป็ นปกติ เช่ น เซลล์ประสาทไขสั นหลังบริเวณเอวถูกทาลาย
           อวัยวะทีอยู่ต่ากว่ าเอวจะไม่ สามารถรับความรู้ สึกหรือตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าได้
                     ่




                                         โครงสร้ างไขสั นหลัง
           ทีมา : http://www.neuron.th.gs/web-n/euron/f_f06drg&ah%255B1%255D.jpg
             ่
                 637 x 372 - 45k (5 เมษายน 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                           ชุดที่ 4 ระบบประสาท         27




                                        บัตรคาถามศูนย์ ที่ 3
                                       โครงสร้ างไขสันหลัง
   คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X
                                    ่         ่
                ลงในกระดาษคาตอบ
       1.   เส้ นประสาทไขสั นหลังของคนเรามีท้งหมดกีค่ ู
                                                    ั     ่
                 ก. 12 คู่
                 ข. 13 คู่
                 ค. 21 คู่
                 ง. 31 คู่
       2.   ไขสั นหลังเป็ นศูนย์ กลางการทางานของสิ่ งใด
                 ก. พฤติกรรม
                 ข. ไซแนปส์
                 ค. การเคลือนไหว
                              ่
                 ง. รีเฟลกซ์ แอกชั่น
       3.   ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ หน้ าที่ของไขสั นหลัง
                            ้
                 ก. เป็ นศู นย์ ควบคุมปฏิกริยารีเฟลกซ์
                                              ิ
                 ข. เป็ นตัวเชื่ อมระหว่ างหน่ วยรั บความรู้ สึกกับหน่ วยปฏิบัตการ
                                                                               ิ
                 ค. เป็ นศู นย์ ควบคุมความจา ความคิด การหายใจและการเต้ นของหัวใจ
                 ง. เป็ นทางผ่านไปกลับของกระแสประสาทระหว่างสมองกับไขสั นหลัง
       4.   การชั กเท้ าขึนทันทีเมื่อเดินเหยียบตะปู เป็ นการกระทาทีเ่ กิดจากการสั่ งงานของสิ่ งใด
                          ้
                 ก. เซรีบรัม
                 ข. ไขสั นหลัง
                 ค. กล้ามเนือขา ้
                 ง. เซรีบรัมและไขสั นหลัง
       5.   ข้ อใดคือไขสั นหลัง
                 ก. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อแรกถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อที่ 2
                 ข. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อที่ 2 ถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อแรก
                 ค. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อที่ 2 ถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อที่ 2
                 ง. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อแรกถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อแรก
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                   ชุดที่ 4 ระบบประสาท   28




                                           บัตรเฉลยศูนย์ที่ 3

                                   โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง


                                                1.   ง
                                                2.   ง
                                                3.   ค
                                                4.   ข
                                                5.   ก



                    ไปศึกษาศู นย์ การเรียนอืนต่ อไป หมุนเวียน
                                             ่
                         ให้ ครบ 4 ศู นย์ การเรียนนะครับ

More Related Content

What's hot

What's hot (9)

ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 

Viewers also liked

ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
Business phone etiquette
Business phone etiquetteBusiness phone etiquette
Business phone etiquetteSurendra Babu
 

Viewers also liked (19)

ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 1ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 1
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1
 
Coder plus vite avec LabVIEW
Coder plus vite avec LabVIEWCoder plus vite avec LabVIEW
Coder plus vite avec LabVIEW
 
Vi analyzer gagnez en qualité en révisant vos codes LabVIEW régulièrement
Vi analyzer   gagnez en qualité en révisant vos codes LabVIEW régulièrementVi analyzer   gagnez en qualité en révisant vos codes LabVIEW régulièrement
Vi analyzer gagnez en qualité en révisant vos codes LabVIEW régulièrement
 
Ahmed Reda Iraqi
Ahmed Reda Iraqi Ahmed Reda Iraqi
Ahmed Reda Iraqi
 
Geysers
GeysersGeysers
Geysers
 
Saphir - Exemples de réalisations
Saphir - Exemples de réalisationsSaphir - Exemples de réalisations
Saphir - Exemples de réalisations
 
Business phone etiquette
Business phone etiquetteBusiness phone etiquette
Business phone etiquette
 

Similar to ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4

ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

Similar to ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4 (20)

ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล

ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล (11)

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
 

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4

  • 1. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท ศูนย์ การเรียนที่ 3 โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสั นหลัง ไปศึกษากันต่ อนะว่า ไขสั นหลัง มีโครงสร้ างและ หน้ าที่ เหมือนหรือแตกต่ างจากสมองอย่างไรบ้ าง ไปซิ จะรอช้ าทาไม
  • 2. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 22 บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 3 โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง หมายเลข 01 พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที ้ 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ 5. หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย 6. เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว ิ ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
  • 3. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 23 บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 3 ้ โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง รู้ ไหม ไขสั นหลัง มีโครงสร้ างทีเ่ หมาะสมต่ อการทาหน้ าทีอย่ างไร ่ โครงสร้ างไขสั นหลัง ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/SpinalCord.htm ่ 637 x 372 - 45k ( 9 เมษายน 2550 ) จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้ างของไขสั นหลังได้ 2. นักเรียนสามารถบอกหน้ าทีของไขสั นหลังได้ ่
  • 4. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 24 โครงสร้ างไขสันหลัง ไขสั นหลัง (spinal cord) ไขสั นหลังอยู่ภายในกระดูกสั นหลัง ตั้งแต่ กระดูกสั นหลังข้ อแรกบริเวณคอจนถึง กระดูกบั้นเอวข้ อที่ 2 ถัดจากส่ วนนีไปจะเรียวเล็กลงเป็ นเพียงส่ วนของเยือหุ้มสมองชั้ นใน ้ ่ เนือไขสั นหลังด้ านนอกเป็ นสี ขาว เพราะมีเฉพาะใยประสาททีมีเยือไมอีลน และเนือไขสั นหลัง ้ ่ ่ ิ ้ ด้ านในมีสีเทาเพราะ มีตัวเซลล์ ประสาทและใยประสาททีไม่ มเี ยือไมอีลนหุ้ม ่ ่ ิ ภาพแสดงลักษณะโครงสร้ างของไขสั นหลัง ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/SpinalCord.htm ่ 637 x 372 - 45k ( 9 เมษายน 2550 )
  • 5. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 25 เนือไขสั นหลังประกอบด้ วย 2 ส่ วน คือ ้ 1. White matter มีสีขาวอยู่รอบนอก 2. Gray matter มีสีเทา อยู่ด้านใน รู ปร่ างคล้ ายปี กผีเสื้อ หรือรู ปตัว H ประกอบด้ วย ปี กบน (dorsal horn) เป็ นบริเวณรับความรู้ สึก (sensory area) เพราะ กระแสความรู้ สึกมาจาก เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) ทีอยู่ในปมประสาทรากบน (dorsal root ganglion) ่ ดังนั้นรากบนจึงเป็ นเส้ นประสาทรับความรู้ สึก (sensory pathway) ปี กล่าง (ventral horn) เป็ นบริเวณนาคาสั่ ง (motor area) เพราะมีแอกซอนของเซลล์ ประสาทนาคาสั่ งจะยืนออกไปกลายเป็ นรากล่าง (ventral root) ซึ่งทาหน้ าที่นากระแสคาสั่ ง ่ ออกไป ดังนั้นรากล่างจึงเป็ นเส้ นประสาทนาคาสั่ ง (motor pathway) ทั้งรากบนและรากล่าง จะรวมกันเป็ นเส้ นประสาทไขสั นหลัง ปี กข้ าง (lateral horn) เป็ นบริเวณระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic area) เพราะมีเซลล์ ประสาทนาคาสั่ งตัวที่ 1 ของระบบประสาทอัตโนวัติปรากฏอยู่ ภาพแสดงปี กบนและปี กล่างของไขสั นหลัง ทีมา: http//www.computer.act.ac.th/.../f_f06drg&ah%5B1%5D.jpg 637 x 372 - 45k ่ ( 5 เมษายน 2550 )
  • 6. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 26 หน้ าที่ของไขสันหลัง 1. เป็ นศู นย์ กลางของการเคลือนไหวต่ าง ๆ ทีตอบสนองการสั มผัสทางผิวหนัง ่ ่ 2. เป็ นตัวเชื่ อมระหว่ างหน่ วยรั บความรู้ สึกกับหน่ วยปฏิบัติการ 3. เป็ นทางผ่านไปกลับของกระแสประสาทระหว่างไขสั นหลังกับสมอง 4. เป็ นศู นย์ ควบคุมปฏิกริยารีเฟลกซ์ ิ 5. ถ้ าเซลล์ ประสาทในไขสั นหลังถูกทาลาย ร่ างกายจะไม่ สามารถรับรู้ ความรู้ สึกและ ทางานได้ เป็ นปกติ เช่ น เซลล์ประสาทไขสั นหลังบริเวณเอวถูกทาลาย อวัยวะทีอยู่ต่ากว่ าเอวจะไม่ สามารถรับความรู้ สึกหรือตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าได้ ่ โครงสร้ างไขสั นหลัง ทีมา : http://www.neuron.th.gs/web-n/euron/f_f06drg&ah%255B1%255D.jpg ่ 637 x 372 - 45k (5 เมษายน 2550)
  • 7. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 27 บัตรคาถามศูนย์ ที่ 3 โครงสร้ างไขสันหลัง คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ่ ่ ลงในกระดาษคาตอบ 1. เส้ นประสาทไขสั นหลังของคนเรามีท้งหมดกีค่ ู ั ่ ก. 12 คู่ ข. 13 คู่ ค. 21 คู่ ง. 31 คู่ 2. ไขสั นหลังเป็ นศูนย์ กลางการทางานของสิ่ งใด ก. พฤติกรรม ข. ไซแนปส์ ค. การเคลือนไหว ่ ง. รีเฟลกซ์ แอกชั่น 3. ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ หน้ าที่ของไขสั นหลัง ้ ก. เป็ นศู นย์ ควบคุมปฏิกริยารีเฟลกซ์ ิ ข. เป็ นตัวเชื่ อมระหว่ างหน่ วยรั บความรู้ สึกกับหน่ วยปฏิบัตการ ิ ค. เป็ นศู นย์ ควบคุมความจา ความคิด การหายใจและการเต้ นของหัวใจ ง. เป็ นทางผ่านไปกลับของกระแสประสาทระหว่างสมองกับไขสั นหลัง 4. การชั กเท้ าขึนทันทีเมื่อเดินเหยียบตะปู เป็ นการกระทาทีเ่ กิดจากการสั่ งงานของสิ่ งใด ้ ก. เซรีบรัม ข. ไขสั นหลัง ค. กล้ามเนือขา ้ ง. เซรีบรัมและไขสั นหลัง 5. ข้ อใดคือไขสั นหลัง ก. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อแรกถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อที่ 2 ข. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อที่ 2 ถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อแรก ค. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อที่ 2 ถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อที่ 2 ง. กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อแรกถึงกระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อแรก
  • 8. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 4 ระบบประสาท 28 บัตรเฉลยศูนย์ที่ 3 โครงสร้ างและหน้ าที่ไขสันหลัง 1. ง 2. ง 3. ค 4. ข 5. ก ไปศึกษาศู นย์ การเรียนอืนต่ อไป หมุนเวียน ่ ให้ ครบ 4 ศู นย์ การเรียนนะครับ